Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารเสพติด

สารเสพติด

Description: สารเสพติด

Search

Read the Text Version

สารเสพติดเป็นภัยร้ายท่ีสร้างความเสียหายต่อสังคมและประเทศชาติ มาทุกยุคสมัย แต่ในช่วงไม่ก่ีปีท่ีผ่านมาสถานการณ์ยาเสพติดทวีความรุนแรงมาก ข้ึน สังเกตได้จากจานวนคดี จานวนของกลาง กลุ่มเครือข่าย การแพร่ระบาด ซึ่ง มีแนวโน้มรุนแรงข้ึนทุกด้าน ที่สาคัญมีเด็กและเยาวชนเป็นจานวนมากที่เข้าไปมี ส่วนที่เกี่ยวขอ้ งกบั สารเสพตดิ ไมท่ างใดก็ทางหนงึ่

จากปญั หาการผลติ สารเสพติดในประเทศเพ่ือนบ้านที่ยังคงมีความต่อเน่ือง การ ปรากฏการจับกุมแหล่งผลิตในประเทศอย่างสม่าเสมอ นักค้ารายสาคัญยังคงมีบทบาทใน การบงการการซื้อ-ขาย สารเสพติด ทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกเรือนจา เกิดข้ึนของ ผเู้ กีย่ วข้องกบั การค้าและผ้เู สพรายใหม่ ช้ีใหเ้ หน็ วา่ ปญั หายาเสพติดยังอยู่ในระดับท่ีรุนแรง แม้ว่าสถติ กิ ารจบั กุมและการบาบดั รกั ษาจะเพม่ิ ขึน้ จากการประมวลขอ้ มูลบคุ คลพบวา่ แนวโน้มของผ้กู ระทาความผิดเกีย่ วกบั สารเสพติดที่ถกู จบั กุมประมาณ 3 ใน 4 เปน็ รายใหม่ สดั ส่วนผูก้ ระทาผดิ ในกลุ่มท่ี เป็นเยาวชนมีเพ่ิมสงู ขึ้น แม้วา่ สดั ส่วนโดยรวมสว่ นใหญข่ องผู้กระทาผิดจะเปน็ ชาย แตพ่ บวา่ การกระทาผดิ ในเพศหญิงมีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึนอย่างนา่ เปน็ หว่ ง

สถานการณ์การค้าพบว่ากลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มหลักท่ีเข้ามา เก่ียวข้องกับการเสพและมีแนวโน้มสัดส่วนที่เพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและ เยาวชนในสถานศกึ ษา ซึ่งเปน็ เดก็ มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและประถมศึกษา สารเสพติดท่ีแพร่ระบาดแม้ว่ายาบ้าจะยังคงเป็นตัวยาหลัก แต่พบว่า ค่อนขา้ งคงท่ี ต่างจากยาไอซ์ท่ีมีแนวโน้มทีเ่ พ่ิมมากข้ึนอย่างก้าวกระโดด ทั้งในด้าน การค้าและการเสพ ปัญหาเฮโรอีนก็ยังคงมีการจับกุมและเข้ารับการบาบัดรักษา อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการจับกุมการลาเลียงพืชกระท่อมจากพื้นที่กรุงเทพฯ และ ลักลอบนาเข้าจากประเทศมาเลเซียอย่างตอ่ เนอื่ ง

สารเสพตดิ หรอื ยาเสพติด หรือสิ่งเสพตดิ หมายถงึ สาร หรือยา หรือวัตถชุ นิดใด ๆ ก็ตามจะสง่ ผลตอ่ ร่างกายและจติ ใจ ของผู้เสพในลกั ษณะท่ี 4 ประการ คือ 1. จะเกดิ ความตอ้ งการเสพท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจอย่างรุนแรง 2.มคี วามจาเป็นต้องเพม่ิ ขนาดหรอื ปริมาณของสารเสพติดนั้นเรอื่ ย ๆ 3. เม่อื ถึงเวลาเสพ แล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการขาดยา ทาใหเ้ กดิ ความทรมาน ท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจ หรือจิตใจเพียงอยา่ งเดียว 4. สุขภาพร่างกายและการทางานของระบบอวยั วะตา่ ง ๆ ทรดุ โทรมลง

ตามพระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 ประเภทที่ ตวั อยา่ งยาเสพติด 1. ยาเสพตดิ ให้โทษชนดิ ร้ายแรง เฮโรอนี อที อรฟ์ นี อะซีทอรฟ์ นี เอก็ ซ์ตาซี แมทแอมเฟตามิน 2. ยาเสพติดใหโ้ ทษท่วั ไป ฝน่ิ มอร์ฟีน โคเคอนี โคคาอีน ไดฟนี ็อกซีเลต เอทิลมอร์ฟีน 3. ยาเสพตดิ ให้โทษชนดิ เป็นตารบั ยาท่ีมี ยาแกไ้ อ ยาแกท้ อ้ งเสยี ท่ีมีฝ่นิ โคเคคีน เป็น ยาเสพตดิ ให้โทษประเภทที่ 2 ปรุงผสมอยู่ด้วย สว่ นผสม

