Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิวัฒนาการอาเซียน

วิวัฒนาการอาเซียน

Published by nooangkhana, 2022-02-07 02:02:04

Description: วิวัฒนาการอาเซียน

Search

Read the Text Version

วิวฒั นาการและกลไกการดาเนินงาน ของอาเซียน

การประชมุ สดุ ยอดอาเซียนครงั้ แรกท่ีประเทศอินโดนีเซีย ช่วงท่ี 1 ในช่วง พ.ศ. 2510-2519 เป็นช่วงของการ 23-24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2519 ปรบั เปล่ียนทศั นคติเพ่ือสรา้ งความเป็นเอกภาพ ความ รว่ มมอื จงึ เป็นการพฒั นาด้านเศรษฐกิจและสงั คม วฒั นธรรม และกลไกการดาเนินงานหลกั คือ การ ประชมุ ประจาปี ของรฐั มนตรีอาเซียน

ช่วงท่ี 2 พ.ศ. 2520-2529 เป็นชว่ งของการ วิวฒั นาการ อาเซียน ขยายความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี น โดย อาเซยี นไดข้ ยายความสมั พนั ธก์ บั ประเทศค่เู จรจา ภายนอกภมู ภิ าคเพมิ่ มากขน้ึ ไดแ้ ก่ ประเทศ แคนาดา และสหรฐั อเมรกิ า ใน พ.ศ. 2520 โดย เรม่ิ ตน้ จากความรว่ มมอื ดา้ นการพฒั นา ตอ่ มาจงึ ขยายเป็นความสมั พนั ธท์ างดา้ นเศรษฐกจิ

วิวฒั นาการอาเซียน ช่วงท่ี 3 พ.ศ. 2530-2542 อาเซยี นไดข้ ยายการรบั สมาชกิ ช่วงที่ 4 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2543-ปัจจบุ นั เป็นชว่ งของการ จนครบ 10 ประเทศ มกี ารกอ่ ตงั้ เขตการคา้ เสรอี าเซยี นขน้ึ ปรบั เปลย่ี นองคก์ รทม่ี อี ยใู่ หส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มท่ี และสถาปนาความรว่ มมอื กบั ประเทศคเู่ จรจาไดอ้ ยา่ ง เปลย่ี นแปลงโดยเฉพาะการรวมตวั เป็นประชาคมอาเซยี น กวา้ งขวาง เพอ่ื รว่ มมอื กนั รบั มอื กบั ประเดน็ ทา้ ทายใหมๆ่ ภายใน พ.ศ. 2558 โดยมกี ารจดั ทากฎบตั รอาเซยี น เชน่ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นโรคเอดส์ ในชว่ งดงั กล่าวน้ี (ASEAN Charter) เพอ่ื เป็นกรอบกฎหมายและปรบั ปรงุ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตร้ วมทงั้ ประเทศคู่เจรจา โครงสรา้ งการทางานและกลไกของอาเซยี นใหม้ ี ประสบวกิ ฤตการณ์ทางการเงนิ และเศรษฐกจิ รวมทงั้ ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ กระแสโลกาภวิ ฒั น์ ทาใหอ้ าเซยี นกาหนดวสิ ยั ทศั น์อาเซยี น พ.ศ. 2563 (ASEAN Vision 2020)

กลไกการดาเนินงานของอาเซยี นนบั ตงั้ แต่การกอ่ ตงั้ ขน้ึ ใน พ.ศ. 2510 อาเซยี นมกี ลไกการดาเนินงานผา่ นประชุมหลายระดบั และการดาเนินงานในหน่วยงาน ของอาเซยี น ภายใตก้ ารประสานงานของสานกั งานเลขาธกิ ารอาเซยี น ดงั น้ี

โครงสร้างและกลไกการดาเนิ นงานของอาเซียน 1. การประชุมสดุ ยอดอาเซียน(ASEAN Summit) เป็นองคก์ รสงู สดุ ของอาเซยี น ถอื เป็นเวที การประชมุ ระดบั สงู สดุ ทผ่ี นู้ าหรอื หวั หน้ารฐั บาลประเทศสมาชกิ ไดร้ ว่ มปรกึ ษาหารอื รว่ มกนั กาหนดนโยบายประกาศเป้าหมาย แนวทางความรว่ มมอื และแผนงานของอาเซยี นในภาพรวม ซง่ึ จะปรากฏเป็นเอกสารต่างๆ เชน่ ปฏญิ ญา(Declaration) อนุสญั ญา(Convention) การประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นถอื เป็นองคก์ รทม่ี อี านาจตดั สนิ ใจสงู สดุ ในอาเซยี น 2. การประชมุ ระดบั รฐั มนตรขี องประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) เป็นองคก์ รระดบั รองจากการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น เป็นการประชมุ รฐั มนตรตี ่างประเทศ (ASEAN Minister’s Meeting : AMM) และการประชมุ รฐั มนตรดี า้ นอ่นื ๆ ซง่ึ จดั ขน้ึ ตามความ จาเป็น และเพอ่ื เรง่ รดั การทางานของคณะกรรมการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

โครงสร้างและกลไกการดาเนิ นงานของอาเซียน 3. การประชมุ ระดบั เจา้ หน้าท่ีผ้อู าวโุ สอาเซียน (Senior Official’s Meeting : SOM) หรอื ระดบั ปลดั กระทรวง เป็นการประชมุ ของเจา้ หน้าทอ่ี าวโุ สทางดา้ นต่างๆ เพอ่ื รว่ มกนั พจิ ารณากาหนดนโยบายการ ดาเนินงาน และตดั สนิ ใจในประเดน็ ตา่ งๆ ภายใตข้ อบเขตความรบั ผดิ ชอบ เพอ่ื ชว่ ยสนบั สนุนการทางานของ รฐั มนตรที ก่ี ากบั งานทร่ี บั ผดิ ชอบ 4. การประชมุ คณะกรรมการ/คณะทางานประจาอาเซียน (ASEAN Standing Committee : ASC) เป็น การประชมุ ระดบั อธบิ ดขี องกรมอาเซยี นของสมาชกิ กบั เลขาธกิ ารอาเซยี น เป็นเวทกี ารพจิ ารณาการ บรหิ ารงานของอาเซยี น เพอ่ื ตดิ ตามความคบื หน้าและเรง่ รดั การดาเนนิ งานตามมตทิ ป่ี ระชมุ สดุ ยอดอาเซยี น และทป่ี ระชมุ ระดบั รฐั มนตรขี องประเทศสมาชกิ อาเซยี น รวมทงั้ แกไ้ ขปัญหาในโครงการความรว่ มมอื ระหวา่ ง กนั

กฎบตั รอาเซียนได้มีข้อกาหนดใหมๆ่ เพือ่ ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งและกลไกการ ดาเนินงานต่างๆ ดงั นี้ 1. กาหนดบทบาทหน้าที่ของท่ีประชุมสดุ ยอด 2. จดั ตงั้ คณะกรรมการและกาหนดบทบาทหน้าที่ อาเซียนในการเป็นผนู้ ากาหนดนโยบาย อย่างชดั เจน ไดแ้ ก่ คณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น ตดั สินใจเรอ่ื งสาคญั ๆ รวมทงั้ กรณที ม่ี กี ารละเมดิ ประกอบดว้ ย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการต่างประเทศ พนั ธกรณีตามบทบญั ญตั อิ ยา่ งรนุ แรง ดาเนินการ ของประเทศสมาชกิ เพอ่ื เตรยี มการประชมุ สดุ ยอดผนู้ า แกไ้ ขสถานการณ์ฉุกเฉินทก่ี ระทบต่ออาเซยี น อาเซยี นและการประสานงานระหวา่ ง 3 เสาหลกั คอื คณะมนตรปี ระชาคมการเมอื งและความมนั่ คงอาเซยี น คณะมนตรปี ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น และคณะมนตรี ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรม

โครงสร้างและกลไกการดาเนิ นงานของอาเซียน 3. กาหนดให้ประเทศสมาชิกแต่งตงั้ ผแู้ ทน ระดบั เอกอคั รราชทตู ประจาอาเซียนไป ประจาที่กรงุ จาการต์ า ประเทศอินโดนีเซีย เป็นคณะผแู้ ทนถาวรประจาอาเซยี นเพอ่ื ทางานรว่ มกนั อยา่ งใกลช้ ดิ 4. กาหนดบทบาทหน้าที่ของเลขาธิการ อาเซียนให้ชดั เจนมากขึน้ รวมทงั้ เพมิ่ อานาจหน้าทข่ี องประธานอาเซยี น

คาถาม 1. การประชมุ รฐั มนตรีอาเซียนหมายถงึ อะไร และสาคญั อย่างไร -เป็นการประชมุ รฐั มนตรตี า่ งประเทศ และการประชมุ รฐั มนตรดี า้ นอน่ื ๆ ซง่ึ จดั ขน้ึ ตามความจาเป็น และเพอ่ื เรง่ รดั การทางานของคณะกรรมการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. การประชมุ คณะกรรมการประจาอาเซียนหมายถึงอะไร และสาคญั อย่างไร -เป็นการประชมุ ระดบั อธบิ ดขี องกรมอาเซยี นของสมาชกิ กบั เลขาธกิ ารอาเซียน เป็นเวทกี ารพจิ ารณาการบรหิ ารงานของอาเซยี น เพอ่ื ตดิ ตามความคบื หน้าและ เรง่ รดั การดาเนนิ งาน รวมทงั้ แกไ้ ขปัญหาในโครงการความรว่ มมอื ระหวา่ งกนั

คาถาม 3. อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศในช่วงวิวฒั นาการใด - อาเซยี นไดข้ ยายการรบั สมาชกิ จนครบ 10 ประเทศ ชว่ งท่ี 3 (พ.ศ. 2542) 4. ASEAN Charter จดั ทาขนึ้ ในช่วงใดของการวิวฒั นาการอาเซียน - ASEAN Charter จดั ทาขน้ึ ในชว่ งท่ี 4 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2543-ปัจจบุ นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook