Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อัญมณีแห่งมหานคร นิทรรศน์รัตนโกสินทร์

อัญมณีแห่งมหานคร นิทรรศน์รัตนโกสินทร์

Published by “Chalermrajakumari” Public library Bangkhonthi, 2021-12-19 02:38:10

Description: nitatrattanagosin อัญมณีแห่งมหานคร นิทรรศน์รัตนโกสินทร์
ที่มา...https://www.happyreading.in.th/download/index.php?t=2&p=1

Search

Read the Text Version

1

ภูมิแผ่นดิน รัตนโกสนิ ทรแ์ ผน่ ดินภูมิ จำหลกั ปูมประวัติแคว้นแผ่นภูมสิ ยาม ภูมิไผทธำรงอยูย่ งยาม สง่างามความเปน็ ไทย ณ ธรณิน พระบุญญาบารมีทค่ี รองธรรม พระทรงนำภูมิปราชญภ์ มู ิศาสตรศ์ ลิ ป์ เฉลมิ ศุภวาระพระภูบดินทร์ นทิ รรศน์รัตนโกสนิ ทรป์ ระคินผคม 2

3

สารจากผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์ ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้ยึดถือหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นธงในการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการรักษาสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และพัฒนา เพื่อประโยชน์ของชุมชน ประชาชน และสังคม โดยยึดหลักความพอประมาณ ความสมเหตุสมผล และการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตวั ทดี่ ี เพอ่ื นำไปส่กู ารพัฒนาอย่างสมดุลต่อไป นิทรรศน์รัตนโกสินทร์เป็นหนึ่งในโครงการที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์ ได้ดำเนินการตามแนวทางในการอนุรักษ์ผสานพัฒนา ด้วยความภาคภูมิใจท่ีได้ร่วมพลิกฟ้ืน อาคารประวัติศาสตร์บนถนนราชดำเนนิ กลางใหเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวถิ ชี วี ติ ชาวกรงุ เทพฯ โดยมงุ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ด้านการศึกษาแก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป รวมท้ังเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่ถ่ายทอด เอกลักษณ์ประจำชาติให้แก่นักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ โดยนำเสนอสาระความรู้ เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของกรุงรัตนโกสินทร์ ผ่านนิทรรศการและส่ือผสมเสมือนจริงท่ีม ี ปฏิสัมพันธก์ ับผู้ชม (Interactive Self-Learning) ให้สามารถเรียนร้ดู ้วยตนเองและสามารถเทีย่ วชม กรุงเทพฯ ดว้ ยความเขา้ ใจ 4

ในการน้ี สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหา (นายจิรายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) กษตั รยิ ์ ไดจ้ ดั ทำหนงั สอื “นทิ รรศนร์ ตั นโกสนิ ทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานทรพั ย์สินสว่ นพระมหากษัตรยิ ์ อญั มณี แหง่ มหานคร” ทง้ั ในรปู แบบหนงั สอื เลม่ และในรปู แบบหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Book) ขน้ึ 5 โ ด ย มุ่ ง ห วั ง ท่ี จ ะ จุ ด ป ร ะ ก า ย ค ว า ม ส น ใ จ ใ น ประวัติศาสตร์และมรดกทางวัฒนธรรมของ กรุงรัตนโกสินทร์ท่ีสืบทอดต่อเน่ืองมาอย่าง ยาวนาน ตลอดจนสรา้ งความบนั ดาลใจใหป้ ระชาชน เขา้ มาเยยี่ มชมนทิ รรศการ เพอ่ื ความเขา้ ใจในอดตี และความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมไทย อันดีงาม ซึ่งจะเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรม เพ่ือการดำเนินชีวิตอยู่ท้ังในปัจจุบันและอนาคต ได้อย่างสมดุลและมภี มู คิ ้มุ กัน

ตอนท่ี ๑ รว่ มใจรงั สรรค ์ ผสานการอนุรักษแ์ ละพฒั นา ๘ ตอนที ่ ๒ สืบสานศิลป์ มรดกแผน่ ดนิ สยาม ๑๖ ตอนที ่ ๓ จรรโลงวฒั นธรรม ล้ำเลอค่า ๓๔๐ สว่ นทา้ ยเล่ม บรรณานุกรม ๓๕๖ คณะกรรมการ ๓๕๘ ISBN ๓๖๐

7

8

๑ ตอนที ่ ร่วมใจรังสรรค ์ ผสานการอนุรักษ์และพัฒนา คงคุณค่าสถาปัตยกรรม เสริมสร้างสรรค์สารพันประโยชน ์ ตอบโจทย์วิถีชีวิตคนในยุคปัจจุบัน 9

ถนนราชดำเนนิ กลางสรา้ งข้นึ ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว 10 ได้รบั การรงั สรรค์ใหเ้ ป็นสญั ลักษณค์ วามเจริญและความสงา่ งามของบ้านเมืองทยี่ ังคงปรากฏใหเ้ ห็นในปจั จบุ นั

ถนนราชดำเนินเป็นเอกลักษณ์แห่ง ความศิวิไลซ์ของกรุงเทพมหานครมาช้านาน นับแต่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ มีพระราชดำริให้ก่อสร้างขึ้น เพ่ือแสดงออกถึง ความพร้อมของกรุงเทพมหานครในการเป็นหนึ่ง ในมหานครเอกของโลกและแสดงใหเ้ หน็ วา่ เมอื งหลวง ของราชอาณาจักรสยามมีความเจริญทัดเทียมนานา อารยประเทศ ถนนราชดำเนินและบริเวณต่อเนื่อง จึงมีความสำคัญนับแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบัน กอปรกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙) ได้กำหนด ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม โดยมีแนวทางสำคัญในการอนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟูและรักษาสภาพแวดล้อมชมุ ชน ศลิ ปกรรมและ แหล่งทอ่ งเที่ยวให้เกอ้ื หนุนตอ่ คุณภาพชวี ิต และเป็น ฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ดังนั้น เพื่อให ้ การบริหารยุทธศาสตร์ดังกล่าวมีความเป็นไปได ้ ในทางปฏิบัติ สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง จึงเห็นสมควรให้ม ี การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีถนน ราชดำเนินและพื้นท่ีบริเวณต่อเน่ืองขึ้น เ พื่ อ เ ป็ น แ ผ น ช้ี น ำ ทิ ศ ท า ง ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น กายภาพในพืน้ ที่ประวตั ิศาสตรข์ องกรุงเทพมหานคร ซ่ึงต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๔๔ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติ โครงการแผนผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่ ถนนราชดำเนินและพื้นที่บริเวณต่อเน่ือง ภายใต้โครงการเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟ้ืนคืน การเจริญเติบโตอีกคร้งั หนึ่ง 11

ผลจากโครงการแผนแม่บทดังกล่าวก่อให้เกิดการดำเนินงาน ในทางปฏิบัติอย่างเปน็ รูปธรรมแลว้ จำนวน ๒ โครงการ ประกอบด้วยโครงการ ปรับปรุงพื้นที่บริเวณลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ (ส่วนต่อขยาย) เพื่อเปิดมุมมองโลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม และเพ่ิมความสง่างามให้แก่ ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์ ในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินบริเวณส่วนต่อขยาย ได้ส่งมอบสิทธิในการ ปรับปรุงพ้ืนที่ให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ดำเนินการ โดยกรุงเทพมหานคร ดำเนนิ การแลว้ เสรจ็ เมอ่ื วนั ท่ี ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ สว่ นอกี โครงการหนง่ึ คอื โครงการออกแบบก่อสร้างลานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ณ บริเวณท่ีเป็นที่ต้ังของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 12

จวบจนปจั จบุ ัน ถนนราชดำเนินยังคงความสำคญั เปน็ เสน้ ทางหลักสู่ “กรุงรัตนโกสนิ ทร์” จิตวิญญาณและมรดกอันล้ำค่า ทางวัฒนธรรมทีบ่ รรพบุรษุ ไดม้ อบใหแ้ ก่ลกู หลานไทย ด้วยเหตุท่ีในอดีต การเข้าสู่ ราชธานีในยุครัตนโกสินทร์จะต้อง ผ่านประตูเมืองบริเวณสะพานผ่านฟ้า ลลี าศ มายงั ลานพลับพลามหาเจษฎา บดินทร์ในปัจจุบัน เปรียบได้กับเป็น ประตูสู่กรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งอาคาร แห่งน้ีเป็นอาคารแรกท่ีอยู่ติดกับลาน พลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ จุดน ้ี จงึ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ในการนำอาคารแหง่ น ้ี มาเป็นสถานท่ีจัดแสดงนิทรรศการ เพราะมีพื้นท่ีท่ีเหมาะสมจะเป็นแหล่ง รวบรวมความรู้ อกี ทงั้ ยงั มโี ลหะปราสาท วดั ราชนดั ดารามทส่ี วยงามเดน่ เปน็ สงา่ เป็นที่เชิดหน้าชูตาของประเทศในยาม ท่ี แ ข ก บ้ า น แ ข ก เ มื อ ง ม า เ ที่ ย ว ช ม สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหา กษัตริย์จึงบูรณะอาคารเดิมให้เป็น ส ถ า น ท่ี ร ว บ ร ว ม ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ประวัติศาสตร์ ศลิ ปะ และวัฒนธรรม ของยคุ รตั นโกสนิ ทรอ์ นั ควรคา่ ทคี่ นไทย จะได้รับรู้และภาคภูมิใจภายใต้ชื่อ โดยโครงการดังกล่าวจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญบนถนนราชดำเนิน “นทิ รรศนร์ ตั นโกสนิ ทร”์ ซึ่งประกอบด้วย สวนและลานกิจกรรม อาคารนิทรรศการและศูนย์เรียนร ู้ โดยขณะน้ีอยู่ระหว่างการดำเนินการประกวดแบบ คาดว่าจะเร่ิมดำเนินการ ก่อสร้างได้ใน พ.ศ. ๒๕๕๕ จากความต้ังใจที่จะสรรค์สร้างส่ิงที่ดีเพ่ือสังคมและการร่วมแรงร่วมใจกัน อย่างเต็มท่ีของทุกฝ่าย ผนวกกับความประสงค์ของสำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ท่ีจะร่วมเป็นส่วนหน่ึงในการอนุรักษ์และพัฒนาพ้ืนที ่ ถนนราชดำเนนิ ใหส้ งา่ งามสมกบั ชอื่ ถนน จงึ เปน็ ทมี่ าของการนำอาคารหมายเลข ๑ ซง่ึ อยถู่ ดั จากลานพลบั พลามหาเจษฎาบดนิ ทร์ ทค่ี รบอายสุ ญั ญาเชา่ และไดร้ บั คนื พ้ืนท่ีจากผู้เช่าเดิมแล้ว มาปรับปรุงเพื่อเป็นของขวัญในการพัฒนาพ้ืนที่ ถนนราชดำเนิน อันเป็นจุดตอ่ ยอดที่เป็นประโยชนต์ ่อสงั คม 13

กิจกรรมวนั เดก็ แหง่ ชาติ วันเสาร์ท่ี ๘ มกราคม พ.ศ.​ ๒๕๕๔ จัดขนึ้ บริเวณโถงอเนกประสงค์ อาคารนทิ รรศน์รตั นโกสินทร์ เด็กๆ ตา่ งสนุกสนานกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ด้านศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย 14

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์ มุ่งหวังท่ีจะกระตุ้นให้เยาวชนช่ืนชอบและสนใจที่จะศึกษา ค้นคว้าและภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ ศิลปะ และมรดก ทางวัฒนธรรมที่บรรพชนไทยได้สั่งสมสืบทอดมาจนถึง ปจั จบุ นั อกี ทง้ั เพอ่ื ใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วแหง่ ใหมอ่ กี แหง่ หนง่ึ ของกรงุ เทพมหานคร ทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ วจะไดร้ บั ขอ้ มลู ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับสถานท่ีท่องเที่ยวบริเวณเกาะ รัตนโกสินทร์ก่อนท่ีจะไปเท่ียวชมยังสถานที่จริง และเหนือ สิ่งอื่นใด ชุมชนชาวราชดำเนินโดยเฉพาะเยาวชนในชุมชน นา่ ทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ ทง้ั ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการจดั แสดง นิทรรศการและห้องสมุดซ่ึงจะเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีอยู่คู่กับ ชุมชนไปตราบนานเทา่ นาน อย่างไรก็ตาม หากมองย้อนไปถึงต้นสายปลายเหตุ ของการก่อกำเนดิ อาคารนทิ รรศน์รัตนโกสินทร์ ซ่งึ เกดิ จาก ความมุ่งหวังในการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟ้ืนคืนการเจริญ เติบโตตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๙ น้ัน สง่ิ ทเี่ กดิ ขึ้นในอาคารนทิ รรศน์รตั นโกสินทร์ อาจไม่ใช่คำตอบสุดท้ายท่ีจะตอบโจทย์ของความมุ่งหวัง ดงั กลา่ ว แตส่ ิ่งทคี่ วรจะเปน็ กค็ ือ เศรษฐกจิ สงั คม และศลิ ปวฒั นธรรม ทนี่ า่ จะตอ้ งเจรญิ งอกงาม ไปพร้อมๆ กันอย่างสมดุลบนความย่ังยืน ด้วยเหตุน้ี สำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์จึงมุ่งหวัง ทจี่ ะใหอ้ าคารนทิ รรศนร์ ตั นโกสนิ ทร์ ทำหน้าที่ในการสร้างความสมดุล ทางศิลปวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม 15



๒ ตอนที่ มรดสกืบแสผ่านนดศินิลสปย ์ าม เย่ียมยลนวัตกรรมเลิศล้ำวิจิตร เพื่อพินิจเกียรติยศมรดกสยาม



กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ เกยี รตยิ ศ ประดับแผน่ ดนิ สยาม ตลอดระยะเวลากว่า ๒ ศตวรรษใต้ร่ม พระมหาเศวตฉัตรของพระมหากษัตริย์ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซ่ึงทรงอุตสาหะ บ ำ เ พ็ ญ พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ เ ป็ น อ เ น ก ป ร ะ ก า ร ดว้ ยพระราชปณธิ านมงุ่ หวงั ตงั้ พระราชหฤทยั บนั ดาลให้ กรุงรัตนโกสินทร์ ศูนย์กลางพระราชอาณาจักรสยาม มีความงดงามรุ่งเรือง สมเป็นราชธานีท่ีมีศรีสง่าทัดเทียม มหานครในบรรดาอารยประเทศทั้งหลาย กอปรกับ พ ร ะ บ ร ม โ พ ธิ ส ม ภ า ร ท่ี ป ก แ ผ่ ไ พ ศ า ล ไ ป ทั่ ว ขอบขัณฑสีมา ได้บังเกิดความผาสุกทุกถ่ินฐาน ราษฎรประกอบกิจการงานท่ีสุจริตได้อย่างอิสระ มีกำลังพัฒนาบ้านเมืองให้เฟื่องฟูในทุกด้าน วทิ ยาการอนั ลำ้ คา่ ไดร้ บั การรจนารงั สรรคเ์ ปน็ “ มรดกศลิ ป”์ ปรากฏเปน็ เกียรตยิ ศ ประดับแผ่นดนิ สยาม

๑ รัตเรนือโงกโสริจนนท์ ร์ 20

กรุงรัตนโกสินทร์ ราชธานีแห่งขอบขัณฑสีมาพระราชอาณาจักรสยาม 21 ยืนหยัดอย่างมั่นคง ดำรงฐานะศูนย์กลางของประเทศท่ีเป่ียมด้วยอารยะ บริบูรณ์ด้วยสรรพวิทยาการ เนื่องด้วยพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งทรงพระราชอุตสาหะทำนุบำรุงบ้านเมือง ให้เฟื่องฟู ค้ำชูพระบวรพุทธศาสนา สืบทอดขนบประเพณีท่ีมีมาแต่เม่ือคร้ัง กรุงศรีอยุธยา ราษฎรจึงบังเกิดความผาสุกสืบมา เป็นเวลายาวนานกว่า ๒๐๐ ป ี

ตั้ ง แ ต่ ก รุ ง รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ไ ด้ รั บ การสถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เม่ือพุทธศักราช ๒๓๒๕ นัน้ นบั เปน็ เวลายาวนานกว่า ๒๐๐ ปี ท่ีกรุงรัตนโกสินทร์ ศูนย์กลางแห่งพระราช อาณาจักรสยาม เป็นราชธานีที่งดงามมั่นคง ดำรงเอกลักษณ์ทางศิลปะและสถาปัตยกรรม อันวิจิตร มั่งค่ังด้วยสรรพพิพิธวิทยานานา ประการ 22

ด้วยพ ร ะ บ ร ม โพ ธิ ส ม ภ า ร และ พ ร ะ ร า ช ป ณิ ธ า น อั น แ น่ ว แ น่ ข อ ง พ ร ะ ม ห า กษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งล้วน ทรงมุ่งหวังตั้งพระราชหฤทัยท่ีจะปกครอง บ้านเมืองและราษฎรให้รุ่งเรืองและผาสุก ด้วยหลักทศพิธราชธรรมและคำสอนแห่ง พระบวรพทุ ธศาสนา ราษฎรทั้งหลายจึงได้อาศัยอยู่บน แผ่นดินทอง ท่ีเรืองรองและร่มเย็นสืบมา เป็นเวลากวา่ ๒ ศตวรรษ 23

แ ผ น ผั ง หอ้ งรตั นโกสนิ ทรเ์ รอื งโรจน ์ ทางออกสู่ห้องท่ี ๒ จดั แสดงดว้ ยระบบไฮโดรลิก ยกพืน้ ห้องให้เล่อื นข้นึ จากช้ันที่ ๒ ไปสู่ช้ันท่ี ๓ พรอ้ มฉายวีดิทศั น ์ แสดงประวตั กิ ารสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์และหุ่นจำลอง วัดพระศรสี รรเพชญ ์ และวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม 24

ห่นุ จำลองวดั พระศรีรตั นศาสดาราม หุ่นจำลองวัดพระศรสี รรเพชญ ์ วีดิทัศนย์ ้อนรอยประวตั ิ การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร ์ 25

ปลายสมัยอยุธยา เม่ือกล่าวถึงการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ จะต้องมองย้อนไปถึง กรุงศรีอยุธยา เนื่องจากราชธานีของชาวสยามนามกรุงศรีอยุธยาน้ัน ยิ่งใหญ่ เรืองรองด้วยภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมท่ีสั่งสมมายาวนาน ถงึ ๔๑๗ ปี จงึ เปน็ ตน้ แบบทส่ี ำคญั ใหก้ ารสรา้ งราชธานีใหม่ ไดส้ บื สานความเจรญิ รุ่งเรอื งในแทบทุกดา้ น เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ ณ เมอื งธนบรุ ีศรีมหาสมุทร อนั เปน็ เมอื งปราการหน้าด่านสำคัญใกลป้ ากแมน่ ้ำ เจ้าพระยามาแต่เดิมนั้น ก็ได้สืบทอดรูปแบบสังคมและวัฒนธรรมอันดีงาม ของกรุงศรีอยุธยามาอย่างต่อเนื่องตลอดรัชสมัยของพระองค์ แม้จะเป็นระยะ เวลาอนั สน้ั เพยี ง ๑๕ ปี 26

รงุ่ อรณุ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ต้ังใจจะอปุ ถมั ภก คร้ันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ยอยกพระพทุ ธศาสนา จะป้องกันขอบขณั ฑสมี า มหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงสถาปนาราชธานีใหม่ ภาพแห่งความเจริญรุ่งเรือง ของกรุงศรีอยุธยาในอดีต ได้สะท้อนให้ปรากฏแจ่มชัด รักษาประชาชนแลมนตร ี ยงิ่ ขนึ้ อกี ครัง้ พระองค์ทรงมุ่งหมายจะสถาปนาราชธานีใหม่ เพ่ือประโยชน์สุขของพสกนิกรเป็นท่ีต้ัง พระองค ์ ให้เจริญรุ่งเรือง เป็นศูนย์กลางการปกครองและการค้า ไดม้ พี ระราชปณธิ านอันแนว่ แน่ ดังความท่ีวา่ ... อนั สำคญั ย่ิงใหญ่ทัดเทียมกรงุ ศรอี ยธุ ยาในอดตี ให้จงได้ 27

๓ ๑ ๔ ๖ ๘ ๐ ล ั ๒ ๕ ๗ สถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร ์ ดว้ ยทรงพระปรชี าในตำราพชิ ยั สงคราม จงึ ทรงเลง็ เหน็ วา่ จากนั้นทรงให้เร่ิมขุดคูคลอง ขุดรากก่อกำแพง พนื้ ทฝ่ี ง่ั ตะวนั ออกของแมน่ ำ้ เจา้ พระยาเปน็ ชยั ภมู ทิ เี่ หมาะสม พระนคร สร้างป้อมปราการ สร้างวัดพระศรีรัตน เนอ่ื งจากมลี กั ษณะเปน็ หวั แหลม โอบลอ้ มดว้ ยลำนำ้ ถงึ ๓ ดา้ น ศาสดารามและพระบรมมหาราชวัง การวางตำแหน่งที่ตั้ง อกี ทงั้ นอกคเู มอื งดา้ นตะวนั ออกยงั เปน็ ทะเลตม ซง่ึ หากขดุ คลอง ของวังต่างๆ จัดเรียงรายให้มีชัยภูมิแบบ “นาคนาม” เพมิ่ ขนึ้ จะชว่ ยปอ้ งกนั พระนครไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จงึ ทรงพระกรณุ า ต้องตามตำราพิชยั สงครามสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา โปรดเกลา้ ฯ ใหย้ า้ ยราชธานจี ากฝง่ั ตะวนั ตกมายงั ฝงั่ ตะวนั ออก พรอ้ มกนั นนั้ ทรงฟนื้ ฟพู ระพทุ ธศาสนาและทรงรอ้ื ฟนื้ ของแม่น้ำเจ้าพระยา ว ร ร ณ ก ร ร ม อั น เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ส ำ คั ญ ข อ ง ช า ติ วันอาทิตย์ เดือนหก ขึ้นสิบค่ำ ปีขาล จัตวาศก เปน็ การบำบดั ทกุ ข์ บำรุงสขุ และบำรงุ ขวัญให้แก่ราษฎร จุลศักราช ๑๑๔๔ เวลาย่ำรุ่งแล้ว ๕๔ นาที ตรงกับ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณและพระวิริยอุตสาหะ วนั ท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แห่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ประกอบพระราชพิธีประดิษฐานเสาหลักเมืองสำหรับ แผ่นดินสยามก็ได้กลับฟ้ืนคืนความเป็นปึกแผ่นและ พระนครเป็นปฐมฤกษ ์ สงบสุขร่มเย็นสมดังความหมายแห่งนามราชธานีท่ีได้ พระราชทานคือ... 28

กรุงเทพมหานคร วังรมิ ป้อมพระสุเมร ุ วงั ริมปอ้ มจกั รเพ็ชร เป็นพระนครอันกว้างใหญ่ บ้านเสนาบด ี อมรรัตนโกสินทร์ วงั หน้า พระบรมมหาราชวงั ดจุ เทพนคร แม่น้ำ พระราชวังเดิม อันเปน็ ทสี่ ถิตแหง่ พระพุทธมหามณรี ัตนปฏิมากร วงั หลัง ขพอรงะสนมเิ วเศดนจ็ พเ์ ดริมะ พีน่ างฯ พระนิเวศน์เดมิ พระแก้วมรกต มหินทรายุธยา ตำแหนง่ ทีต่ ัง้ ของวังตา่ งๆ ทจี่ ดั เรียงรายให้มชี ัยภูมิแบบ “นาคนาม” ตามตำราพชิ ยั สงคราม เปน็ มหานครที่ไม่มีผู้ใดจะรบชนะได้ มหาดลิ กภพ พิชัยสงคราม มีความงดงามอนั มนั่ คงและเจรญิ ยงิ่ กรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีที่มีแผนผังและ นพรตั นร์ าชธานีบูรรี มย์ การวางตำแหน่งสถานท่ีสำคัญต่างๆ นับต้ังแต่ เมื่อแรกสร้างให้สอดคล้องกับการตั้งค่าย ตามท่ีปรากฏ เป็นเมอื งหลวงที่บริบูรณด์ ว้ ยแก้ว ๙ ประการ ในตำราพิชัยสงคราม ซึ่งเป็นเอกสารเก่าแก่ท่ีได้รับ อันนา่ รน่ื รมย ์ การสืบทอดมาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยนำรูปแบบ นาคนาม ซ่ึงเป็นการต้ังค่ายหรือทัพใกล้กับลำคลอง อดุ มราชนเิ วศน์มหาสถาน หรือแม่น้ำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ประกอบทัง้ หมพู่ ระมหามณเฑยี ร หรอื ภมู ศิ าสตรข์ องกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ มีค่ายหลวง ซ่ึงเปรียบได้กับวังหลวงหรือ และพระมหาปราสาท พระบรมมหาราชวังเป็นศูนย์กลาง วังหน้าหรือ เปน็ พระราชนเิ วศนเ์ วียงวังอนั โอฬาร พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร ส ถ า น ม ง ค ล เ ป็ น ค่ า ย ด้ า น ห น้ า ส่วนวังหลังหรือพระราชวังบวรสถานพิมุขเป็นค่าย อมรพมิ านอวตารสถิต ด้านหลัง นอกจากนี้ยังมีวังเจ้านายซึ่งล้วนแต่เป็น เปรยี บดงั วิมานของสมมตเิ ทพผเู้ สด็จอวตารลงมา พ ร ะ บ ร ม ว ง ศ์ ผู้ ใ ห ญ่ ต้ั ง เ รี ย ง ร า ย ไ ป ต า ม ริ ม แ ม่ น้ ำ เจ้าพระยาทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออกอีกด้วย สกั กะทัตตยิ วษิ ณุกรรมประสิทธ์ ิ โดยทา้ วสกั กเทวราชหรอื พระอินทร์ โปรดให้พระวิษณุกรรมเนรมติ ไว้ 29

๒ แผเ่นกียดิรนตสิยยศา ม 30

พระบรมมหาราชวัง เพชรน้ำเอกแห่งสถาปัตยกรรมที่เปี่ยมด้วยความงดงาม และล้ำค่า ซึ่งพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาลได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เหล่าช่าง ผู้ชำนาญร่วมกันรังสรรค์ไว้เป็นมรดกศิลป์อันสง่างาม เป็นเกียรติยศสำหรับสยาม ประเทศที่ยืนหยัดและร่มเย็นเป็นเวลากว่า ๒๐๐ ปี ใต้ร่มพระบารมีแห่งพระมหา จกั รีบรมราชวงศ์ พระบรมมหาราชวังเป็นคลังความรู้ท่ีรวบรวมศิลปะและสรรพวิทยา อนั ประณตี วจิ ติ ร โดยเฉพาะที่ไดร้ บั การเนรมติ จากฝมี อื สาวชาววงั ซง่ึ ไดร้ บั การเลา่ ขาน จนถึงปจั จบุ ันกาล ว่าเป็นสุดยอดผลงานหตั ถศิลป์ของแผ่นดนิ สยาม 31

32

คร้ังสมัยกรุงศรีอยุธยามาจนถึง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ธรรมเนียมการสร้าง พระบรมมหาราชวังยังได้รับการสืบทอด ต่อมา ด้วยองค์ประกอบทางศิลปะและ ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมทง่ี ดงาม เปน็ ศรสี งา่ สมฐานะราชธานี ศูนย์กลางแห่งขอบขัณฑสีมา เ ป็ น เ ค ร่ื อ ง ป ร ะ ดั บ พ ร ะ อิ ส ริ ย ศั ก ดิ์ แ ห่ ง พระมหากษัตริย์และเป็นเกียรติยศประดับ พระราชอาณาจักรสยาม นับเนื่องจากคร้ังสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๕ จวบจนปัจจุบันสมัย รวมระยะเวลาไดก้ วา่ ๒๐๐ ปี พระบรมมหาราชวงั อันเป็นอาณาบริเวณที่สำคัญ มีการก่อสร้าง เปลยี่ นแปลงและปรบั ปรงุ ดว้ ยรปู แบบศลิ ปกรรม อันประณีตล้ำค่า เกิดเป็นศูนย์รวมวิทยาการ หลายแขนง เป็นแหล่งรวมสุดยอดศิลปะและ สถาปัตยกรรมที่งดงามโดยสุดยอดช่างฝีมือ ของแผ่นดินที่ร่วมแรงและร่วมใจรังสรรค์ ด้วยศรัทธาและจงรักภักดีในพระมหากษัตริยา ธิราชเจ้าแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค ์ 33

แ ผ น ผั ง ห้องเกียรติยศแผ่นดินสยาม สถาปตั ยกรรมชนั้ สงู ģ จดุ เร่มิ ต้น Ģ พรคะบวารมมเมปห็นามราาขชอวงงั 34

พอราะคบารรมสมถาหนาใรนาเชขวตงั งานฝมี อื ชา่ งหลวง ชวี ิตในเขตพระราชฐานชน้ั ใน Ĥ ĥ ทางออก Ħħ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม 35

พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย หนึ่งในใจปวงประชา Ģ ควากมบั เอปงน็ คสป์ มรมะกตอิเทบพทขางอสงถพารปะมัตหยกากรษรมัต รยิ ์ คติความเชื่อเกี่ยวกับสมมติเทวราชจากกรุงศรีอยุธยาได้สืบทอดมา จวบจนสมัยรัตนโกสินทร์ ชาวไทยต่างยกย่องพระมหากษัตริย์เป็นดั่ง พระนารายณ์อวตารตามคติของศาสนาพราหมณ์ผสมผสานกับความเช่ือ ในพระพุทธศาสนาที่พระมหากษัตริย์ต้องมีทศพิธราชธรรมในการปกครอง บา้ นเมือง ซึ่งสะทอ้ นความเปน็ หน่อพุทธางกูรหรอื ผู้ทจี่ ะตรสั รเู้ ปน็ พระพุทธเจา้ ในภายภาคหน้า หลักฐานของคติความเช่ือน้ีแฝงอยู่ในรูปลักษณ์ของสิ่งปลูกสร้าง พระราชพิธี ตลอดจนจารีตประเพณี เพ่ือแสดงความยกย่องเชิดชูพระมหา กษัตริย์อย่างสมพระเกียรติ ถือเป็นแบบแผนดีงามและเป็นอารยธรรมทสี่ ง่ ตอ่ จากสมยั หนึ่งสสู่ มยั หนง่ึ อยา่ งไม่ขาดหาย 36

ด้วยศีลและธรรมที่ทรงปฏิบัติน้ันได้ประจักษ์แก่สายตาและการรับรู้ ของประชาชน ว่าเป็นศีลที่รักษาได้ และเป็นธรรมที่ปฏิบัติได้จริง ความเป็น สมมติเทพของพระมหากษัตริย์จึงมิใช่ความเช่ือที่ลึกลับอยู่เหนือเหตุผล อีกต่อไป แต่เป็นการยกย่องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างท่ีเข้าใจ และพสิ ูจน์ได้ ดังท่ี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช บนั ทกึ ไวว้ า่ “...ทำใหเ้ กิดมีอดุ มการณ์เกยี่ วกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ข้ึนใหม่ในปจั จบุ ัน ซ่ึงแตกตา่ งไปจากทมี่ มี าแตก่ อ่ น อุดมการณน์ ้ีได้แก่ ความรกั อนั ใกลช้ ดิ ความภักด ี และความมนั่ ใจในความบรสิ ทุ ธแ์ิ หง่ พระราชหฤทยั และพระมหากรณุ าธิคณุ อันหาประมาณมไิ ด ้ ในสงั คมไทยยคุ ปจั จุบนั นี้...” แผนท่ีกรุงรัตนโกสนิ ทร์สมัยรัชกาลท่ี ๓ แสดงจุดทต่ี ง้ั สถานที่สำคญั ตา่ งๆ รวมทง้ั พระบรมมหาราชวงั ซึ่งเป็นศนู ยก์ ลางของราชธานี 37

ความวิจิตรงดงามของพระบรมมหาราชวัง คอื พระอสิ รยิ ยศและพระอสิ รยิ ศกั ดแิ์ หง่ พระมหากษตั รยิ ์ไทย ในฐานะสมมติเทพตามธรรมเนียมแบบแผนที่สืบทอด มาแต่โบราณ และเปน็ เกยี รตยิ ศแหง่ แผน่ ดนิ ไทยทแ่ี สดงถงึ ความม่ังคงั่ ของราชธานมี ายาวนานหลายช่ัวอายุคน กาลเวลาท่ีผ่านมากว่า ๒๐๐ ปี เปล่ียนแปลง พระบรมมหาราชวังไปตามอารยธรรมของแต่ละยุคสมัย จากสถาปัตยกรรมแบบไทยประเพณี ศิลปะสมัย กรุงศรอี ยุธยาตอนปลายเม่อื คร้ังแรกสรา้ ง แปรเปลี่ยนเปน็ สถาปัตยกรรมแบบไทยผสมจีนในสมัยรัชกาลท่ี ๒ และ รัชกาลที่ ๓ โดยได้รับอิทธิพลจากการติดต่อค้าขาย กับประเทศจีน ความเปน็ มาของพระบรมมหาราชวงั จัดแสดงด้วยเทคนคิ ฉายภาพวีดทิ ศั น์บนผนงั และหนุ่ จำลองพระบรมมหาราชวงั ที่สมบูรณ์และใหญ่ทีส่ ุด ในประเทศไทย 38

๑ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ ทั ด เ ที ย ม กั บ น า น า อารยประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕ ทำให้ มีการนำสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกเข้ามาผสมผสานกับ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่มีมาแต่เดิมของพระบรม มหาราชวัง ซึง่ แบ่งเป็น ๓ สว่ น คือ พระราชฐานชั้นนอก เป็นที่ต้ังของที่ทำการ หน่วยงานราชการและวัดพระศรีรัตนศาสดารามซึ่งเป็น วัดประจำพระบรมมหาราชวัง พระราชฐานช้ันกลาง หัวใจของพระบรมมหาราชวัง เคยเป็นท่ีประทับและเสด็จออกว่าราชการของพระมหา กษัตริย์ต้ังแต่รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลท่ี ๕ หลังจากน้ัน กลายเป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีสำคัญ และรับรอง พระราชอาคันตกุ ะมาตราบจนทุกวันน ้ี พระราชฐานชั้นใน ในอดีตเป็นที่ประทับของ พระมเหสเี ทวี พระราชธดิ า และข้าราชการทเี่ ปน็ หญิงล้วน ปัจจุบันเปลี่ยนแปลงประโยชน์ใช้สอยไปเพ่ือการอนุรักษ์ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย และเพอื่ การศกึ ษาหลายโครงการ เวลากว่า ๒ ศตวรรษที่ผ่านมา พระบรมมหาราชวงั คือบทบันทึกแห่งประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร ์ ท่ีคงความสง่างาม ทรงคุณค่า สมเป็นมรดกของชาต ิ และเกยี รติยศของแผ่นดนิ ไทย 39

๒ เรือ่ งราวเก่ยี วกบั ศลิ ปกรรมพระทนี่ ง่ั ทรงปราสาท สถาปัตยกรรมชน้ั สูง ภายในพระบรมมหาราชวงั เพอ่ื เกียรติยศแห่งแผ่นดิน จดั แสดงด้วยระบบจอสัมผสั หรือเทคนิคทัชสกรีน กรุงรัตนโกสินทร์เป็นการจำลองความรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยาในอดีต การสร้างปราสาทและพระราชมณเฑียรที่ประทับจึงวิจิตรบรรจงดังเทวสถาน ตามคติความเชื่อท่ีมีมาแต่เดิม เพื่อเฉลิมพระเกียรติ แสดงถึงพระอิสริยยศ พระอิสริยศักดิ์ของพระมหากษัตริย์ และเป็นเครื่องแสดงถึงอารยธรรมและ เ กียรตยิจศากแหกง่รบุงศา้ นรเีอมยอื ุธงย าสู่กรุงรัตนโกสินทร์ ธรรมเนียมการสร้างพระท่ีน่ัง ทรงปราสาทเพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ยังคงสืบทอดมา ปรากฏเป็น พระท่ีนั่งอันงามสง่า สูงส่งด้วยศิลปะซึ่งสะท้อนถึงการยกย่องพระมหากษัตริย์ ในฐานะสมมติเทวราชผเู้ ปย่ี มด้วยทศพิธราชธรรม 40

รัชกาลที่ ๑ พระทน่ี ่ังดสุ ติ มหาปราสาท สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ถอื เปน็ สถาปตั ยกรรมไทย ทส่ี มบรู ณแ์ บบ เครอ่ื งยอด เปน็ จตรุ มขุ ทรงมณฑปซอ้ น ๗ ชน้ั ประดับด้วยครุฑยุดนาครับไขรายอดปราสาท หน้าบัน ประดบั ดว้ ยรปู นารายณท์ รงครฑุ ลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจก ซุ้มพระบัญชร เป็นมณฑปทรงจอมแหซ่ึงเป็นรูปแบบซุ้มท่ี ใช้กับพระที่นั่งทรงปราสาทเท่าน้ัน บานพระทวารและ พระบญั ชร มภี าพเขยี นลายเทวดาเปน็ ทวารบาลคอยปกปกั รักษาพระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี ๒ พระทน่ี ั่งมหศิ รปราสาท เปน็ พระทนี่ งั่ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขน้ึ เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั เนื่องจากในสมัย รชั กาลท่ี ๒ ไมม่ กี ารสรา้ งพระทน่ี ง่ั ทรงปราสาท เครอ่ื งยอด เป็นปราสาท ๕ ชั้น มีครุฑยุดนาครับไขราแทนคันทวย ทงั้ ๔ มมุ หน้าบนั เปน็ รูปครุฑยดุ นาคพระราชสญั ลกั ษณ์ ของรัชกาลที่ ๒ ซุ้มพระบัญชร เป็นซุ้มยอดทรงมงกุฎ บานพระทวาร เขยี นลายรดน้ำ รัชกาลท่ี ๓ พระทีน่ ่งั สทุ ไธศวรรยป์ ราสาท ต้ังอยู่บนกำแพงพระบรมมหาราชวัง เป็นพระท่ีน่ัง ซึ่งมีมาตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ ใช้เป็นที่ประทับทอดพระเนตร การฝึกช้างและกิจกรรมต่างๆ ท่ีมีนอกพระราชวัง ต่อมา รัชกาลที่ ๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการยกยอด ปราสาทขนึ้ ในรัชกาลปจั จบุ นั เปน็ ทเี่ สดจ็ ออกใหป้ ระชาชน เข้าเฝ้าฯ ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เครื่องยอด เปน็ ทรงมณฑป ๕ ชน้ั มคี นั ทวยรับไขราของยอดปราสาท หน้าบัน เป็นลายกนกเครือเถาใบเทศ บานพระทวาร สมัยรัชกาลท่ี ๕ ได้มีการบูรณะบานพระทวารเป็นบานไม้ แบบบานเฟย้ี ม 41

รชั กาลท่ี ๔ พระท่ีนั่งอาภรณพ์ โิ มกขป์ ราสาท เป็นพระท่ีน่ังโถง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพ่ือ เฉลิมพระเกียรติยศและเป็นสถานท่ีสำหรับประทับ พระราชยานคานหาม เคร่ืองยอด เป็นปราสาท ๕ ช้ัน มีหงส์จำหลักรับไขรายอดปราสาท หน้าบัน รูปสมเด็จ พระอมรนิ ทราธริ าชประทบั ยนื และมรี ปู เทพนมขนาบขา้ ง รัชกาลท่ี ๕ พระทีน่ ง่ั จกั รมี หาปราสาท สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เพ่ือเป็นท้องพระโรง มีลักษณะเด่นที่รูปแบบ ทรงไทยผสมตะวันตก มีมุข ๓ มุข เหนือมุขทั้งสาม ยกยอดปราสาท ๗ ชั้น มีคันทวยรับไขรายอดปราสาท หน้าบันมุขกลาง เป็นรูปตราจักรีภายใต้พระมหามงกุฎ รองรับด้วยตราอาร์มแผ่นดิน หน้าบันมุขตะวันตกและ มขุ ตะวนั ออก เปน็ ตราจลุ มงกุฎบนพานแวน่ ฟา้ รองรับด้วย ชา้ งสามเศยี ร ดา้ นขา้ งเปน็ ราชสหี แ์ ละคชสหี ์ หนา้ บนั มขุ เดจ็ เป็นตราจักรีตามนามพระท่ีนั่ง ซุ้มพระบัญชร ประดบั ดว้ ย ตราจลุ มงกฎุ เหนอื ตราอารม์ แผน่ ดนิ 42

รัชกาลท่ี ๕ พระที่นั่งศิวาลยั มหาปราสาท ๒ สร้างข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า 43 เจ้าอยู่หัว เครื่องยอด เป็นพระที่นั่งทรงปราสาท ๕ ยอด ทรงมณฑป อันเป็นลักษณะเด่นของพระท่ีนั่งองค์น้ี นั บ เ ป็ น เ ค ร่ื อ ง ย อ ด ที่ มี รู ป แ บ บ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ รู ป ท ร ง งดงามที่สุด ประดับด้วยครุฑยุดนาครับไขรายอดปราสาท ยอดกลาง หมายถึง เขาพระสุเมรุ ยอดเล็ก ๔ ยอด หมายถึง ทวีปทั้ง ๔ ตามคติไตรภูมิ หน้าบนั รปู นารายณ์ ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยลายกนกเทพนม ซุ้มพระบัญชร เป็นซุ้มบันแถลง บานพระบัญชร เป็นบานไม้ ด้านนอก เป็นลายลงยาประดับกระจกบนพ้ืนสีทอง ปัจจุบัน มีบานกระจกดา้ นนอกเพมิ่ ขึ้นเพอ่ื ปอ้ งกนั บานดา้ นใน รชั กาลที่ ๙ พระที่น่งั เทวารัณยสถาน เปน็ พระทนี่ ง่ั โถง สรา้ งขน้ึ ในรชั กาลปจั จบุ นั ตง้ั อยบู่ น ชาลา (เฉลียง) พระท่ีนั่งบรมราชสถิตยมโหฬารองค์ใหม่ เครื่องยอด ยกยอดปราสาท ๕ ชั้น มีครุฑรับไขรา ยอดปราสาท หน้าบนั เปน็ รูปมงกุฎอณุ าโลม

เคร่อื งยอด...ยอดสงู เสยี ดฟ้า สูงค่าพระอสิ ริยยศ สว่ นของหลงั คาทเ่ี รยี กวา่ เครอื่ งยอด เปน็ การจำลอง จกั รวาลหรอื ไตรภมู ิ ช้ีใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธข์ องคตคิ วามเชอ่ื ในพระพทุ ธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ มรี ปู ทรงแหลมสูง ถดั ลงมาจากเครอ่ื งยอดเปน็ ไขรารบั ยอดปราสาท มกั ประดบั ด้วยรูปครุฑซึ่งเปน็ พาหนะของพระนารายณ์ เช่น พระที่นง่ั ดุสติ มหาปราสาท 44

พระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร ๒ หมายถงึ พระมหากษัตรยิ ์ รูปจำลองของพระสถูป ทรงแผพ่ ระบารมีไป ๘ ทศิ ทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารรี ิกธาต ุ และทิศธรณอี ีก ๑ ทิศ ของพระพทุ ธเจา้ ไขรายอดปราสาท ประดบั ครุฑ เหม ส่วนปลายสดุ ซง่ึ เป็นพาหนะของพระนารายณ์ มีลกั ษณะเรยี วแหลม มีฐานซึง่ เทพหรอื เทวดาอยู่บนสุด หลงั คาซอ้ นหลายช้ัน แทนเขาพระสเุ มรุ หมายถึงสวรรค์ชั้นตา่ งๆ ตามคติไตรภมู ิ บลั ลงั ก์ เปน็ สัญลักษณ ์ แทนองค์พระบรมศาสดา 4๖5๓

ซุ้มพระทวาร ซุม้ พระบญั ชร ปกปอ้ งคุ้มภัย รักษาไวพ้ ระมหามณเฑยี ร ซุ้มพระทวาร (ซุ้มประตู) และซุ้มพระบัญชร (ซมุ้ หน้าตา่ ง) คอื ซมุ้ ของทวยเทพท่ีคอยปกปักรกั ษา พระที่น่ัง พระมหาปราสาท เช่น พระท่ีน่ังดุสิต มหาปราสาทเปน็ ซมุ้ ทรงมณฑป สว่ นพระทน่ี ง่ั องคอ์ นื่ อาจเปน็ ซมุ้ บนั แถลง เชน่ พระทน่ี งั่ ศวิ าลยั มหาปราสาท หรอื ไม่ไดม้ รี ปู แบบไทย เชน่ พระทน่ี ง่ั จกั รมี หาปราสาท ซ่ึงมีซมุ้ แบบตะวันตก เปน็ ตน้ ซมุ้ ทรงอยา่ งเทศทพ่ี ระบัญชร พระท่ีนั่งอมรนิ ทรวินิจฉัย มไหสรู ยพิมาน 46