ประเภทท่ี ตวั อยา่ งยาเสพตดิ 4. สารเคมีทีใ่ ชใ้ นการผลิตยาเสพติดใหโ้ ทษ อะเซตลิ คลอไรด์ อะเซติกแอนไฮไดรด์ ประเภทท่ี 1 และ 2 5. พืชเสพตดิ ให้โทษ กัญชา กระท่อม เห็ดขค้ี วาย ซ่งึ จัดเปน็ ยา เสพตดิ ท่ีไมเ่ ขา้ ประเภทท่ี 1 ถึง 4

จาแนกตามการออกฤทธต์ิ ่อระบบประสาท ประเภทท่ี อาการ 1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท ไดแ้ ก่ ฝ่ิน รา่ งกายซบู ซีด ผอมเหลอื ง อ่อนเพลีย ฟุง้ ซ่าน มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากลอ่ มประสาท อารมณ์เปล่ยี นแปลงง่าย 2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ไดแ้ ก่ หงุดหงดิ กระวนกระวาย จติ สับสน หวาดระแวง แอมเฟตามนี กระท่อม และ โคคาอนี บางคร้งั มอี าการคลมุ้ คลงั่ หรือทาในส่งิ ที่คนปกตไิ ม่ กล้าทา เช่น ทาร้ายตนเอง หรือฆา่ ผอู้ น่ื 3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ไดแ้ ก่ มีอาการประสาทหลอน หแู ว่ว ไดย้ ินเสยี ง แอลเอสดี ดเี อม็ พี และ เห็ดข้ีควาย ประหลาดหรอื เห็นภาพหลอนทนี่ า่ เกลยี ดน่ากลัว ควบคมุ ตนเองไม่ได้ ในทส่ี ดุ มกั ปว่ ยเปน็ โรคจิต 4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธ์ผิ สมผสาน กลา่ วคอื หวาดระแวง ความคดิ สบั สน เห็นภาพลวงตา หูแวว่ อาจกดกระตุ้น หรอื หลอนประสาทไดพ้ รอ้ ม ๆ กัน ควบคมุ ตนเองไม่ได้ และป่วยเปน็ โรคจิต ตวั อยา่ งเชน่ กญั ชา

1. ผลกระทบตอ่ ตวั ผใู้ ช้สารเสพติด ❑ สุขภาพรา่ งกายของผเู้ สพจะทรดุ โทรมท้ังร่างกายและจติ ใจ เช่น สมองมึนชา ร่างกาย ออ่ นเพลยี สตปิ ัญญาเสอื่ มโทรม รูปรา่ งผอมแหง้ การตอบสนองลดลง สบั สน ไมร่ ูต้ ัว ❑ ภูมติ า้ นทานลดลง สามารถเปน็ โรคตดิ เชอ้ื อ่นื ๆ ไดง้ า่ ย เชน่ โรคตบั อกั เสบ ไตอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ❑ มภี าวะทางจติ ใจไม่ปกติ อารมณแ์ ปรปรวน จิตใจสับสนกังวล ซึมเศรา้ ฟงุ้ ซ่าน ❑ กลายเป็นบคุ คลทไ่ี ร้สมรรถภาพทั้งร่างกายและจิตใจในการดาเนินชีวิตในสังคม ขาด ความเช่ือม่ัน ไม่สนใจตนเอง ไมส่ นใจการงาน-การเรยี น

2. ผลกระทบของสารเสพติดต่อครอบครวั ❑ ส่งผลทาใหเ้ สื่อมเสยี ช่อื สยี งของครอบครวั ❑ ผูท้ ใ่ี ช้สารเสพตดิ จะขาดความรับผดิ ชอบต่อครอบครัว เส่ียงต่อการใช้ความรุนแรงใน ครอบครวั ครอบครวั ขาดความรกั ความอบอนุ่ ❑ เมื่อตอ้ งโทษหรือถกู จับกุม โดยการยดึ ทรพั ย์สินภายในบา้ นส่งผลต่อปัญหาครอบครัว ในระยะยาวได้

3. ผลกระทบของสารเสพตดิ ต่อสงั คมและเศรษฐกจิ ❑ การก่ออาชญากรรม การลกั ทรัพย์ การล่วงละเมดิ ทางเพศผูอ้ ่ืน ❑ สง่ ผลตอ่ การเกิดอบุ ตั ิเหตุ โดยเฉพาะบนทอ้ งถนน การพลัดตกจากท่สี งู ❑ ส่งผลปญั หาโรคระบาด เช่น ปญั หาโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ❑ ส่งผลต่อการพฒั นาประเทศ การขาดแรงงานท้งั กาลังบุคคลและกาลงั สมอง ❑ สง่ ผลต่อการปราบปรามสารเสพติดหรอื ทาให้เกดิ ความไมไ่ ว้วางใจกันในสงั คม

4. ผลกระทบของสารเสพติดตอ่ การพฒั นาประเทศชาติ ❑ ส่งผลตอ่ การพฒั นาบคุ ลากรและกาลังคนในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ ของไทย ❑ เกดความไม่สงบสุขในบา้ นเมอื ง ทาให้เศรษฐกจิ ทรุด ❑ บน่ั ทอนความม่ันคงของประเทศ และความนา่ เชอื่ ถอื ของนานาชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook