Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

Published by nooangkhana, 2019-10-27 22:47:16

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๖หน่วยการเรียนรู้ท่ี วนั สำคญั ทำงพระพุทธศำสนำและศำสนพธิ ี วนั สำคญั ทำงพระพุทธศำสนำและศำสนพิธี มีหลกั ปฏิบตั ิที่เป็น เอกลกั ษณ์และมีวฒั นธรรมไทยเขำ้ ไปผสมอยดู่ ว้ ย แมว้ ฒั นธรรมทำง พระพุทธศำสนำจะมิใช่แก่นแทข้ องศำสนำเหมือนศำสนธรรม แตก่ ็มีส่วนโอบอมุ้ ใหศ้ ำสนธรรมเป็นที่ประจกั ษแ์ ก่สำยตำของคนทว่ั ไป อนั เป็นส่วนสำคญั ยง่ิ ท่ีทำให้ ผทู้ ี่พบเห็นนอ้ มนำไปใชใ้ นกำรประพฤติปฏิบตั ิ เรำจึงควรศึกษำเก่ียวกบั กำรปฏิบตั ิตนในวนั สำคญั และศำสนพิธีทำง พระพุทธศำสนำ เพื่อนำไปปฏิบตั ิใหถ้ กู ตอ้ งและเหมำะสม ซ่ึงถือเป็ นมรดกท่ีมีคำ่ ยง่ิ ของชำติใหด้ ำรงอยตู่ ลอดไป

๑. ประวตั ิและการปฏิบัติตนในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา วนั วสิ าขบูชา • วนั วสิ าขบูชา เป็นวนั คลา้ ยวนั ประสูติ วนั ตรสั รู้ และ วนั ปรินิพพานของพระพทุ ธเจา้ • วนั วสิ าขบูชา ตรงกบั วนั เพญ็ เดือน ๖ ของทุกปี • พทุ ธศาสนิกชนทวั่ โลกมีการประกอบพิธีกรรมเพอ่ื นอ้ มระลึกถึงสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้

วนั วสิ ำขบูชำ : วนั สำคญั สำกลนำนำชำติ • ในการประชุม International Buddhist Conference ณ กรุงโคลมั โบ พ.ศ. ๒๕๔๑ ผแู้ ทนจากประเทศที่นบั ถือพระพุทธศาสนา ไดต้ กลงกนั ที่จะเสนอใหส้ มชั ชา สหประชาชาติรับรองขอ้ มติประกาศใหว้ นั วสิ าขบูชาเป็นวนั หยดุ ของสหประชาชาติ • วนั วสิ าขบูชาไดร้ ับการยอมรับจากสหประชาชาติใหเ้ ป็นวนั สาคญั สากลนานาชาติ (International Day) เน่ืองจากตระหนกั วา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาที่เก่าแก่ท่ีสุด ศาสนาหน่ึงของโลก ซ่ึงไดห้ ล่อหลอมจิตวญิ ญาณของมวลมนุษยชาติมาเป็นเวลานาน กวา่ ๒,๕๐๐ ปี ตามแนวทางสนั ติภาพ จึงสมควรไดร้ ับยกยอ่ งกนั ทว่ั โลก • ประเทศไทยไดท้ าหนา้ ท่ีเป็นผจู้ ดั งานเฉลิมฉลองวนั วสิ าขบูชา เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๗ ณ สานกั งานใหญ่สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยใชช้ ื่องานวา่ “วนั วสิ าขบูชาวนั สาคญั สากลของสหประชาชาติ”

กำรปฏิบตั ติ นในวนั สำคญั ทำงศำสนำ เวลำเช้ำ • พุทธศาสนิกชนจะไปทาบุญตกั บาตรท่ีวดั และฟังธรรม เวลำกลำงวนั • ร่วมกนั บาเพญ็ สาธารณประโยชน์ เช่น บริจาคโลหิต พฒั นาวดั หรือบริจาคทรัพยเ์ พ่ือการกุศล เป็นตน้ เวลำคำ่ • นาดอกไมธ้ ูปเทียนไปที่วดั เพื่อร่วมประกอบพิธีเวยี นเทียนรอบ พระอโุ บสถ เสร็จแลว้ ทาวตั รสวดมนตฟ์ ังเทศน์

Vesak Day • คาวา่ “วสิ าขะ” เป็นภาษาบาลี แปลวา่ “เดือน ๖” ภาษาสนั สกฤตเรียกวา่ “ไวศาขะ” • วสิ าขบูชา คือ การบูชาในเดือนหก ชาวศรีลงั กา เรียกวา่ “เวสคั ” หรือ “วี สคั ” (Vesak) สหประชาชาติใชค้ าวา่ “Vesak” ตามชาวศรีลงั กา ซ่ึงไดม้ ีการ เฉลิมฉลองวนั วสิ าขบูชามานานแลว้ ก่อนประเทศไทย • สาหรับประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ จะเฉลิมฉลองวนั วสิ าขบูชาในวนั เพญ็ กลางเดือนหก แตใ่ นประเทศท่ีนบั ถือพระพุทธศาสนาฝ่ ายมหายาน เช่น ญ่ีป่ ุน ไดก้ าหนดใหว้ นั วสิ าขบูชาตรงกบั วนั ที่ ๘ เมษายนของทุกปี และ พระพทุ ธศาสนาบางนิกายในบางประเทศก็ไมไ่ ดก้ าหนดวนั ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ของพระพทุ ธเจา้ เป็นวนั เดียวกนั ดว้ ย

กำรปฏิบัตติ นในวนั วสิ ำขบูชำ รอบแรก นึกถึง พระพทุ ธคุณ • นาดอกไม้ ธูปเทียนไปบูชาตามวดั รอบสอง นึกถึง พระธรรมคุณ และร่วมกนั กล่าวคาบูชาพระตามผนู้ า รอบสาม นึกถึง พระสงั ฆคุณ เมื่อจบคาบูชาพระแลว้ กเ็ ดินเวยี นขวา ประทกั ษิณพระสถูป หรือพระปฏิมา ๓ รอบ เรียกวา่ “เดินเวยี นเทียน” • ฟังพระสวดมนตแ์ ละฟังเทศนใ์ น พระอโุ บสถ เรื่องท่ีพระเทศน์จะเป็น เร่ืองเก่ียวกบั ประวตั ิของพระพุทธเจา้

ประเพณที ี่นยิ มปฏิบตั ใิ นวนั วสิ ำขบูชำ

วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั บางคร้ังเรียกวนั พระเป็น ๒ อยา่ ง คือ วนั ธรรมสวนะ • วนั พระเลก็ ไดแ้ ก่ วนั ข้ึนและ วนั ธรรมสวนะ หมายถึง วนั กาหนด วนั แรม ๘ ค่า ประชุมฟังธรรม หรือเรียกวา่ “วนั พระ” ซ่ึงกาหนดไวเ้ ดือนละ ๔ วนั ไดแ้ ก่ • วนั พระใหญ่ ไดแ้ ก่ วนั ข้ึน ๑๕ ค่า • วนั ข้ึน ๘ ค่า และวนั แรม ๑๔ ค่า (ในเดือนขาด) • วนั ข้ึน ๑๕ ค่า หรือ ๑๕ ค่า (ในเดือนเตม็ ) • วนั แรม ๘ ค่า • วนั แรม ๑๔ ค่า หรือ ๑๕ ค่า

กำรปฏิบตั ใิ นวนั ธรรมสวนะ

หลกั ที่ควรปฏบิ ัตใิ นกำรฟังธรรม

ผลของกำรฟังธรรม

วนั เข้ำพรรษำ • วนั เขา้ พรรษา คือ วนั ที่พระสงฆอ์ ธิษฐานวา่ จะอยปู่ ระจาในอาวาสตลอด ๓ เดือน โดย ไม่ไปแรมคืนในท่ีอื่น ตรงกบั วนั แรม ๑ ค่า เดือน ๘ คือ วนั ถดั จากวนั อาสาฬหบูชา ถา้ ปี ใดมีอธิกมาสก็เล่ือนเป็นวนั แรม ๑ ค่า เดือน ๘ หลงั • พทุ ธศาสนิกชนชาวไทยไดเ้ ริ่มบาเพญ็ กศุ ลเน่ืองในเทศกาลเขา้ พรรษามาต้งั แต่ สมยั สุโขทยั ดงั ขอ้ ความในศิลาจารึกพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชวา่ “พ่อขนุ รามคาแหงเจา้ เมืองสุโขทยั น้ี ท้งั ชาวแมช่ าวเจา้ ท้งั ท่วยป่ัวท่วยนาง ลกู เจา้ ลูกขนุ ท้งั สิ้นท้งั หลายท้งั หญิงท้งั ชาย ฝงู ท่วยมีศรัทธาในพทุ ธศาสน์ มกั ทรงศีลเมื่อ พรรษาทุกคน”

กจิ สำคญั ที่พทุ ธศำสนกิ ชนบำเพญ็ ในวนั เข้ำพรรษำ

ประเพณแี ห่เทียนพรรษำ • ประเพณีแห่เทียนพรรษาเกิดจากความจาเป็นที่ใน สมยั ก่อนยงั ไมม่ ีไฟฟ้าใช้ เม่ือพระสงฆม์ าจาพรรษา รวมกนั มากๆ ก็จาเป็นตอ้ งปฏิบตั ิสมณกิจ เช่น ทาวตั ร สวดมนตต์ อนเชา้ มืดและตอนพลบค่า ศึกษาพระปริยตั ิ ธรรม ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีตอ้ งการแสงสวา่ ง โดยเฉพาะ เทียนที่พระสงฆจ์ ุดบูชาพระรัตนตรัยตอ้ งสวา่ ง • พทุ ธศาสนิกชนจึงนิยมหล่อเทียนตน้ ใหญ่ไปถวาย พระภิกษใุ นวดั ใกลๆ้ บา้ นเป็นพุทธบูชา เพื่อใหส้ ามารถ จุดอยไู่ ดต้ ลอดเวลา ๓ เดือน เทียนดงั กล่าวเรียกวา่ “เทียนจานาพรรษา” โดยมีขบวนแห่กนั อยา่ งสนุกสนาน เรียกวา่ “ประเพณีแห่เทียนจานาพรรษา”

ประเพณแี ห่เทียนจำนำพรรษำในปัจจุบนั ปัจจุบนั ยงั คงถือปฏิบตั ิกนั อยทู่ ว่ั ไปในบางจงั หวดั เช่น อบุ ลราชธานี ถือวา่ การแห่ เทียนจานาพรรษาเป็นประเพณีเด่นของจงั หวดั มีการจดั ประกวดแข่งขนั การประดบั ตกแตง่ ตน้ เทียนใหญ่ๆ แลว้ แห่แหนไปถวายตามวดั ต่างๆ

ประเพณถี วำยผ้ำอำบนำ้ ฝน ผา้ อาบน้าฝน คือ ผา้ อาบน้า ที่ถวายแด่พระภิกษุสงฆก์ ่อนเขา้ พรรษา ผา้ อาบน้าฝนเทียบไดก้ บั ผา้ ขาวมา้ ของ ชาวบา้ น ซ่ึงการถวายผา้ อาบน้าฝนน้ี เป็นประเพณีที่มีมาต้งั แตค่ ร้ังสมยั พุทธกาล การถวายผา้ อาบน้าฝนไมม่ ีกาหนดแน่นอนวา่ ตอ้ งถวายวนั ไหน เพียงแตใ่ ห้ อยใู่ นระยะ ๑ เดือน ก่อนเขา้ พรรษา การถวายผา้ อาบน้าฝนของวดั ตา่ งๆ จึงไม่ตรงกนั

กำรประกอบพธิ ีถวำยผ้ำอำบนำ้ ฝน

คำถวำยผ้ำอำบนำ้ ฝน • อิมานิ มย ภนฺเต, วสฺสิกสาฏิกานิ, ภิกขสุ งฺฆสฺส โอโณ ชยาม, สาธุ โน ภนฺเต ภิกฺขุ สงฺโฆ, อิมานิ, วสฺสิกสาฏิ คาอ่าน กานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหาก, ทีฆรตฺต หิตาย สุขาย คาแปล • ขา้ แต่พระสงฆผ์ เู้ จริญ ขา้ พเจา้ ท้งั หลายขอนอ้ มถวาย ผา้ อาบน้าฝนเหลา่ น้ีแด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆจ์ งรับผา้ อาบน้าฝนเหล่าน้ีของขา้ พเจา้ ท้งั หลาย เพ่ือประโยชน์ และความสุขแก่ขา้ พเจา้ ท้งั หลายตลอดกาลนานเทอญ



วนั ออกพรรษำ • วนั ออกพรรษา คือ วนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ พุทธศาสนิกชนจะร่วมกนั ทาบุญ ตกั บาตรและฟังเทศน์ เรียกวา่ “ทาบุญออกพรรษา” หรือเรียกวา่ “วนั ปวารณา” • วนั น้ีพระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตใหพ้ ระสงฆท์ าปวารณาแทน ไมต่ อ้ งสวดปาฏิโมกข์ • ในวนั น้ีถือกนั วา่ เป็นวนั คลา้ ยวนั ท่ีพระพทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ ลงจากเทวโลก (ยอ่ พุทธศาสนิกชนจะเตรียมอาหารไปตกั บาตร เรียกวา่ “ตกั บาตรเทโว” มาจากคาวา่ “เทโวโรหณะ”) • เสร็จจากการตกั บาตรพทุ ธศาสนิกชนกจ็ ะไปฟังธรรมและรักษาศีลอุโบสถ • ประเพณีอนั เน่ืองมาจากการออกพรรษา คือ การทอดกฐิน การถวายผา้ จานาพรรษา และการเทศน์มหาชาติ

กำรทอดกฐิน • คาวา่ “กฐิน” แปลวา่ “สะดึง” สะดึง คือ กรอบไมส้ าหรับขึงผา้ ผา้ กฐิน ก็คือ ผา้ ที่ทาสาเร็จข้ึนไดเ้ พราะอาศยั สะดึง เม่ือสาเร็จแลว้ ก็นาไปทอด คือ วางแด่ภิกษุผู้ อยจู่ าพรรษาตลอด ๓ เดือน เรียกวา่ “ทอดกฐิน” • ดงั น้นั การทอดกฐิน คือ การนาผา้ กฐินไปวางตอ่ หนา้ พระสงฆอ์ ยา่ งนอ้ ย ๕ รูป โดยไมไ่ ดต้ ้งั ใจถวายแก่รูปใดรูปหน่ึง แลว้ แต่พระท่านจะมอบหมายใหก้ นั เอง • ตามความหมายของพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน คาวา่ “กฐิน” หมายถึง ผา้ ท่ีถวายพระซ่ึงจานาพรรษาแลว้ • ผา้ ที่นาไปทอดกฐินตอ้ งมีขนาดพอสาหรับการตดั เยบ็ เป็นจีวร สบง หรือสงั ฆาฏิ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง แตป่ ัจจุบนั นิยมตดั เยบ็ สาเร็จรูปเพ่ือความสะดวก

คำถวำยผ้ำกฐิน • อิม ภนฺเต สปริวาร กฐินทุสฺส สงฺฆสฺส โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต สงฺโฆ, อิม สปริวาร กฐินทุสฺส, คาอ่าน ปฏิคฺคณฺหาตุ, ปฏิคฺคเหตฺวา จ, อิมินา ทุสฺเสน กฐน อตฺถรตุ, อมฺหาก ทีฆรตฺต หิตาย สุขาย คาแปล • ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จริญ ขา้ พเจา้ ท้งั หลายขอนอ้ มถวาย ผา้ กฐินกบั ผา้ บริวารน้ีแด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆจ์ งรับ ผา้ กฐิน กบั ท้งั บริวารน้ี ของขา้ พเจา้ ท้งั หลาย คร้ันรับ แลว้ จงกรานกฐิน ดว้ ยผา้ น้ีเพื่อประโยชน์เก้ือกลู เพ่ือ ความสุขแก่ขา้ พเจา้ ท้งั หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ



กำรถวำยผ้ำจำนำพรรษำ • ผา้ จานาพรรษา คือ ผา้ ที่พระภิกษุจะไดร้ ับต่อเม่ือจาพรรษา แลว้ กาหนดเวลาถวาย ผา้ จานาพรรษาต้งั แต่ แรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ จนถึงกลางเดือน ๔ เป็นเวลา ๕ เดือน • ผา้ ท่ีจะนาไปถวายไมจ่ ากดั วา่ จะเป็นสบง จีวร หรือผา้ ขาว อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงแลว้ แตศ่ รัทธา บางทีกถ็ วายไทยทานอยา่ ง อ่ืนดว้ ย • เมื่อถึงกาหนดนดั หมายแลว้ ผถู้ วายกน็ า ผา้ และไทยทาน ตา่ งๆ ไปพร้อมกนั ณ ท่ี ที่จดั ไว้ ผเู้ ป็นหวั หนา้ ก็กลา่ วคา ถวาย

คำถวำยผ้ำจำนำพรรษำ คาอ่าน • อิมานิ มย ภนฺเต, วสฺสาวาสิกจีวรานิ, สปริวารานิ ภิกฺขสุ งฺฆสฺส โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต ภิกฺขสุ งฺโฆ, อิมานิ วสฺสาวาสิกจีวรานิ, สปริวารานิ ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหาก ทีฆรตฺต หิตาย สุขาย คาแปล • ขา้ แต่พระสงฆผ์ เู้ จริญ ขา้ พเจา้ ท้งั หลาย ขอนอ้ มถวาย ผา้ จานาพรรษาเหล่าน้ีแด่พระภิกษสุ งฆ์ ขอพระสงฆ์ จงรับผา้ จานาพรรษาเหล่าน้ี เพื่อประโยชนแ์ ละความสุข แก่ขา้ พเจา้ ท้งั หลาย ตลอดกาลนานเทอญ

กำรทอดผ้ำป่ ำ • ผา้ ป่ า แต่เดิมหมายถึง ผา้ ที่ทิ้งอยใู่ นป่ าไมม่ ีเจา้ ของ แตป่ ัจจุบนั หมายถึง ผา้ ท่ีสมมติวา่ ตกหรือทิ้งอยใู่ นป่ าหรือป่ าชา้ • ในสมยั พทุ ธกาลพระภิกษุตอ้ งเกบ็ ผา้ ที่เขาทิ้งแลว้ เช่น ผา้ บงั สุกลุ (ผา้ เป้ื อนฝ่ นุ ) ผา้ ห่อศพ เป็นตน้ แลว้ นามาตดั เยบ็ ยอ้ ม ทาเป็นจีวร สบง หรือสงั ฆาฏิ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง • เม่ือชาวบา้ นเห็นความลาบากของพระสงฆ์ จึงไดน้ าผา้ ไปทอดหรือวาง ทิ้งไวต้ ามท่ีต่างๆ เช่น ในป่ า ป่ าชา้ หรือขา้ งทางเดิน เพื่อใหพ้ ระภิกษมุ า พบ จึงเป็นท่ีมาของพิธีการทอดผา้ ป่ า • การทอดผา้ ป่ านิยมทาคูก่ บั การทอดกฐิน คือ ทอดตอ่ จากฤดูทอดกฐิน ในเดือน ๑๒ ขา้ งแรม การทอดผา้ ป่ าจดั เป็นสงั ฆทาน ไม่เจาะจงภิกษรุ ูป ใดรูปหน่ึง จะทอดเป็นส่วนตวั หรือรวมกนั เป็นผา้ ป่ าสามคั คีก็ได้

คำถวำยผ้ำป่ ำ • อิมานิ มย ภนฺเต ปสุสุกลุ จีวรานิ สปริวารานิ ภิกฺขสุ งฺฆสฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต ภิกฺขสุ งฺโฆ คาอ่าน เอตานิ ปสุกูลจีวรานิ สปริวารานิ ปฏิคฺคณฺหาตุ อมฺหาก ทีฆรตฺต หิตาย สุขาย คาแปล • ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จริญ ขา้ พเจา้ ท้งั หลายขอนอ้ มถวาย ผา้ บงั สุกลุ จีวรพร้อมดว้ ยของบริวารเหล่าน้ีแด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆจ์ งรับผา้ บงั สุกลุ จีวร พร้อมดว้ ยของ บริวารเหลา่ น้ีของขา้ พเจา้ ท้งั หลาย เพ่ือประโยชนแ์ ละ ความสุขแก่ขา้ พเจา้ ท้งั หลาย ตลอดกาลนานเทอญ

ประเพณงี ำนเทศน์มหำชำติ เทศนม์ หาชาติ คือ การเทศนาเวสสนั ดรชาดก เป็นบุญพิธีท่ีนิยมจดั ใหม้ ีหลงั ฤดูทอดกฐิน ผา่ นไปแลว้ จนตลอดฤดูหนาว (ประมาณเดือน ๕ ตอ่ เดือน ๖) โดยจะจดั วนั ใดก็ได้ ปกตินิยม จดั เป็น ๒ วนั คือ วนั เทศน์เวสสนั ดรชาดกท้งั ๑๓ กณั ฑว์ นั หน่ึง และวนั เทศนจ์ ตุราริยสจั จกถา ทา้ ยเวสสนั ดรชาดกอีกวนั หน่ึง

ตวั อย่ำงประเพณเี ทศน์มหำชำติ • ภาคอีสาน ประเพณีเทศน์มหาชาติมีความ ยงิ่ ใหญ่และสาคญั จดั ข้ึนประมาณเดือน ๔ เรียกวา่ “บุญผะเหวด” • ภาคเหนือ มีประเพณีสร้างหลาบเงินหรือ แผน่ เงินแกะลาย แขวนหอ้ ยรอบฉตั ร ถวาย เป็นเครื่องขนั ธ์ต้งั ธรรมหลวงในงาน • ภาคใต้ เป็นประเพณีสวดดา้ น ซ่ึงคลา้ ยกบั การสวดโอเ้ อว้ หิ ารรายท่ีวดั พระศรีรัตน ศาสดารามในกรุงเทพฯ

ระเบียบพธิ ีในกำรเทศน์มหำชำติ • ตกแต่งบริเวณพิธีใหม้ ีบรรยากาศคลา้ ยอยใู่ นป่ าตามทอ้ งเร่ืองเวสสนั ดรชาดก แลว้ นา ตน้ กลว้ ย ออ้ ย และก่ิงไมม้ าผกู ตามเสา และรอบๆ ธรรมาสนใ์ หด้ ูคร้ึม มีการประดบั ธง ฉตั ร และราชวตั ิ ตามสมควร • ต้งั ขนั สาครใหญ่หรืออ่างใหญ่ใส่น้าสะอาดสาหรับปักเทียนบูชาประจากณั ฑใ์ นระหวา่ ง พระเทศน์ น้าในภาชนะน้ีเมื่อเสร็จพิธีแลว้ ถือวา่ เป็นน้ามนตท์ ่ีศกั ด์ิสิทธ์ิ ภาชนะน้ีใหต้ ้งั ไว้ หนา้ ธรรมาสน์กลางบริเวณพิธี • เตรียมเทียนเลก็ ๆ จานวน ๑,๐๐๐ เล่ม ตามจานวนคาถา แยกเป็นมดั ๆ มดั หน่ึงใหม้ ีจานวน เท่าคาถาของกณั ฑห์ น่ึงๆ ซ่ึงไม่เท่ากนั ทุกกณั ฑ์ แลว้ ทาเครื่องหมายใหร้ ู้วา่ มดั ไหนจานวน เท่าใด สาหรับบูชากณั ฑใ์ ด เม่ือเทศนก์ ณั ฑใ์ ดจะไดห้ ยบิ มดั น้นั ออกจุดบูชาติดไวร้ อบๆ ภาชนะน้าตอ่ กนั ไปจนจบกณั ฑก์ ใ็ หห้ มดมดั พอดี ครบ ๑๓ กณั ฑก์ ็ ๑,๐๐๐ เลม่ การจุด เทียนหรือปักธงบูชากณั ฑน์ ้ีเป็นหนา้ ท่ีของเจา้ ภาพผรู้ ับกณั ฑน์ ้นั ๆ

วนั เทโวโรหณะ วนั เทโวโรหณะ หมายถึง วนั ทาบุญตกั บาตรในเทศกาลออกพรรษา เทโวโรหณะ แปลวา่ ลงมาจากสวรรค์ หรือลงมาจากเทวโลก มีประวตั ิเล่าวา่ “พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ข้ึนไปจาพรรษาบนสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์ ในวนั แรม 1 ค่า เดือนอาสาฬหะ หรือเดือน 8 เพื่อเทศนาพระอภิธรรม โปรดพระพุทธมารดาหน่ึงพรรษา คร้ันถึงวนั แรม 1 ค่า เดือน 11 หรือหลงั วนั ออกพรรษา 1 วนั จึงไดเ้ สดจ็ ลงมายงั โลกมนุษย”์ พุทธบริษทั ตา่ งพากนั ไปเฝ้าพระพุทธองคเ์ พื่อใส่บาตรกนั ดงั น้นั เม่ือถึงวนั แรม 1 ค่า เดือน 11 พุทธศาสนิกชนจึงทาบุญตกั บาตรให้เหมือนใน คร้ังน้นั เรียกวา่ “ตกั บาตรเทโวโรหณะ” หรือ “ตกั บาตรเทโว”

๒.ศำสนพธิ ี เป็นพทุ ธศาสศนาิกสชนนพธิแีบค่งือไพดเธิ้ ปีท็นาบ๒ญุ ปหรระือเภแทบบคือแผนการทาบุญท่เี ป็นประเพณีในชีวติ ของคนทวั่ ไปท่ี ทำบุญงำนมงคล ทำบุญงำนอวมงคล

กำรทำบุญงำนมงคลและงำนอวมงคล

พธิ ีทาบุญงานมงคลและงานอวมงคล • งานหลกั ของการทาบุญ คือ การเล้ียงพระ เรียกวา่ “การทาบุญเล้ียงพระ” นิยมทากนั ท้งั งานมงคลและงานอวมงคล • เจา้ ภาพมกั นิมนตพ์ ระมาเจริญหรือสวด พระ พุทธมนตใ์ นตอนเยน็ เรียกวา่ “สวดมนตเ์ ยน็ ” • เชา้ วนั รุ่งข้ึนหรือเวลาเพลก็ถวายภตั ตาหารแด่ พระสงฆท์ ่ีเจริญหรือสวดพระพทุ ธมนตเ์ ม่ือ เยน็ วาน เรียกวา่ “เล้ียงพระเชา้ หรือ เล้ียงพระ เพล” หรือบางทีเรียก “ฉนั เชา้ หรือฉนั เพล”

การเตรียมศาสนพธิ ี ในงานทาบุญงานมงคลและงานอวมงคล เจา้ ภาพตอ้ งเตรียมส่ิงของ สถานท่ี กิจการ และรู้ระเบียบพิธีปฏิบตั ิต่างๆ ไวล้ ว่ งหนา้ ข้นั ตอนและพิธีการเหล่าน้ีแต่ละทอ้ งถ่ิน จะมีความเหมือนและแตกตา่ งกนั บางประการ

กำรนิมนต์พระภิกษุ งำนมงคล การนิมนตพ์ ระสงฆม์ าเจริญพระพุทธมนตน์ ิยมกาหนดจานวน คือ ไม่ต่ากวา่ ๕ รูป อาจเป็น ๗ รูป หรือ ๙ รูป ไม่นิยมนิมนตเ์ ป็น จานวนคู่ เวน้ แต่งานมงคลสมรส มกั นิยมนิมนตจ์ านวนคู่ ในการ อาราธนาใชค้ าวา่ “ขออาราธนาเจริญพระพุทธมนต”์ งำนอวมงคล นิยมอาราธนาพระสงฆจ์ านวน ๘ รูป หรือ ๑๐ รูป หรือมากกวา่ น้นั แลว้ แตก่ รณี แต่ตอ้ งเป็นจานวนคู่ ในการอาราธนาใชค้ าวา่ “ขออาราธนาสวดพระพทุ ธมนต”์

กำรเตรียมท่ตี ้งั พระพทุ ธรูปและเครื่องบูชำ • ท่ีต้งั พระพุทธรูปพร้อมท้งั เครื่องบูชา เรียกวา่ “โตะ๊ บูชา” ปัจจุบนั นิยมใชเ้ ป็น “โตะ๊ หมบู่ ูชา” • โตะ๊ หม่บู ูชาประกอบดว้ ย โตะ๊ ๕ ตวั หรือ ๗ ตวั หรือ ๙ ตวั เรียกชื่อตาม จานวนโตะ๊ วา่ โตะ๊ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หรือหมู่ ๙ • เครื่องบูชาควรมีแจกนั ประดบั ดอกไม้ ๑ คู่ วาง ๒ ขา้ งพระพทุ ธรูป ต้งั กระถางธูป ตรงหนา้ พระพทุ ธรูปกบั เชิงเทียน ๑ คู่ ต้งั ตรงกบั แจกนั

กำรวงด้ำยด้วยสำยสิญจน์ สายสิญจน์ แปลวา่ สายรดน้า ไดแ้ ก่ สายท่ีทาดว้ ยดา้ ยดิบ โดยจบั เสน้ ดา้ ยใน เขด็ ชกั สาวออกมาเป็นห่วงๆ ใหย้ าวตอ่ กนั เป็นสายเดียว จากดา้ ยในเขด็ เสน้ เดียวจบั ออกมาคร้ังแรกเป็น 3 เสน้ มว้ นเป็นกลมุ่ ไว้ ในงานมงคลทุกประเภท นิยมใชส้ ายสิญจน์ 9 เสน้ • การวงสายสิญจน์ใหว้ งรอบร้ัวบา้ น ถา้ ไม่มี ร้ัวหรือมีแต่กวา้ งเกิน หรือมีส่ิงปลูกสร้าง อื่นที่ไม่เก่ียวขอ้ งกบั พิธีอยภู่ ายในร้ัว เดียวกนั ก็ใหว้ งรอบเฉพาะอาคารท่ี ประกอบพิธี • ในงานอวมงคลไม่มีการวงดา้ ยสายสิญจน์ แต่มีสายโยงหรือภูษาโยงตอ่ จากศพเพื่อใช้ บงั สุกุลในงานทาบุญหนา้ ศพ สายโยงน้ี กใ็ ชด้ า้ ยสายสิญจนน์ น่ั เอง

กำรปลู ำดอำสนะ สาหรับพระสงฆน์ ิยมทากนั ๒ วธิ ี คือ ยกพ้นื อาสนะใหส้ ูงข้ึน โดยใชเ้ ตียงหรือมา้ วางต่อกนั ใหย้ าว พอกบั จานวนพระสงฆ์ และนิยมปูผา้ ขาวลาดอาสนส์ งฆ์ ปูลาดอาสนะบนพ้นื ธรรมดา จะใชเ้ ส่ือหรือพรมกไ็ ด้ แต่ อยา่ ใหอ้ าสนะของพระสงฆก์ บั อาสนะของผรู้ ่วมพธิ ีเป็นอนั เดียวกนั ตอ้ งปูแยกกนั

กำรเตรียมเคร่ืองรับรอง • เคร่ืองรับรองที่ควรจดั เตรียมสาหรับ พระสงฆ์ ไดแ้ ก่ น้าเยน็ กระโถน (ไม่ ควรจดั หมากพลู บุหรี่ รับรอง พระสงฆ)์ • การวางเครื่องรับรองใหว้ างทางขวา ของพระรูปน้นั การวางกระโถนให้ วางขา้ งในสุด เพราะเป็นสิ่งที่ไมต่ อ้ ง ประเคน

กำรจุดธูปเทยี น เจา้ ภาพจุดเทียนเล่มที่อยดู่ า้ นซา้ ยของเรา (ดา้ นขวาของพระพทุ ธรูป) แลว้ จุดเทียน อีกดา้ น จากน้นั ใชธ้ ูป ๓ ดอก จุดตอ่ จากเทียน แลว้ ปักในกระถางธูปทีละดอก ขณะท่ี เจา้ ภาพจุดธูปทุกคนควรประนมมือข้ึน

ข้อปฏิบตั ใิ นวนั ทำบุญเลยี้ งพระ

กำรถวำยข้ำวพระพทุ ธ การถวายขา้ วพระพุทธ เป็นการถวายขา้ วพระพทุ ธเจา้ โดยการถวาย พระพุทธรูป มีข้นั ตอน ดงั น้ี • จุดธูป ๓ ดอก ปักหนา้ กระถางธูปหนา้ โตะ๊ บูชา • นง่ั คุกเข่าประนมมือหนา้ ที่ต้งั ขา้ วพระพุทธ กล่าวนะโม ๓ จบ • วา่ คาถวาย “อิม สูปพฺยญฺชนสมฺปนฺน สาลีน โอทน สอทุ ก วร พุทฺธสฺส ปูเชมิ” จบ แลว้ กราบ ๓ คร้ัง • ถวายภตั ตาหารแด่พระสงฆ์ เมื่อพระสงฆฉ์ นั เสร็จและอนุโมทนาเสร็จจนกลบั แลว้ ก็ใหล้ าขา้ วพระพทุ ธมารับประทาน โดยคุกเขา่ หนา้ สารับที่โตะ๊ บูชา กราบ ๓ คร้ัง • กลา่ วคาวา่ “เสส มงฺคล ยาจามิ” หรือ “เสส มงฺคลา ยาจามิ” แลว้ ไหว้ และยกขา้ ว พระพทุ ธออกไปได้

กำรถวำยไทยธรรม เคร่ืองไทยธรรม คือ วตั ถุสิ่งของต่างๆ ท่ีสมควรถวายแด่พระสงฆ์ ซ่ึงไดแ้ ก่ปัจจยั ๔ คือ เครื่องนุ่งห่ม อาหารคาวหวาน เครื่องอปุ กรณ์ ทอ่ี ยอู่ าศยั และยารักษาโรค ซ่ึงสามารถถวายไดต้ าม กาหนดเวลา ดงั น้ี

ข้ันตอนกำรถวำยเครื่องไทยธรรม ถวายหลงั จากพระสงฆฉ์ นั เสร็จแลว้ ของที่จะถวาย กใ็ หย้ กเรียงไวต้ รงหนา้ พระสงฆท์ ุกรูป เมื่อเจา้ ภาพประเคนไปหน่ึงหรือสององคแ์ ลว้ อาจมอบใหญ้ าติหรือแขกท่ีร่วมงานประเคนตอ่ ก็ได้ ในงานอวมงคล หลงั จากพระฉนั เสร็จนิยมใหม้ ีการ บงั สุกุลก่อนแลว้ จึงถวาย เม่ือพระสงฆอ์ นโุ มทนา แลว้ กใ็ หก้ รวดน้าอุทิศส่วนกุศลต่อไป

กำรกรวดนำ้ • การกรวดน้าเป็นการอุทิศส่วนกุศลใหแ้ ก่ ผทู้ ี่ล่วงลบั ไปแลว้ โดยเป็นการแสดง ความกตญั ญูกตเวทีของผทู้ ี่ยงั มีชีวติ อยตู่ อ่ ผมู้ ีพระคุณท่ีลว่ งลบั และเป็นการ แสดงความเมตตาแก่ผลู้ ่วงลบั โดยผทู้ ่ียงั มีชีวติ อยอู่ ุทิศส่วนกุศลไปให้ • วธิ ีกรวดน้าจะกรวดน้าลงบนพ้ืนดิน ท่ี สะอาด หรือกรวดน้าลงในภาชนะอื่น แลว้ ไปเทลงบนพ้ืนดินก็ได้

ข้ันตอนกำรกรวดนำ้ เมื่อพระสงฆเ์ ริ่มกลา่ วอนุโมทนาวา่ “ยถา วาริ วหา...” ใหเ้ จา้ ภาพเร่ิมกรวดน้า เมื่อพระเร่ิมสวดบทอนุโมทนาที่เริ่มดว้ ยคาวา่ “สพั พีติโย...” ควรรินน้าท่ีกรวดใหห้ มด และประนม มือรับอนุโมทนา เม่ือพระสวดจบแลว้ ใหน้ าน้าที่กรวดไปเทนอกอาคาร เทลงบนพ้ืนดินที่สะอาดหรือที่โคนตน้ ไมใ้ หญ่

คำกรวดนำ้ คากรวดน้ามีอยู่ ๓ แบบ คือ แบบส้นั แบบยอ่ และแบบยาว แตค่ ากรวดน้าท่ีนิยมกนั ทวั่ ไป คือ คากรวดน้าแบบส้นั ซ่ึงมีดงั น้ี คาอ่าน • อิท เม ญาตีน โหตุ, สุขิตา โหนฺตุ ญาตโย คาแปล • บุญน้ีจงสาเร็จแก่ญาติท้งั หลายของขา้ พเจา้ เถิด ขอญาติท้งั หลายจงเป็นสุขๆ เถิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook