Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR ปี64 โรงเรียนวัชรวิชญ์

SAR ปี64 โรงเรียนวัชรวิชญ์

Published by Panarat Thongsupan, 2022-07-25 22:42:43

Description: SAR ปี64 โรงเรียนวัชรวิชญ์

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน โรงเรยี นวชั รวิชญ์ เลขท่ี 299 ตาบลทา่ ขนุน อาเภอทองผาภมู ิ จังหวดั กาญจนบุรีรายงานประเมนิ ตนเอง(Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

คำนำ ตามพระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข้เพ่ิมเติม(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 2545 ระบุให้ หน่วยงานต้น สังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและถือว่าการประกัน คุณภาพการศึกษา ต้องดาเนินอย่างต่อเนื่อง โดยจัดทาการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ให้เสนอต่อ หน่วยงานต้นสังกัดและเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพ่ือรอรับการประเมิน ภายนอกรอบ 4 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2564 รายงานการประเมินของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ที่ระบุให้ สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ัง จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนท่ี กาหนดไว้ จัดให้มีการ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการ เพ่ือพัฒนา สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่ หน่วยงาน ต้นสงั กัดหรือหนว่ ยงานทกี่ ากบั ดแู ลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี เอกสารรายงานประจาปีของสถานศึกษาฉบับนี้ ประกอบส่วนสาคัญ คือ บทสรุปของ ผู้บริหาร สถานศึกษา สว่ นที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา สว่ นที่ 3 สรปุ ผล การประเมิน และแนวทางการพัฒนา และสว่ นที่ 4 ภาคผนวก โรงเรียนวัชรวิชญ์ขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงานและผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายทั้งภายในและภายนอก สถานศกึ ษา ที่มีส่วนร่วมในการจัดทาการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ฉบับนี้ และหวัง ว่า เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปี ถัดไป และ เป็น ฐานข้อมูลในการกาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและ เขตพื้นท่ีการศึกษา ตลอดจนเพ่ือประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ 4 เมษายน 2565 รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรียนวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

สำรบัญ คานา บทสรปุ ของผู้บรหิ าร หนา้ สารบัญ ส่วนท่ี 1 ตอนที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน 1 ส่วนที่ 2 ตอนที่ 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง 1 ส่วนท่ี 3 ข้อมลู พ้นื ฐาน 4 8 ภาคผนวก 1. ข้อมลู พนื้ ฐาน 10 2. ขอ้ มูลพืน้ ฐานแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 16 3. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการประจาปีของสถานศึกษา 18 4. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รยี น 14 5. นวตั กรรม/แบบอย่างทดี่ ี (Innovation/Best Practice) 19 6. รางวัลท่ีสถานศกึ ษาไดร้ ับ 20 7. ดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 8. หน่วยงานภายนอกท่โี รงเรียนเข้าร่วมเปน็ สมาชิก 21 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 34 1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน 35 2. สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 36 3. จุดเดน่ 37 4. จุดควรพัฒนา 37 5. แนวทางการพฒั นา 38 6. ความต้องการช่วยเหลือ 7. ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา (ถ้ามี) รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

~1~ สว่ นที่ 1 บทสรปุ ของผูบ้ ริหาร ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพื้นฐาน โรงเรยี นวชั รวชิ ญ์เปน็ โรงเรียนเอกชนขนาดเล็ก รหัสโรงเรียน 1171100036 ที่ตั้งของโรงเรียน 299 หมู่ 1 ตาบลท่าขนุน อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทรศัพท์ 0819042702 , 0852126713 e-mail:watcharawit_299 @hotmail.com ได้รับอนุญาตจัดต้ังเมื่อ วันท่ี 11 พฤษภาคม 2554 เปดิ สอนระดบั ช้นั เตรยี มอนบุ าลถงึ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวนนักเรียนท้ังหมด 87 คน แบ่งเป็นแผนกอนุบาลจานวน 31 คน และแผนกประถมจานวน 56 คน จานวนครูและบุคลากรของ โรงเรยี น จานวน 56 คน (ขอ้ มลู ณ 10 มถิ ุนายน 2563) จานวนครูและบคุ ลากรของโรงเรียน 13 คน ตอนท่ี 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง 1) มาตรฐานการศึกษาระดบั ขน้ั พน้ื ฐาน อยใู่ นระดับ ดีเลิศ ผลการประเมินตนเองจากผลการดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรมต่างๆ ตามแผนพัฒนาการศึกษา ของสถานศึกษาระดับข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2564 และแผนปฏิบัติการประจาปี ส่งผลให้การจัดการศึกษาระดับ ข้ันพน้ื ฐานมคี ุณภาพและประสบผลสาเรจ็ ตามทีโ่ รงเรยี นตง้ั เปา้ หมายไว้ ซ่ึงผลการประเมินสรุปได้ว่า มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการอยู่ในระดับ ดีเลิศ และ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม ทั้งน้ีสถานศึกษามี การจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนอยา่ งหลากหลายจนมีผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนมีพัฒนาการทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียนอยู่ในระดับ ดี และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนอยู่ในระดับ ยอดเยยี่ ม สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไป ตามปัญหาและความ ต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถาน ศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีผล การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเลิศ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและ เขียน การสื่อสารทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้ดี และ มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากาหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังทปี่ รากฏผล ประเมนิ ตามมาตรฐานท่ี 2 ในด้านกระบวนการบริหารจดั การของผู้บริหารสถานศึกษามีผลประเมิน รายมาตรฐานอยู่ในระดบั ดเี ลิศ สถานศึกษามกี ารวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดาเนินงานตามแผนท่ีเกิดจากการ มีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดาเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนาและสอดคล้องกับเป้าหมายการ พัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน และการปรับปรงุ แก้ไขงานใหด้ ีข้นึ อย่างต่อเนือ่ ง ครูจัดกระบวนการเรียนการ สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลประเมินอยู่ในระดับยอดเย่ียม มีการวิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ี เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจาก สภาพจริงในทุก ขั้นตอน สถานศึกษาดาเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็น ขั้นตอน จนเกิดคุณภาพ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

~2~ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลทาให้มผี ลประเมินอยู่ในระดบั ยอดเย่ียม โดยสถานศึกษาให้ความสาคญั กับผู้เก่ียวข้อง ทุกฝา่ ยเพอ่ื เกิดความร่วมมือในการวางระบบ และดาเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี ถงึ แม้ผลการประเมนิ ตนเองมาตรฐานการศึกษาระดับข้ันพ้ืนฐาน อยู่ในระดับ ดีเลิศ แต่มีบางตัวชี้วัดที่ ยงั ลดลงกว่าทกุ ปที ่ีผ่านมาโดยเฉพาะผลการทดสอบระดับชาติ O-NET และ NT ดังน้ันในปีถัดไปโรงเรียนต้องเร่ง ปรับปรงุ และพัฒนาใหด้ ขี ึ้นกวา่ เดมิ 2) หลกั ฐานสนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ 2.1 ผ้เู รยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสาร และการคานวณ เช่น กจิ กรรมรัก การอ่าน โดยพิจารณาจากบนั ทึกรักการอา่ น และแบบประเมินการคิดวิเคราะห์ 2.2 ผ้เู รยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามท่โี รงเรียนกาหนด เชน่ โครงการคุณธรรมนาใจ กจิ กรรมวันสาคัญ กิจกรรมมารยาทไทยและ กิจกรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน 2.3 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม เช่น กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์และกจิ กรรม มือใหมห่ ัดประดิษฐ์ 2.4 ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา เช่นกิจกรรมยกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น 8 กลมุ่ สาระ 2.5 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร เช่นกิจกรรมไอทดี ีมี สาระ 2.6 โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาท่ดี ี เชน่ โครงการพัฒนาระบบ การศึกษา 2.7 โรงเรยี นมีกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ เชน่ โครงการพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3) โรงเรียนมีแผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปให้ได้ระดับคณุ ภาพทด่ี ขี ึน้ กวา่ เดมิ 1 ระดับ 3.1 แผนปฏิบตั งิ านท่ี 1 มาตรฐาน ด้านผ้เู รยี น 3.1.1 ส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการในแต่ละสาระวิชาและมุ่งเน้นการ อ่าน การเขยี น ใช้แบบซ่อมเสริมมาใช้แก้ไขและพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาโดยใช้แบบทดสอบที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษท่ีมีระดับคะแนนดีกว่าเกณฑ์ระดับสถานศึกษากาหนด โดยจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่ม สาระและบูรณการให้เข้ากับการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ โดยหาแบบทดสอบท่ีหลากหลายมีการวัด ประเมนิ ผลอยา่ งต่อเนือ่ ง และนาผลไปปรับปรงุ พฒั นาในปตี ่อไป 3.1.2 โดยจัดเตรยี มแผนและนโยบายส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนภาษาตา่ ง ประเทศใหม้ ีภาษาทส่ี ามเพอื่ ให้บรรลุตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร 3.2 แผนปฏิบัติงานท่ี 2 มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีการบริหารจัดการ โดยส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเพื่อนามาพัฒนาผู้เรียน เช่น กิจกรรมครูมือ อาชีพ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น กจิ กรรมปรับภูมทิ ัศนแ์ ละสง่ิ แวดล้อม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

~3~ 3.3 แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 3 มาตรฐานด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ จัดทากิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อาทิเช่น โครงการพัฒนาใช้สื่อ เทคโนโลยีสหู่ อ้ งเรียนและโครงการการสง่ เสรมิ ใหค้ รูทาแบบการจดั การเรียนรูท้ ี่ทนั สมยั และนาไปใช้จรงิ 4) นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี 4.1 การจัดการเรียนรู้วิชาศิลปะโดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สาหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 4.2 แบบฝึกทักษะคาคลอ้ งจอง ประลองปญั ญา สาหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 4.3 พัฒนาอ่านคล่องเขียนถูกผูกด้วยกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ Aetive Learning 5 ขั้นตอน สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 4) ความโดดเด่นของสถานศึกษา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิการเรียนอยู่ในระดับดีเลิศ โดยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ในระดับช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติเหรียญทองแดงระดับประเทศเป็นระยะเวลา 5 ปี และปีการศึกษา 2561 ไดร้ ับรางวัลเชิดชเู กียรติเหรียญเงิน ระดับประเทศ ได้ประกาศเกียรติคุณอันดับ 2 ในระดับจังหวัด และได้ ประกาศเกยี รตคิ ณุ อันดบั 1 ระดบั อาเภอ โดยผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) สงู กวา่ ระดับประเทศทุกรายวชิ า 5) โรงเรียนไดด้ าเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร สถานศึกษาได้ดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ ารทุกประเดน็ ตวั ชวี้ ัด ยกเวน้ ประเด็นตัวชี้วัดที่ 8 การจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ( ภาษาท่ี สาม ) โดยสถานศึกษาจะได้ดาเนินงานในประเด็นตัวช้ีวัดน้ีใน แผนปฏบิ ัติงานในปีถดั ไป ลงนาม ผอู้ านวยการโรงเรยี นวชั รวชิ ญ์ (นางรตั ตภิ รณ์ ถิ่นวัฒนากูล) วันที่ 4 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2565 รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

~4~ ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลพน้ื ฐาน โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ รหสั 1171100036 ท่ีต้งั 299 หมู่ 1 ตาบลท่าขนุน อาเภอทองผาภมู ิ จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทรศัพท์ 034-599822 โทรสาร 034-599822 e-mail: watcharawit_299 @hotmail.com ได้รับอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2554 เปิดสอนระดับช้ันเตรียม อนุบาลถึงระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวนนกั เรียนทงั้ หมด 87 คน จานวนครแู ละบุคลากรของโรงเรยี น 13 คน ลักษณะผูร้ ับใบอนญุ าต  นิติบคุ คล  บคุ คลธรรมดา  ห้างหนุ้ ส่วนจากัด/บรษิ ัท  มลู นธิ ใิ นพุทธศาสนา/การกศุ ลของวดั  มลู นธิ ิในคริสต์ศาสนา  มูลนธิ ใิ นศาสนาอิสลาม  อ่ืน ๆ (ระบุ)................................. ประเภทโรงเรียน  ประเภทโรงเรยี นในระบบ  สามญั ศึกษา  การกุศลของวัด  การศึกษาพเิ ศษ  การศึกษาสงเคราะห์  ในพระราชูปถมั ภ์  สามัญปกติ  อิสลามควบค่สู ามญั การจดั การเรียนการสอน  ปกติ (สามญั ศึกษา)  English Program รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

~5~ 1.1 จานวนหอ้ งเรยี น/ผูเ้ รยี นจาแนกตามระดับท่ีเปิดสอน ระดับทเ่ี ปดิ สอน จานวนห้องเรยี น จานวนผู้เรียนปกติ จานวนผู้เรยี นท่มี ี รวมจานวน ชาย หญิง ความตอ้ งการ ผ้เู รียน ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ห้องเรียนปกติ ห้องเรียน EP อนบุ าลปที ี่1 พเิ ศษ อนุบาลปีที่2 1- ชาย หญงิ อนุบาลปที ่ี3 1- 1- 2 4- - 6 รวม 3- 8 10 - - 18 ระดบั ประถมศกึ ษา 3 4- - 7 ประถมศึกษาปีที่ 1 1- 13 18 - - 31 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1- ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 1- 3 6- - 9 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1- 6 4- - 10 ประถมศึกษาปที ่ี 5 1- 5 7- - 12 ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1- 6 7- - 13 6- 2 3- - 5 รวม 9 3 4- - 7 รวมทั้งสนิ้ 25 31 - - 56 38 49 - - 87 รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรียนวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

~6~ 1.2 จานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 1.2.1 สรปุ จานวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จาแนกวฒุ กิ ารศกึ ษาและประเภท/ตาแหนง่ ประเภท/ตาแหนง่ จานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา รวม ตา่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา 1 - ผ้รู บั ใบอนุญาต - 1- - 1 - ผู้จัดการ 1 - ผู้อานวยการ - 1- - 1 - รอง/ผู้อานวยการ 4 รวม - -1- 3 2. ผูส้ อนการศกึ ษาปฐมวัย - -1- - - ครบู รรจุ - ครูต่างชาติ - 22 - 4 2 3. ผ้สู อนการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน - 12 - 9 ระดับประถมศึกษา 13 - --- - ครูบรรจุ - ครพู ิเศษ -4 - รวม - 2- - รวมท้ังสิ้น - 72 - - 94 สรปุ อตั ราสว่ น ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดับประถมศึกษา จานวนผเู้ รยี นตอ่ ครู 5 : 1 จานวนผู้เรียนตอ่ ห้อง 10 : 1 รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

~7~ 1.2.2 สรปุ จานวนครผู ู้สอน จาแนกตามระดับและกล่มุ สาระการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา ระดับ/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตรงเอก จานวนครูผู้สอน ประถมศึกษา ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - ไม่ตรงเอก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 1 สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม - 1 สขุ ศึกษาและพลศึกษา - 1 ศลิ ปะ - 1 การงานอาชีพ 0 1 ภาษาตา่ งประเทศ 1 1 รวม 1 8 1.2.3 สรุปจานวนครผู ู้สอนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน จานวนครผู สู้ อน ประถมศกึ ษา กิจกรรมนักเรยี น - ลูกเสอื เนตรนารี 6 6 - กิจกรรมชมุ นุม ชมรม - - อืน่ ๆ...ใหร้ ะบุ 6  กจิ กรรมแนะแนว 6 กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 1.2.4 สรปุ จานวนครแู ละบุคลากรทางการลูกเสอื เนตรนารี ลูกเสือ/เนตรนารี จานวน จานวนวฒุ ทิ างลูกเสือ การจัดต้ังกองลกู เสือ /ยวุ กาชาด/ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ ผบู้ งั คับบญั ชา มีวุฒิ ไม่มีวุฒิ จัดต้งั ไมจ่ ัดต้งั ลกู เสอื เนตรนารี สารอง 21 ลกู เสือ เนตรนารี สามญั 1 12 √- 1 33 √- รวม 2 √- รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

~8~ 2. ขอ้ มูลพ้นื ฐานแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา การพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ปรัชญา “เตบิ โตอย่างทรงคณุ คา่ ปญั ญาเลศิ ลา้ คณุ ธรรมนาใจ พลานามัยสมบูรณ์” วิสัยทัศน์ มกี ารบริหารจดั การศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง ผู้เรียนมี คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีศักยภาพในการแข่งขัน ภายใต้การมี ส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน พนั ธกจิ 1. จัดการศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา เสรมิ ด้วยหลักสูตรท้องถ่ินท่ี เอกลกั ษณ์ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของชุมชนและความเจริญก้าวหน้าทาง วิทยาการ 2. ปลูกฝังคุณธรรมด้วยกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยม ท้ังโดยการปฏิบัติการสอดแทรกในเน้ือหาวิชา การอบรม สง่ั สอน และการสง่ เสรมิ เชิดชู 3. จัดกิจกรรมเพื่อสร้างทักษะท่ีจาเป็นต่อนักเรียนทั้งด้านการ ดารงชีวติ ทีร่ ้คู ุณค่าของชีวิตของตนเองและผู้อื่น ด้านการเสริมสร้างความรู้ ทางวิชาการและดา้ นความเจรญิ งอกงามของมนุษย์ 4. ส่งเสริมการปฏิบัติงานอย่างมีความสุขและทรงประสิทธิภาพของ ครูและบุคลากร มีการพัฒนาทักษะและความรู้ในการปฏิบัติงานอย่าง ตอ่ เนื่อง 5. พัฒนาอาคารสถานท่ี อุปกรณ์ที่เก่ียวข้องให้เอื้ออานวยต่อการ เรียนการสอน การประกอบกิจกรรม การเรียนรู้นอกห้องเรียน การออก กาลังกาย และพักผ่อนหย่อนใจ อย่างถูกหลัก สุขอนามัย ปลอดภัย และมี ความสขุ 6.ใช้ทรัพยากร ของโรงเรียนให้ก่อประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมที่ นอกเหนือจากการเรียนการสอนตามปกติของโรงเรียน เพ่ือส่งเสริม กจิ กรรมทางสงั คม วชิ าการ และสง่ิ แวดลอ้ ม 7. เปิดโอกาสให้ชุมชนและสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพการศกึ ษาและการดาเนนิ กจิ การของโรงเรยี น นักเรียนมีคุณภาพ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา โรงเรียนมี สิง่ แวดล้อมทีส่ ร้างความสขุ ในการเรยี นรแู้ ละอยู่ดีอย่างพอเพยี ง อัตลกั ษณ์ นกั เรยี นมสี านึกรบั ผิดชอบต่อสงั คม นยิ มการเรยี นรู้ เชดิ ชคู ุณธรรม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

~9~ กรอบแผนยุทธศาสตร์/กลยุทธข์ องโรงเรียนวัชรวิชญ์ มีดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดการศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาเสริมด้วยหลักสูตรท้องถิ่นท่ีเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมของชมุ ชน และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปลกู ฝังคณุ ธรรมด้วยกิจกรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี และค่านยิ ม ทั้ง โดยการปฏิบตั ิการ สอดแทรกในเนื้อหาวชิ า การอบรมส่ังสอน และการสง่ เสรมิ เชิดชู ยุทธศาสตร์ท่ี 3 จัดกิจกรรมเพื่อสร้างทักษะท่ีจาเป็นต่อนักเรียนทั้งด้านการดารงชีวิตที่รู้คุณค่าของ ชีวิตของตนเองและผ้อู น่ื ดา้ นการเสรมิ สร้างความรูท้ างวิชาการและด้านความเจรญิ งอกงามของมนุษย์ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ส่งเสริมการปฏิบัติงานอย่างมีความสุขและทรงประสิทธิภาพของครูและบุคลากร มี การพฒั นาทักษะและ ความรูใ้ นการปฏิบตั ิงานอยา่ งตอ่ เน่ือง ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาอาคารสถานท่ี อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เอ้ืออานวยต่อการเรียนการสอน การ ประกอบกิจกรรม การเรียนรู้นอกห้องเรียน การออกกาลังกาย และพักผ่อนหย่อนใจ อย่างถูกหลักสุขอนามัย ปลอดภัย และมคี วามสขุ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ใช้ทรัพยากรของโรงเรียนให้ก่อประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมท่ีนอกเหนือจากการ เรยี นการสอนตามปกติ ของโรงเรียน เพื่อส่งเสรมิ กจิ กรรมทางสงั คม วชิ าการ และสิ่งแวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ที่ 7 เปิดโอกาสให้ชุมชนและสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ การดาเนินกิจการของ โรงเรียน กลยทุ ธ์ของโรงเรยี น กลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น กลยทุ ธท์ ่ี 2 พัฒนากระบวนการบริหารและการจดั การ กลยทุ ธ์ที่ 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนสาคญั รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรียนวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

-1 3. ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการประจาปขี องสถานศึกษา เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ตาม โครงการ ปรมิ าณ คณุ ภาพ แผนฯของโรงเรียน (ร้อยละ) (อธบิ าย) โครงการพฒั นาระบบ ร้อยละ 70 ของสถานศึกษา สถานศกึ ษามหี ลกั สตู ร ร้อยล การศกึ ษา มีหลกั สูตรสถานศึกษาท่ี สถานศกึ ษาท่เี หมาะสม สถาน กิจกรรมพฒั นาหลกั สตู ร เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับ และสอดคลอ้ งกับทอ้ งถิ่น สถาน สถานศึกษา ท้องถนิ่ เทยี บเคียงกบั เทยี บเคยี งกับ และส มาตรฐานสากล มาตรฐานสากลอยู่ใน เทียบ ระดบั ดี มาตร ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ร้อยละ 70 ของครมู สี ่วนรว่ ม สถานศกึ ษามีแผนกลยทุ ธ์ รอ้ ยล ในการพฒั นาคุณภาพ และ ประจาปี 2560-2564 ร่วมใ กิจกรรมจัดทาแผน มาตรฐานการศกึ ษา มสี ว่ น และแผนปฏบิ ตั ิการ และม ปฏบิ ตั ิการ ร่วมในการวางแผนดา้ น ประจาปีงบประมาณ มีสว่ น นโยบาย แผนกลยุทธ์ 2564 ท่ีถกู ต้องสมบรณู ์ ด้านน แผนปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรยี น อยใู่ นระดับดี แผนป โรงเร กิจกรรมจัดโครงสรา้ ง รอ้ ยละ 70 ของสถานศึกษา สถานศึกษามี รอ้ ยล บริหารการศึกษา มีกระบวนการบรหิ ารและ ประสิทธิภาพของการ สถาน การจัดการศึกษาทม่ี ี บริหารจดั การของ บรหิ า ประสทิ ธภิ าพ สถานศึกษาให้มีความ การศ เข้มแข็งทกุ ด้านอยใู่ น ประส ระดับดี

10 - ผลสาเร็จ มาตรฐาน *** *** การศกึ ษาของ สอดคลอ้ งกบั สอดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั ปริมาณ คณุ ภาพ สถานศึกษา ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นการตดิ ตาม (ร้อยละ) (อธิบาย) สช. ประเมนิ ผลของ กระทรวงศึกษาธิการ ละ 91 ของ สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรท่ี มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ตัวชี้วัดท่ี 2 นศกึ ษามหี ลกั สูตร เหมาะสม และสอดคล้อง (2.1) ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 ตัวชีว้ ดั ท่ี 1 นศกึ ษาทีเ่ หมาะสม กบั ทอ้ งถ่ิน โดยครูสามารถ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ตัวชวี้ ัดท่ี 1 สอดคล้องกบั ท้องถนิ่ พฒั นาหลกั สตู รและ มาตรฐานที่ 2 บเคียงกบั สามารถนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งมี (2.1) รฐานสากล ประสิทธิภาพอย่ใู นระดับ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ 2 ละ 95 ของครมู ีส่วน สถานศึกษามแี ผนกลยทุ ธ์ (2.1) ในการพัฒนาคุณภาพ ประจาปี 2560-2564 มาตรฐานการศกึ ษา และแผนปฏบิ ตั ิการ นรว่ มในการวางแผน ประจาปีงบประมาณ นโยบาย แผนกลยทุ ธ์ 2564 ทถ่ี ูกตอ้ งสมบรูณ์ ปฏิบตั กิ ารของ อยใู่ นระดบั ยอดเยี่ยม รยี น ละ 92 ของ สถานศึกษามี นศึกษามกี ระบวนการ ประสิทธิภาพของการ ารและการจดั บริหารจัดการของ ศกึ ษาที่มี สถานศึกษาใหม้ ีความ สิทธภิ าพ เขม้ แข็งทกุ ดา้ นอยู่ใน ระดบั ยอดเยย่ี ม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

-1 เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ โครงการ ปรมิ าณ คุณภาพ ตามแผนฯ (ร้อยละ) (อธิบาย) ของโรงเรียน โครงการพฒั นาระบบการศกึ ษา ร้อยละ 70 ของครูและ ครแู ละบคุ ลากรทางการ กจิ กรรมจัดทาแผนการจดั การศึกษา บคุ ลากรทางการศกึ ษา ศกึ ษาสามารถจัดทา สามารถจัดทาแผนพัฒนา แผนพฒั นาคณุ ภาพ ยุทธศาสตรท์ ี่ คณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ การศึกษา ระยะ 3-5 ปี และ 1 3-5 ปี และแผนปฏบิ ัติ แผนปฏิบตั ิการประจาปีได้ การประจาปไี ด้ ระดบั ดี กิจกรรมพัฒนาครูและบุคลากร ผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วม - ในการวางระบบและ ดาเนนิ งานประกันคุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษาเป็น อย่างดี รอ้ ยละ 70 ของครูและ ครแู ละบคุ ลากรทางการ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ศึกษามีความรจู้ ากการ ไดร้ ับความรจู้ ากการ ฝึกอบรมตามความถนดั และ ฝึกอบรมตามความถนัด สามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมี และวิชาทรี่ ับผดิ ชอบ ประสิทธภิ าพไดด้ ี

11 - *** สอดคลอ้ งกับ ผลสาเร็จ ตวั ชวี้ ดั ประเด็นการ ตดิ ตามประเมินผล ปรมิ าณ คุณภาพ มาตรฐาน *** (ร้อยละ) (อธิบาย) การศึกษาของ สอดคล้องกับ ของ สถานศึกษา ยทุ ธศาสตร์ สช. กระทรวงศกึ ษาธิกา ร ร้อยละ 90 ของครแู ละ ครแู ละบุคลากรทางการ มาตรฐานท่ี 2 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ตัวชี้วดั ที่ 3 บุคลากรทางการศึกษา ศกึ ษาสามารถจดั ทา (2.3) สามารถจดั ทาแผนพัฒนา แผนพฒั นาคณุ ภาพ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ตวั ชว้ี ัดที่ 3 คณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ การศึกษา ระยะ 3-5 ปี มาตรฐานที่ 2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ตวั ชีว้ ดั ที่ 4 3-5 ปี และแผนปฏบิ ัติ และแผนปฏบิ ัตกิ าร (2.3) การประจาปีได้ ประจาปไี ดร้ ะดบั ยอด เย่ยี ม มาตรฐานที่ 2 - ผ้เู ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ น (2.4) รว่ มในการวางระบบและ รอ้ ยละ 100 ของครูและ ดาเนินงานประกัน บคุ ลากรทางการศกึ ษา คณุ ภาพภายในของ ได้รบั ความรจู้ ากการ สถานศึกษาเปน็ ไปอย่างดี ฝึกอบรมตามความถนดั เลิศ และวชิ าท่ีรบั ผดิ ชอบ ครแู ละบคุ ลากรทางการ ศึกษามคี วามรู้จากการ ฝกึ อบรมตามความถนัด และสามารถปฏิบัตงิ านได้ อย่างมีประสิทธภิ าพยอด เยย่ี ม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

-1 เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ตาม โครงการ ปรมิ าณ คณุ ภาพ แผนฯของ (รอ้ ยละ) (อธิบาย) โรงเรยี น โครงการคุณธรรมนาใจ รอ้ ยละ78 ของผูเ้ รยี นมี ผู้เรียนมลี กั ษณะอนั พงึ รอ้ ยล กิจกรรมวนั สาคัญ คุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ี ประสงค์ตามเกณฑ์ที่ คุณลัก ดี ตามทโี่ รงเรยี นกาหนด โรงเรียนกาหนดไดอ้ ยา่ งดี ดี ตาม เลศิ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ร้อยละ 79 ไดเ้ รียนรู้และ ไดเ้ รียนรแู้ ละเขา้ ใจในการ ร้อยล เข้าใจในการปฏบิ ตั ิตน ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทย เข้า กจิ กรรมมารยาทไทย ตามมารยาทไทยได้อย่าง ได้อยา่ งถกู ต้องในระดบั ดี ตามม เลศิ กจิ กรรมประชาธิปไตยใน ถกู ต้อง ผ้เู รียน มคี วามสามารถใน ร้อยล โรงเรียน ร้อยละ 61ของผู้เรียน มี การวเิ คราะห์ คิด คว ความสามารถในการ วิจารณญาณ อภิปราย วิเคราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และ วิเครา อภปิ ราย แลกเปลย่ี น ร้จู ักการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งดี อภ ความคดิ เห็นและรจู้ กั การ แก้ปญั หา ความ

12 - ผลสาเรจ็ มาตรฐาน *** *** การศกึ ษาของ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับตวั ชี้วดั ปริมาณ คุณภาพ สถานศึกษา ยุทธศาสตร์ สช. ประเดน็ การตดิ ตาม (ร้อยละ) (อธบิ าย) ประเมินผลของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ละ 100 ของผูเ้ รียนมี ครูจดั กิจกรรมต่างๆเ เช่น มาตรฐานที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ตัวชวี้ ดั ที่ 1 กษณะและค่านยิ มที่ วนั ขนี้ ปีใหม่ วันแม่ วันไหว้ (1.2) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2 มทโ่ี รงเรยี นกาหนด ครู พ่อื ให้ผ้เู รียนมี ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 คุณลักษณะอนั พพึ ึง มาตรฐานท่ี 1 ละ 100 ได้เรยี นรแู้ ละ ประสงค์ตามเกณฑ์ (1.2) าใจในการปฏบิ ัตติ น โรงเรยี นกาหนดจนอยู่ใน มารยาทไทยได้อย่าง ระดับยอดเยี่นม มาตรฐานที่ 1 ไดเ้ รยี นรแู้ ละเข้าใจในการ (1.2) ถกู ตอ้ ง ปฏิบัตติ นตามมารยาท ละ 92 ของผเู้ รียน มี ไทยไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งใน วามสามารถในการ ระดับยอดเยย่ี ม าะห์ คิดวจิ ารณญาณ ผเู้ รยี น มคี วามสามารถใน ภิปราย แลกเปล่ยี น การวิเคราะห์ คิด มคิดเห็นและรู้จกั การ วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ แก้ปัญหา และรู้จักการแก้ปญั หาได้ อย่างยอดเยยี่ ม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

-1 เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ตาม โครงการ ปริมาณ คุณภาพ แผนฯของ (ร้อยละ) (อธิบาย) โรงเรยี น ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 โครงการพฒั นาคณุ ภาพ รอ้ ยละ 68 ของผู้เรยี นมี ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการ รอ้ ยล การศึกษา ความสามารถในการอ่าน อา่ น การสือ่ สาร และการคดิ ความ การสื่อสาร และการคิด คานวณตามเกณฑ์ได้ดี การสอ่ื กิจกรรมรักการอ่าน คานวณตามเกณฑ์ คานว ร้อยละ 56 ของนักเรียนมี นักเรียนมีการเสริมสร้าง ร้อยล กจิ กรรมมอื ใหม่หดั การเสรมิ สรา้ งพัฒนาการ พัฒนาการเรยี นรู้ คดิ ค้น มีการเ ประดิษฐ์ เรียนรู้ คดิ คน้ ส่งิ ประดิษฐ์ ส่ิงประดษิ ฐจ์ ากความคดิ พัฒนา จากความคิดสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์และสร้าง สงิ่ ประ กิจกรรมประชาธปิ ไตยใน และสร้างนวัตกรรม นวตั กรรมปานกลาง สรา้ งส โรงเรยี น นวัตก ร้อยละ 61ของผูเ้ รียน มี ผู้เรยี น มคี วามสามารถใน ร้อยล กิจกรรมไอทีดีมีสาระ ความสามารถในการ การวเิ คราะห์ คิด วเิ คราะห์ คิดวิจารณญาณ วิจารณญาณ อภิปราย คว อภปิ ราย แลกเปลี่ยน แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและ วิเครา ความคิดเหน็ และรู้จกั การ รู้จักการแก้ปัญหาได้อย่างดี แก้ปญั หา อภ รอ้ ยละ 69 ผเู้ รยี นมี ความ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและ ผเู้ รยี นมีความสามารถในการ ร้อยล การส่ือสาร ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ ความ การสื่อสารไดด้ ี เทคโน การสอื่

13 - ผลสาเร็จ มาตรฐาน *** *** การศกึ ษาของ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกับตัวชว้ี ดั ปรมิ าณ คุณภาพ สถานศกึ ษา ยุทธศาสตร์ สช. ประเดน็ การตดิ ตาม (ร้อยละ) (อธบิ าย) ประเมินผลของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ละ 100 ของผเู้ รียนมี ผู้เรยี นมีความสามารถใน มาตรฐานท่ี 1 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 มสามารถในการอา่ น การอ่าน การสื่อสาร และ (1.1) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ตวั ชว้ี ดั ที่ 3 อสาร และการคิด การคดิ คานวณตามเกณฑ์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ตวั ชี้วดั ที่ 3 วณตามเกณฑ์ ไดย้ อดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4 ละ100 ของนกั เรียน นักเรียนมกี ารเสรมิ สร้าง (1.1) เสริมสรา้ ง พัฒนาการเรียนรู้ คิดคน้ าการเรียนรู้ คดิ คน้ สง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากความคิด มาตรฐานที่ 1 ะดิษฐจ์ ากความคดิ สร้างสรรคแ์ ละสร้าง (1.2) สรรค์และสรา้ ง นวตั กรรมไดอ้ ย่างยอด กรรม เยย่ี ม มาตรฐานที่ 1 ละ 92 ของผู้เรยี น มี ผู้เรยี น มีความสามารถใน (1.1) วามสามารถในการ การวิเคราะห์ คิด าะห์ คดิ วิจารณญาณ วิจารณญาณ อภปิ ราย ภปิ ราย แลกเปลย่ี น แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น มคิดเหน็ และรจู้ กั การ และรู้จกั การแกป้ ญั หาได้ อย่างยอดเย่ียม แก้ปญั หา ผู้เรยี นมีความสามารถใน ละ100 ผเู้ รยี นมี การใชเ้ ทคโนโลยี มสามารถในการใช้ สารสนเทศและการส่อื สาร นโลยีสารสนเทศและ ได้อย่างยอดเยย่ี ม อสาร รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

-1 เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ตาม โครงการ ปรมิ าณ คณุ ภาพ แผนฯของ (รอ้ ยละ) (อธบิ าย) โรงเรยี น โครงการครมู อื อาชพี ร้อยละ 72 ของครู มีการ ครู มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั ร้อยล กจิ กรรมพฒั นาหอ้ งเรียน บรหิ ารจดั การช้นั เรยี น เรียนเชิงบวกได้ดี บริหา บวก ยุทธศาสตร์ที่ 4 กิจกรรมการวิจยั ชนั้ เรียน เชิงบวก ครูมีการตรวจสอบและ ร้อยล รอ้ ยละ 65 ของครมู ีการ ประเมนิ ผ้เู รียนอยา่ งเป็น ตรวจส กจิ กรรมนิเทศภายใน ตรวจสอบและประเมิน ระบบและนาผลมาพฒั นา ผเู้ รียน ผูเ้ รยี นอย่างเป็นระบบ ผ้เู รยี นได้ดี นาผล และนาผลมาพฒั นา มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละ ร้อยล ผูเ้ รยี น ใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพอื่ แลกเ พัฒนาและปรับปรุงการ ข้อม ร้อยละ 65 ของครูมกี าร จัดการเรยี นรไู้ ด้ดี พัฒน แลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรุงการ จัดการเรยี นรู้ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 โครงการพฒั นาระบบ โรงเรยี นมกี ระบวนการ การศกึ ษา - บรหิ ารและมกี ารจัด กิจกรรมจดั ภูมิทัศน์ การศกึ ษาท่มี ีประสิทธภิ าพ สิง่ แวดลอ้ ม อยูใ่ นเกณฑค์ ณุ ภาพระดับดี

14 - ผลสาเร็จ มาตรฐาน *** *** การศกึ ษาของ สอดคล้องกับ สอดคล้องกบั ตัวชว้ี ดั ปริมาณ คุณภาพ สถานศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ สช. ประเด็นการตดิ ตาม (รอ้ ยละ) (อธบิ าย) ประเมนิ ผลของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ละ 73 ของครู มีการ ครู มีการบรหิ ารจดั การชัน้ มาตรฐานที่ 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ตวั ชวี้ ดั ที่ 3 ารจัดการชั้นเรยี นเชิง เรียนเชิงบวกได้ดี (3.3) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ตัวชี้วดั ที่ 4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ตัวชี้วัดที่ 5 ละ 66 ของครมู กี าร ครูมีการตรวจสอบและ มาตรฐานที่ 3 สอบและประเมิน ประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็น (3.4) นอย่างเป็นระบบและ ระบบและนาผลมาพฒั นา ลมาพฒั นาผู้เรียน ผ้เู รียนได้ดี ละ 66 ของครูมกี าร มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 เปล่ยี นเรยี นรู้และให้ และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั (3.5) มลู สะท้อนกลับเพอื่ เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุง นาและปรบั ปรงุ การ จัดการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรูไ้ ด้ดี โรงเรยี นมีกระบวนการ - บรหิ ารและมีการจัด มาตรฐานที่ 2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ตัวช้วี ดั ที่ 5 การศึกษาที่มี (2.5) ประสทิ ธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ คุณภาพระดับดีเลิศ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวิชญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

-1 เป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ตาม โครงการ ปริมาณ คณุ ภาพ แผนฯของ (รอ้ ยละ) (อธิบาย) โรงเรียน โครงการครมู อื อาชพี ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 กจิ กรรมจดั ระบบบรหิ าร โรงเรยี นมกี ระบวนการ สารสนเทศ บริหารและมกี ารจดั - การศกึ ษาท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ อย่ใู นเกณฑ์คุณภาพระดบั ดี ยทุ ธศาสตร์ที่ 7 โครงการคุณธรรมนาใจ รอ้ ยละ 79 ของผู้เรยี นมี ผเู้ รียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจ รอ้ ยล กจิ กรรมหอ้ งเรียนสีขาว ความร้คู วามเขา้ ใจ เก่ยี วกบั โทษของสง่ิ เสพติด ความ เกี่ยวกบั โทษของส่ิงเสพ ในระดับดีเลศิ เกีย่ วก ตดิ

15 - ผลสาเร็จ มาตรฐาน *** *** การศึกษาของ สอดคลอ้ งกบั สอดคลอ้ งกับตวั ชี้วดั ปรมิ าณ คุณภาพ สถานศึกษา ยุทธศาสตร์ สช. ประเด็นการตดิ ตาม (รอ้ ยละ) (อธิบาย) ประเมินผลของ กระทรวงศกึ ษาธิการ โรงเรียนมีกระบวนการ - บรหิ ารและมกี ารจัด มาตรฐานท่ี 2 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ตวั ชี้วดั ท่ี 6 การศกึ ษาท่ีมี (2.6) ตัวชวี้ ดั ท่ี 4 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ คณุ ภาพระดับดี ละ 100 ของผเู้ รยี นมี ผู้เรยี นมคี วามรู้ความ มรคู้ วามเขา้ ใจ เขา้ ใจเกีย่ วกับโทษของสง่ิ มฐ1 ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.2 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 กบั โทษของส่งิ เสพตดิ เสพติดในระดับยอดเยีย่ ม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

- 16 - 4. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรยี น 4.1 ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 วิชา จานวน จานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ (O- *** *** *** นกั เรยี น นกั เรียน ท่ี ระดับ NET) ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล ทงั้ หมด เข้าสอบ ประเทศ คะแนน คะแนนเฉลยี่ พฒั นาการเทียบ ปี 2564 2562 2563 2564 เฉลีย่ กับรอ้ ยละ 3 (1) (2) (3) (5) (4) (6) มีพฒั นาการแต่ คณิตศาสตร์ 7 5 36.83 52.48 36.79 36.83 0.04 0.1 ไมถ่ งึ รอ้ ยละ 3 วิทยาศาสตร์ 7 5 34.31 40.31 49.51 34.31 -15.2 -30.70 ไมม่ ีพฒั นาการ ภาษาไทย 7 5 50.38 36.98 62.07 50.38 -11.69 -18.83 ไมม่ ีพัฒนาการ ภาษาองั กฤษ 7 5 39.22 38.59 60.00 39.22 -20.78 -34.63 ไมม่ ีพฒั นาการ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT) เปรียบเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน คะแนน คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ *** *** *** นักเรียน เฉล่ีย จานวน ทีเ่ ขา้ ระดบั สมรรถนะ ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล นกั เรยี น สอบ ประเทศ สมรรถนะ ท้ังหมด ปี 2564 2562 2563 2564 คะแนน คะแนน พัฒนาการเทียบ (1) (2) (3) เฉลีย่ เฉล่ีย กบั ร้อยละ 3 (4) (5) (6) ดา้ นภาษา 12 11 51.95 58.25 57.32 51.95 -5.37 -9.37 ไมม่ พี ัฒนาการ (Literacy) ด้านคานวณ 12 11 34.70 64.62 46.14 34.70 -11.44 -24.79 ไมม่ พี ฒั นาการ (Numeracy) ด้านเหตุผล - - - --- - - - (reasoning) ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รียน (Reading Test : RT) รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 17 - เปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ความสามารถ จานวน จานวน คะแนน คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ *** *** *** ดา้ นการอ่าน นักเรียน นกั เรยี น เฉลี่ย ด้านการอ่าน ผลต่าง ร้อยละของ แปลผล ทง้ั หมด ทีเ่ ข้า ระดับ คะแนน คะแนน พฒั นาการเทยี บ สอบ ประเทศ 2562 2563 2564 เฉลี่ย กับรอ้ ยละ 3 ปี 2564 (1) (2) (3) เฉล่ยี (4) (5) (6) อา่ นรู้เรือ่ ง 0 0 0 68.50 69.63 - -69.63 -100 ไม่มีพฒั นาการ อ่านออกเสียง 0 0 0 72.81 65.81 - -65.81 -100 ไมม่ ีพัฒนาการ หมายเหตุ ปี 2564 ไมได้สอบ RT เนื่องจากสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของเชอ้ื โรค COVID 19 จานวนและรอ้ ยละของนักเรียนท่มี ีผลการเรยี นระดับ 3 ข้ึนไป ระดับประถมศกึ ษา ระดบั ผลการเรียน กลุม่ สาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จาน นกั เรยี นท่ีมี ร้อยละ จานวน นักเรียนที่ ร้อยละ จานวน นักเรยี นทมี่ ี ร้อยละ การเรียนรู้/รายวชิ า จานวน นกั เรยี นท่ี รอ้ ยละ วน ผลระดบั 3 นกั เรยี มผี ลระดบั จาน นักเรียนที่มี รอ้ ยละ จานวน นกั เรียนท่มี ี รอ้ ยละ นักเรีย ผลระดับ 3 นกั เ ขึ้นไป นักเรียน มีผลระดบั รยี น น 3 ขึน้ ไป วน ผลระดบั 3 นกั เรยี ผลระดบั 3 น ขึน้ ไป 3 ขน้ึ ไป 10 6 60 12 2 16.67 นกั เ ขนึ้ ไป น ขึน้ ไป 7 4 57.14 รียน ภาษาไทย 9 8 88.89 13 4 30.77 5 3 60 คณติ ศาสตร์ 9 8 88.89 10 6 60 12 3 25 13 2 15.38 5 4 80 7 2 38.57 วิทยาศาสตร์และ 9 6 66.67 10 6 60 12 2 16.67 13 3 23.08 5 2 40 7 3 42.86 เทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนา 9 5 55.56 10 6 60 12 11 91.67 13 4 30.77 5 4 80 7 3 42.86 และวฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ 9 6 66.67 10 6 60 12 7 58.33 13 6 46.15 5 3 60 7 2 28.57 สุขศกึ ษาและ 9 8 88.89 10 7 70 12 7 58.33 13 4 30.77 5 3 60 7 4 57.14 พลศึกษา ศิลปะ 9 8 88.89 10 6 60 12 5 41.67 13 4 30.77 5 3 60 7 4 57.14 การงานอาชพี 9 5 55.56 10 7 70 12 4 33.33 13 5 38.46 5 4 80 7 4 57.14 ภาษาตา่ งประเทศ 9 4 44.44 10 5 50 12 2 16.67 13 4 30.77 5 4 80 7 1 14.29 ภาษาตา่ งประเทศ 9 2 22.22 10 7 70 12 4 33.33 13 4 30.77 5 4 80 7 1 14.29 (เพ่ือการสื่อสาร) รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

- 18 - 5. นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ดี ี (Innovation /Best Practice ) นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการท่ีนามาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหาหรือเพ่ือการพัฒนา ซึ่งทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางความคดิ กระบวนการ หรอื องค์กร อยา่ งสนิ้ เชงิ หรือเหน็ ได้ชัด เป็นการพฒั นาตอ่ ยอด เพิ่มมลู ค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซ่ึงมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้นๆ (N - New) มี คุณคา่ มปี ระโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม (A - Adaptive) แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขึ้นตอนการปฏิบัติที่ทาให้สถานศึกษาประสบ ความสาเร็จ หรอื สูค่ วามเป็นเลิศตามเป้าหมาย เปน็ ท่ียอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความสาเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพรใ่ หห้ นว่ ยงานภายในหรอื ภายนอกสามารถนาไปใช้ประโยชน์ ชอ่ื นวตั กรรม/แบบอย่างท่ีดี มาตรฐานด้าน ระดับการศึกษา การจัดการเรยี นรวู้ ชิ าศลิ ปะโดยใช้เทคนิครูปแบบการ มาตรฐานที่ 3 นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 สอนหอ้ งเรยี นกลับดา้ น มาตรฐานที่ 1 นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 แบบฝกึ ทักษะคาคล้องจอง ประลองปญั ญา มาตรฐานที่ 1 นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 พฒั นาอา่ นคลอ่ งเขียนถูกผูกด้วยกิจกรรมกระบวนการ เรียนรู้ Aetive Learning 5 ข้นั ตอน 6. รางวลั ท่ีสถานศกึ ษาได้รับ 6.1 ปกี ารศึกษาทผ่ี า่ นมา (ย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี) ช่อื รางวัล ปี พ.ศ..... หน่วยงาน หมายเหตุ ทไ่ี ด้รบั รางวัล ท่มี อบรางวัล 1. รางวัลเชดิ ชเู กียรติ ระดับ เหรยี ญเงนิ ผลการ สานักงาน ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน 2561 คณะกรรมการส่งเสรมิ (O-NET) การศกึ ษาเอกชน 2. รางวลั ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2561 สานกั งานศึกษาธิการ รวม 4 กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งู กวา่ เฉลีย่ จังหวดั กาญจนบรุ ี ระดับประเทศ 10 อันดบั แรกของกลุ่มโรงเรียน เอกชน 2561 สานักงานจงั หวดั 3. รางวัลผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ กาญจนบุรี ขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 อันดับที่ 3 ของจังหวัดกาญจนบรุ ี 2562 สานกั งานศึกษาธิการ 4. รางวัลการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาได้ จังหวดั กาญจนบุรี ตามมาตรฐานการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรยี นวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

- 19 - 7. ดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (ปรบั ตามนโยบายแต่ละปี ) 2564 มี 13 ข้อ) นโยบายและจุดเน้น มี ไม่มี 1. จัดการศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทาง  การจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ และการวัดประเมนิ ผลเพ่ือพฒั นาผเู้ รยี น ทส่ี อดคลอ้ งกับ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ 2. ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ท้องถ่นิ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความ  ต้องการจาเป็นของกลุ่มเปา้ หมายและแตกต่างหลากหลายตามบรบิ ทของพนื้ ที่ 3. พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ที ักษะการคดิ วเิ คราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหนา้ ได้  อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนร้เู ชงิ รุก (Active Learning) จากประสบการณ์ จรงิ หรือจากสถานการณ์จาลองผา่ นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนใน เชงิ แสดงความคิดเหน็ เพ่ือเปิดโลกทัศน์มมุ มองรว่ มกันของผู้เรยี นและครูใหม้ ากขนึ้ 4. พฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรอบรแู้ ละทกั ษะชีวิต เพ่ือเป็นเครื่องมือในการดารงชีวิตและ  สร้างอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สขุ ภาวะและทัศนคติท่ีดตี ่อการดูแลสขุ ภาพ 5. พฒั นาครูให้มีทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล  ปญั ญาประดิษฐแ์ ละภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรยี นการสอนเพื่อฝกึ ทักษะการคิด วเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบและมีเหตผุ ลเป็นขัน้ ตอน 6. สง่ เสริมใหใ้ ช้ภาษาท้องถ่นิ รว่ มกบั ภาษาไทยเปน็ ส่ือจดั การเรียนการสอนในพ้นื ท่ีที่ใช้  ภาษาอยา่ งหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานให้ผู้เรยี นมีพัฒนาการด้านการคดิ วเิ คราะห์ รวมทงั้ มที ักษะการส่ือสารและใช้ภาษาทีส่ ามในการต่อยอดการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ 7. ปลกู ฝังผูเ้ รยี นให้มีหลกั คดิ ที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและเป็นผ้มู ีความ  พอเพียง วินยั สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด 8. พัฒนาแพลตฟอรม์ ดจิ ิทัลเพื่อการเรยี นรู้ และใชด้ จิ ิทลั เป็นเครอ่ื งมือการเรยี นรู้  9. เสริมสรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตะหนัก และส่งเสรมิ คุณลกั ษณะและ  พฤติกรรมที่พึงประสงคด์ า้ นส่ิงแวดล้อม 10. สง่ เสริมการพฒั นาสง่ิ ประดิษฐ์และนวตั กรรมท่ีเปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ใหส้ ามารถ  เปน็ อาชพี และสร้างรายได้ 11. สนับสนุนกจิ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ  12. พัฒนาครทู ุกระดับให้มที ักษะ ความรูท้ ี่จาเปน็ เพือ่ ทาหนา้ ทวี่ ิทยากรมืออาชีพ  (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผ่านศูนย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพื่อความ เปน็ เลิศ (Human Capital Excellence Center HCEC) 13. ให้ผเู้ รยี น ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพฒั นารายบุคคลผา่ นแผนพฒั นา  รายบุคคลสคู่ วามเปน็ เลิศ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรยี นวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

- 20 - 9. หนว่ ยงานภายนอกที่โรงเรยี นเข้าร่วมเป็นสมาชกิ  สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน  สมาคมสหพันธ์โรงเรยี นเอกชนแหง่ ประเทศไทย  สมาคมครสู ถานศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย  สมาคมประถมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย  สมาคมอนบุ าลศึกษาแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ  สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  สมาคมครูโรงเรียนเอกชนคาทอลกิ แห่งประเทศไทย  สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจีน  สมาคมโรงเรยี นนานาชาติแห่งประเทศไทย รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

- 21 - สว่ นท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน ประเด็นพิจารณา การปฏิบัตงิ าน เปา้ หมาย จานวน จานวนผู้เรียน *** ผลการ ปฏิบัติ ไม่ (ร้อยละ) ผูเ้ รียน ผา่ นเกณฑ์ที่ ผลการ ประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รียน ทง้ั หมด ประเมิน คณุ ภาพที่ 1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น ปฏิบตั ิ 68 (คน) โรงเรยี น (ร้อยละ) กาหนด(คน) ได้ การส่ือสาร และการคดิ คานวณ √ 61 56 1.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีทกั ษะในการอ่าน √ 41 73.21 ดี ในแตล่ ะระดบั ช้นั ตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษา √ 56 กาหนด √ 48 85.71 1.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมที ักษะในการเขยี น 38 67.86 ในแตล่ ะระดับชน้ั ตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษา กาหนด 39 69.64 1.3 ร้อยละของผเู้ รียนมที กั ษะในการ สือ่ สารในแตล่ ะระดับช้ันตามเกณฑ์ท่ี 39 69.64 สถานศกึ ษากาหนด 1.4 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการคดิ 43 76.79 ดเี ลศิ คานวณในแตล่ ะดับชั้นตามเกณฑท์ ี่ สถานศกึ ษากาหนด 41 73.21 ดี 2 มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิด 40 71.43 ดี อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น 48 85.71 ดเี ลิศ ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา 2.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามสามารถใน การคดิ จาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตรต่ รองอย่างรอบคอบโดยใช้เหตผุ ล ประกอบการตัดสินใจ 2.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีการอภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ 2.3 ร้อยละของผ้เู รยี นมกี ารแกป้ ญั หาอยา่ ง มีเหตผุ ล รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

- 22 - ประเด็นพจิ ารณา การปฏิบัตงิ าน เป้าหมาย จานวน จานวนผู้เรียน *** ผลการ ปฏบิ ัติ ไม่ (รอ้ ยละ) ผเู้ รยี น ผ่านเกณฑท์ ่ี ผลการ ประเมนิ ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น ทั้งหมด ประเมนิ คุณภาพท่ไี ด้ 3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ปฏิบตั ิ 56 (คน) โรงเรียน (ร้อยละ) กาหนด(คน) ดี 3.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมคี วามสามารถใน √ 69 56 การรวบรวมความร้ไู ด้ทงั้ ตวั เองและการ √ 38 67.86 ดเี ลิศ ทางานเป็นทมี 76 56 3.2 ร้อยละของผู้เรยี นสามารถเชือ่ มโยง √ 44 78.57 ดีเลิศ องค์ความรูแ้ ละประสบการณม์ าใช้ในการ √ 69 56 สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคดิ 32 57.14 ดี โครงการ โครงงาน ชนิ้ งาน ผลผลติ √ 56 4 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี √ 44 78.57 สารสนเทศ และการสือ่ สาร 44 78.57 4.1 รอ้ ยละของผู้เรียนมคี วามสามารถใน การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 44 78.57 4.2 ร้อยละของผเู้ รยี นมีความสามารถใน การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ 49 87.50 สอ่ื สารเพื่อพฒั นาตนเองและสงั คมในดา้ น 49 87.50 การเรยี นร้กู ารสือ่ สาร การทางานอยา่ ง สรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม 49 87.50 5 มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู ร สถานศึกษา 40 71.43 5.1 ร้อยละของผเู้ รียนบรรลุการเรยี นรู้ตาม 40 71.43 หลักสตู รสถานศึกษา 40 71.43 5.2 ร้อยละของผู้เรียนมคี วามก้าวหนา้ ใน การเรยี นรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษาจาก พืน้ ฐานเดมิ 6 มีความรูท้ ักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชีพ 6.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะ พื้นฐานและเจตคตทิ ่ดี ีในการศึกษาตอ่ 6.2 ร้อยละของผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะ พืน้ ฐานและเจตคติที่ดใี นการจัดการ การ ทางานหรอื งานอาชพี รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

- 23 - ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั ิงาน เปา้ หมาย จานวน จานวนผู้เรียน *** ผลการ คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน (ร้อยละ) ผเู้ รยี น ผา่ นเกณฑท์ ่ี ผลการ ประเมิน ปฏิบตั ิ ไม่ ท้งั หมด ประเมนิ คณุ ภาพที่ ปฏบิ ตั ิ (คน) โรงเรยี น (ร้อยละ) กาหนด(คน) ได้ 56 ยอดเยยี่ ม 1 การมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมทดี่ ตี ามท่ี 76 55 98.21 สถานศกึ ษากาหนด 78 56 53 94.64 ยอดเย่ียม 1.1 ร้อยละของผู้เรยี นมพี ฤติกรรมเปน็ ผ้ทู ี่มี 78 คุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา 78 56 56 100 ยอดเยย่ี ม 1.2 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมีคา่ นยิ มและ 53 94.64 จติ สานึกตามท่สี ถานศึกษากาหนด โดยไม่ 56 56 100 ยอดเยี่ยม ขดั กบั กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดขี อง 50 89.29 สังคม 56 100 ดเี ลิศ 2 ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย 56 100 2.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นมคี วามภมู ใิ จใน 56 100 ทอ้ งถิน่ เห็นคณุ ค่าของความเป็นไทย 56 100 2.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการ อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและประเพณีไทยรวมท้ัง 56 100 ภมู ปิ ัญญาไทย 84.82 3 การยอมรับท่จี ะอย่รู ว่ มกนั บนความ แตกต่างและหลากหลาย - ร้อยละของผู้เรยี นยอมรับและอยรู่ ว่ มกัน บนความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลในดา้ นเพศ วยั เชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี 4 สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม 4.1 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมกี ารรักษาสขุ ภาพ กาย สุขภาพจติ อารมณ์และสงั คม และ แสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวัย 4.2 รอ้ ยละของผูเ้ รียนสามารถอยรู่ ่วมกับ คนอน่ื อย่างมคี วามสุข เขา้ ใจผอู้ น่ื ไม่มี ความขัดแยง้ กบั ผู้อ่นื สรปุ ผลการประเมนิ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 24 - กระบวนการพัฒนา 1. จากแผนพัฒนาของสถานศึกษากาหนดเป้าหมายให้กระบวนการการจัดการเรียนรู้ให้มีทักษะในการ อ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณในแต่ล่ะรายวิชาให้ทุกระดับชั้นเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กาหนด โดยใช้แบบทดสอบการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์มาใช้ในการทดสอบภาคเรียนละ 2 คร้ัง และประเมิน สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนเป็นรายบุคล โดยผลที่ได้จากการประเมินจะนามาวิเคราะห์เพ่ือเป็นแนวทางในการ พฒั นาครั้งตอ่ ไป โดยผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา อยใู่ นระดับดี 2. สถานศึกษามีการทดสอบสมรรถนะโดยใช้แบบทดสอบ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถใน การคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยี โดยให้บูรณาการให้เข้ากับทุกสาระวิชาเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนเกิดทักษะในด้านคิดเคราะห์ คิด อย่างมวี จิ ารณญาณ คิดจาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรองอย่างรอบคอบและโดยใช้กระบวนการคิดการตัดสินใจ แก้ปัญหา และอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ส่งผลให้ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา อยู่ใน ระดับดเี ลิศ 3. การเรยี นการสอนในวชิ าการงานพืน้ ฐานอาชีพ ครูผู้สอนให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงฝึกให้เรียนรู้การ ทางานเป็นกลุ่มเพอ่ื ให้เห็นถึงความสามัคคี การช่วยเหลือ และแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน จึงเกิดเป็นผลงานและนวัตกรรม ซง่ึ การทางานดังกลา่ วส่งผลใหค้ ุณภาพผูเ้ รียนมผี ลการดาเนนิ ที่ อยใู่ นระดบั ดี 4. มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่อื สาร โดยสถานศึกษาจดั โครงการ กิจกรรม ให้กับผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 มี ความสามารถในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการสืบค้นข้อมลู สร้างสรรค์ผลงานและนวัตกรรมใหม่ๆ จาก ผลการดาเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้คณุ ภาพผ้เู รยี น อยู่ในระดับดเี ลศิ 5. ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษากาหนด มคี วามกา้ วหนา้ ของผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนในการเรยี น และผลการทดสอบ O-NET ของระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 และผลการทดสอบ NT ของระดับประถมศึกษาปีที่ 3 สงู กว่าระดบั ประเทศ จากผลการดาเนินงานดังกล่าวส่งผลให้คุณภาพผเู้ รียนอยูใ่ น อยูใ่ นระดับดีเลศิ 6. ทางโรงเรียนมีการแนะแนวในการศึกษานักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีจบการศึกษาโดยใช้แบบ สัมภาษณ์และแบบรายงานการศึกษาต่อ ซ่ึงนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบเข้าต่อมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ได้ทุกคน จากผลการดาเนินงานดังกลา่ วส่งผลให้คณุ ภาพผู้เรียน อยู่ในระดบั ดี รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรียนวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 25 - มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ การปฏบิ ัตงิ าน *** ผลการ ผลสาเร็จ(ขอ้ ) ประเมิน ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ัติ ไม่ คุณภาพทไี่ ด้ ปฏิบัติ 4 ดีเลศิ 1 มีเป้าหมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชัดเจน 1.1กาหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความ ต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ √ นโยบายของรฐั บาลและตน้ สงั กดั 1.2 กาหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สอดคล้อง เช่ือมโยง กับ เป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของ √ รฐั บาลและตน้ สงั กัด √ √ 1.3 กาหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกิจ ทันต่อ การ √ เปลยี่ นแปลงของสงั คม 1.4 นาเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจผ่านความเห็นชอบ จาก คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น 1.5 นาเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ของโรงเรยี นเผยแพร่ ต่อ สาธารณชน 2 มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 5 ยอดเยย่ี ม 5 ยอดเย่ียม 2.1 มีการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาอยา่ งเป็นระบบ √ √ 2.2 มกี ารนาแผนไปปฏบิ ัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุง √ พัฒนางานอยา่ งต่อเนื่อง √ √ 2.3 มีการบรหิ ารอตั รากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจดั ระบบดแู ล ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น และระบบการนเิ ทศภายใน 2.4 สถานศกึ ษามกี ารนาข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาสถานศกึ ษา 2.5 สถานศึกษาให้บคุ ลากรและผทู้ ีเก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วมในการ วางแผน ปรับปรุง พฒั นา และร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา 3 ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้านตามหลักสูตร √ สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย √ 3.1 บริหารจัดการเก่ยี วกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนาหลกั สตู ร สถานศกึ ษา 3.2 บริหารจัดการเกย่ี วกับงานวชิ าการ ในด้านการพัฒนาหลักสูตร ตามความตอ้ งการของผู้เรยี น ทสี่ อดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ 3.3 บรหิ ารจดั การเกี่ยวกับกจิ กรรมเสริมหลักสตู รทเี่ น้นคณุ ภาพผูเ้ รยี น รอบด้านเชอ่ื มโยงวถิ ชี วี ติ จริง รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

- 26 - การปฏิบัตงิ าน *** ผลการ ผลสาเร็จ(ข้อ) ประเมิน ประเดน็ พิจารณา ปฏิบัติ ไม่ คณุ ภาพที่ได้ ปฏบิ ัติ 3.4 กาหนดหลกั สตู รสถานศึกษาครอบคลุมการจดั กาเรยี นการสอน ทุกกล่มุ เป้าหมาย √ 3.5 สถานศึกษามกี ารปรบั ปรุง และพฒั นาหลกั สตู รใหท้ ันต่อการ เปลยี่ นแปลงของสงั คม √ 4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ 4.1 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาครู บคุ ลากร ให้มคี วามเชีย่ วชาญทาง 5 ยอดเยยี่ ม วิชาชีพ 4.2 จดั ให้มชี ุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ √ 4.3 นาชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพเข้ามาใช้ในการพัฒนางานและ √ การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น √ 4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัตงิ านของครู บุคลากร ท่มี ผี ล ต่อการเรียนรขู้ องผู้เรียน √ 4.5 ถอดบทเรียนเพือ่ สรา้ งนวัตกรรมหรอื วิธีการท่เี ป็นแบบอย่างที่ดที ี่ สง่ ผลตอ่ การเรยี นรู้ของผ้เู รยี น √ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ อย่างมีคุณภาพ 4 ดเี ลศิ 5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรยี น ทเ่ี ออ้ื ต่อการ เรียนรู้ และคานงึ ถงึ ความปลอดภยั √ 5.2 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกหอ้ งเรียน ที่เอื้อตอ่ การ √ เรยี นรู้ และคานงึ ถึงความปลอดภยั √ 5.3 จัดสภาพแวดลอ้ มทส่ี ่งเสริมให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรเู้ ป็น รายบคุ คล และเปน็ กลมุ่ √ 5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ทเี่ ออื้ ต่อการจดั การเรยี นรู้ และมี √ ความปลอดภยั 5.5 จดั ใหผ้ เู้ รียนได้ใชป้ ระโยชน์จากการจดั สภาพแวดลอ้ มตาม 5 ดี ศักยภาพของผูเ้ รยี น 6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและ √ การจัดการเรยี นรู้ √ 6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา √ 6.2 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ บริหารจัดการและการจดั การ เรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา 6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรียนวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 27 - การปฏบิ ัตงิ าน *** ผลการ คา่ เป้าหมาย ประเมิน ประเด็นพจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม่ คุณภาพทไี่ ด้ ปฏบิ ตั ิ 6.4 ให้บรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื ใช้ในการบรกิ ารจัดการและ การจัดการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา √ 6.5 ติดตามผลการใช้บรกิ ารระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของ สถานศกึ ษาเพอ่ื ใช้ในการบริการจดั การและการจดั การเรยี นรู้ท่ี √ เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา 4.67 ดีเลศิ สรปุ ผลการประเมิน กระบวนการพัฒนา 1. สถานศึกษามีการกาหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สนองความต้องการของชุมชน ทอ้ งถนิ่ และเชอื่ มโยงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาระดับชาติ นโยบายของรัฐ และต้นสังกัดและทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม โดยกาหนดเป็นแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ โดยจัดทา โครงการต่างๆ อาทิเช่น โครงการวิชาการ โครงการคุณธรรมจริยธรรม โครงการทัศนศึกษาและแหล่งเรียนรู้ โครงการ ICT ซง่ึ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ผ่านความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน และผู้ท่ีมี ส่วนเกยี่ วข้อง ของสถานศึกษา ส่งผลให้การดาเนนิ งานของสถานศึกษาอยใู่ นระดับ ดีเลศิ 2. มีระบบบริหารจัดการโดยการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างเป็นระบบโดยการจัดทา แผนปฏิบัติงานประจาปี มีการจัดระบบนิเทศภายใน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ซ่ึงการดาเนินงานทุกอย่างสถานศึกษา ให้บุคลากรและผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนปรับปรุงพัฒนาและร่วมรับผิดชอบต่อการจัด การศกึ ษา จงึ ส่งผลใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การอยูใ่ นระดับ ยอดเยีย่ ม 3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการมุ่งเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน มีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของสังคม และความต้องการของผู้เรียนโดยเช่ือมโยงกับวิถีชีวิตจริง เช่น โครงการทัศนศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ จดั การเรยี นการสอนครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมาย ส่งผลใหก้ ารดาเนินงานของสถานศึกษาอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม 4. สถานศกึ ษาสง่ เสริม สนบั สนนุ พัฒนาครแู ละบคุ ลากร ให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ โดยการดาเนินงาน และกิจกรรมได้แก่ โครงการมืออาชีพ ครูจัดการเรียนรู้ตามศักยภาพของผู้เรียน และมีการออกแบบการจัดการท่ี เหมาะสมกับผู้เรยี นโดยมกี ารจดั การเรียนรู้ทั้งรปู แบบการระดมสมอง แบบลงมอื ปฏิบัติจริง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ด้วยการจัดกิจกรรรมตามรอยเท้าพ่อ ให้กับผู้เรียนซึ่งทาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงมีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โดยนาแผนปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ การปฏิบัติงานของครู บุคลากร มาประเมินผล ปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ด้วยกิจกรรมการ นิเทศการเรียนการสอนของครู ภาคเรียนละ 2 ครั้ง มีการพัฒนาและบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มี รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

- 28 - หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ เพ่ือใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ อยา่ งเหมาะสม จากการดาเนินงานดังกล่าวจึงส่งผลให้การ ดาเนนิ งานของสถานศึกษาอยู่ในระดับ ยอดเย่ยี ม 5. สถานศึกษาได้ดาเนินการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ และ คานึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียนโดยการจัดทาส่ือประกอบการเรียนการสอนที่น่าสนใจและจัดทาส่ือสารสนเทศ ภายในห้องเรียนเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลทางการศึกษาแก่ผู้เรียน และได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอก ห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และปลอดภัยโดยการปรับปรุงสนามเด็กเล่นให้มีความมั่นคงแข็งแรง และจัดทา กจิ กรรมปรับภมู ทิ ัศน์และส่งิ แวดลอ้ ม ภายในสถานศึกษา โดยการสร้างอาคารเรือนไทยเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ดนตรีไทยซ่งึ รายลอ้ มไปดว้ ยตน้ ไมน้ านาพรรณ อกี ท้ังทางสถานศกึ ษายังได้จัดสภาพแวดล้อมท่สี ง่ เสริมให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่มตลอดจนได้จัดสภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ และ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์อยา่ งแท้จริงต่อผู้เรียนเองโดยการจัดสภาพภายในสถานศึกษาให้ร่มร่ืน เปน็ ธรรมชาติ ซง่ึ จะส่งผลตอ่ อารมณ์และจิตใจของผู้เรียน ก่อให้เกิดความสงบสุขและมีสมาธิในการศึกษาเล่าเรียน ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้พันธ์ุพืชต่างๆที่อยู่ในบริเวณสถานศึกษาได้ โดยต้นไม้แต่ละต้นมีป้ายช่ือกากับพรรณไม้แต่ละ ชนิดไวใ้ หผ้ ู้เรยี นได้ศึกษาหาความรโู้ ดยเฉพาะพรรณไมด้ อกทีป่ รากฏชือ่ ในวรรณคดีไทยทห่ี าชมไดย้ ากในปจั จุบนั จากการดาเนนิ การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ และปลอดภัยของสถานศึกษาดงั กล่าวจงึ ทาให้การประเมินคณุ ภาพ อยู่ในระดับดเี ลิศ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 29 - มาตรฐานท่ี 3 : กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั การปฏบิ ตั ิงาน จานวน ครู (คน) *** ผลการ ผา่ น ผลการ ประเมิน เปา้ หมาย ประเมิน คณุ ภาพทไ่ี ด้ บรรจุ เกณฑท์ ่ี (ร้อยละ) ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ (รอ้ ยละ) กาหนด 100 ยอดเยยี่ ม ปฏบิ ตั ิ 66 100 1 จัดการเรียนรู้ผ่าน 6 100 กระบวนการคิดและปฏบิ ัติ 76 6 100 จรงิ และสามารถนาไป 6 100 ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ 6 100 1.1 จดั กิจกรรมการเรียนรู้ 6 ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้วี ัดของหลักสตู ร สถานศึกษาที่เนน้ ให้ผเู้ รียน √ ไดเ้ รยี นรู้ โดยผา่ น กระบวนการคิดและปฏิบัติ จริง 1.2 มแี ผนการจัดการเรยี นรู้ ทส่ี ามารถนาไปจัดกิจกรรม √ ไดจ้ ริง 1.3 มรี ูปแบบการจัดการ เรียนรู้เฉพาะสาหรบั ผทู้ ่ีมี √ ความจาเป็น และต้องการ ความช่วยเหลอื พเิ ศษ 1.4 ฝึกทกั ษะใหผ้ ูเ้ รยี นได้ แสดงออก แสดงความ √ คิดเหน็ สรุปองค์ความรู้ และ นาเสนอผลงาน 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการ เรยี นร้ใู หผ้ เู้ รยี นสามารถ √ นาไปประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจาวันได้ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ √ - 30 - และแหลง่ เรียนร้ทู เี่ อ้อื ตอ่ การ √ เรียนรู้ √ 65 6 6 100 ยอดเยย่ี ม 2.1 ใช้ส่ือ เทคโนโลยี √ 6 100 สารสนเทศในการจัดการ √ 6 100 เรียนรู้ 6 100 2.2 ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ และภูมิ √ 6 100 ปญั ญาท้องถนิ่ ในการจัดการ 6 100 เรียนรู้ √ 2.3 สร้างโอกาสให้ผเู้ รยี นได้ 72 6 6 100 ยอดเยีย่ ม แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง √ 6 100 จากส่อื ที่หลากหลาย 2.4 มขี ้อมลู สารสนเทศ 6 100 ทางด้านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ 6 100 2.5การจดั ระบบบริการ สะดวกตอ่ การเข้าถึงและการ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) บริการ โรงเรยี นวชั รวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี 3 มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียน เชิงบวก 3.1 ผูส้ อนมกี ารบรหิ าร จัดการชัน้ เรยี น โดยเนน้ การ มีปฏิสัมพันธ์เชงิ บวก 3.2 ผู้สอนมีการบรหิ าร จัดการช้นั เรยี น ใหเ้ ดก็ รกั ครู ครูรักเดก็ และเด็กรกั เด็ก เดก็ รักทีจ่ ะเรยี นรู้ สามารถ เรยี นรู้รว่ มกันอย่างมี ความสขุ 3.3 การวเิ คราะห์หลักสูตร เพ่ือการจัดการเรยี นการสอน ที่มปี ระสิทธิภาพ

3.4 บริหารจัดการเรยี นและ √ - 31 - จัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพอ่ื ใหก้ ารเรียนการสอนมี √ 6 100 ประสิทธภิ าพผเู้ รยี นเกดิ การ เรยี นรู้อยา่ งมีความสุข √ 6 100 3.5 การศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย √ เพอ่ื พฒั นาส่ือการเรียนการ √ 65 6 6 100 ยอดเยี่ยม สอนและกระบวนการเรียนรู้ √ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยมี √ 6 งานวิจัยหรอื ผลงานหรือส่อื นวัตกรรมอย่างน้อยปีละ 1 6 ชิ้น 4 ตรวจสอบและประเมิน 6 ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และ 6 นาผลมาพฒั นาผเู้ รียน 6 4.1 มกี ารตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการจัดการ เรยี นร้อู ยา่ งเป็นระบบ 4.2 มขี ้ันตอนโดยใช้ เครอื่ งมอื และวธิ ีการวดั และ ประเมนิ ผลท่เี หมาะสมกับ เปา้ หมายในการจัดการ เรยี นรู้ 4.3 เปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นและ ผู้มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งมสี ว่ นรว่ ม ในการวดั และประเมนิ ผล 4.4 ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แก่ ผเู้ รยี นเพื่อนาไปใชใ้ นการ พฒั นาการเรียนรู้ 4.5 ใช้เครอื่ งมือและวิธีการ วัดและประเมนิ ผลท่ี เหมาะสมกบั เป้าหมาย และ การจัดการเรยี นการสอน รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

- 32 - 5 มีการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละ ใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพอ่ื 65 6 6 100 ยอดเยีย่ ม พัฒนาปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ 5.1 และผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ร่วมกันแลกเปล่ยี นความรู้ √ 6 100 และประสบการณใ์ นการ จัดการเรียนรู้ 5.2 นาขอ้ มลู ป้อนกลับไปใช้ ในการปรบั ปรุงและ √ 6 100 พัฒนาการจัดการเรียนรู้ของ ตนเอง 5.3 การจัดกจิ กรรม แลกเปล่ยี นเรียนรูใ้ ห้ √ 6 100 สอดคล้องกับภารกจิ การ ปฏบิ ตั ิงานของสถานศึกษา 5.4 การเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ผล การ √ 6 100 ดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง 5.5 การพฒั นาสถานศกึ ษา √ 6 100 ให้เป็นองค์การแห่งเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมิน 100 ยอดเยี่ยม กระบวนการพฒั นา 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตาม ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง โดยมีแผนและรูปแบบการจัดกิจกรรมเฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและต้องการ ความช่วยเหลือพิเศษ เช่น การสอนซ่อมเสริมให้สาหรับผู้เรียนที่ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์และพัฒนาให้ผู้เรียน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ จากผลการดาเนินงานดังกล่าวส่งผลให้สถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับ ยอดเย่ยี ม 2. การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ครูผู้สอนใช้ส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศเช่น Smart TV คอมพิวเตอร์ และ Smart Phone ในการจัดการเรียนการสอน ตามกลุ่มสาระวิชา ตา่ งๆ จนทาใหผ้ เู้ รยี นสามารถสรา้ งผลงานโดยใชเ้ ทคโนโลยีมาสร้างสรรค์ผลงานได้เป็นอย่างดี และสามารถสร้าง กิจกรรมต่างๆ ผ่านสอ่ื เทคโนโลยีได้ จากผลการดาเนินงานดังกลา่ วจึงทาใหส้ ถานศกึ ษาอยใู่ นระดบั ยอดเย่ียม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรียนวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

- 33 - 3. ครูผสู้ อนมกี ารจัดการชั้นเรียนโดยเนน้ การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก โดยจัดแผนการสอนและกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ การจัดชั้นเรยี นดังกล่าว ได้แก่กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุม แนะแนว โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซ่ึงปลูกฝังให้เด็กรักที่จะเรียนรู้และ สามารถเรยี นรรู้ ่วมกันได้อยา่ งมคี วามสขุ จากผลการดาเนนิ งานดังกล่าวทาให้ สถานศึกษามผี ลการดาเนินงานอยู่ ในระดบั ยอดเย่ยี ม 4. ตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน โดยครูมีการศึกษาและ วางแผน การวัดและประเมินผล ท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในการเรียนการสอน มีการวัดและประเมินผล หลัง เรียน ระหว่างเรียนและปลายภาค และมีการเรียนซ่อมเสริมหลังจากที่ประเมินผลแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ และ ประเมินผลอีกครั้งหลังจากเรียนซ่อมเสริมแล้ว จากกระบวนการวัดผลและประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทา ให้ผูเ้ รยี นทราบจดุ ทคี่ วรพัฒนาตนเอง ในการวัดผลประเมินผลแต่ละคร้ัง ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สงู ข้นึ 5. ได้ดาเนนิ การพฒั นาครใู หป้ ฏิบัตติ ามบทบาทหน้าที่อยา่ งมีประสิทธิภาพโดยครูผู้สอนทุกคนเข้ารับการ อบรมเน้นกระบวนการคิดวเิ คราะห์อยา่ งสมา่ เสมอและนาความรู้ท่ีได้รับมาถ่ายทอดแลกเปลี่ยนกันเพื่อให้ครูผู้สอน ในแต่ระดับช้ันนาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน เช่นการอบรมวิธีการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหาเรื่องการสร้างแบบฝึกการอ่านเข้าใจ คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความหมายตามแนวทางการ ประเมนิ ผลนกั เรียนร่วมกับนานาชาติ (Pisa) และครูผู้สอนได้นาความรู้ท่ีได้มาปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผลที่ หลากหลาย เป็นระบบ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่เหมาะสมกับเป้าหมายและการจัดการเรียนการสอนตาม รายวชิ า และครผู สู้ อนได้นาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาผเู้ รยี นในชน้ั ตอ่ ไป รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบรุ ี

- 34 - 2. สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ คุณภาพของนักเรียน ดีเลิศ ดี 1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรยี น ดี ดีเลศิ 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ 2. มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความ คิดเห็นและแก้ปัญหา 3. มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดี ดีเลศิ 4. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร ดีเลศิ ดี 5. มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ยอดเย่ียม ยอดเยย่ี ม 6. มคี วามรู้ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชพี ยอดเย่ยี ม ยอดเยยี่ ม คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน ยอดเยย่ี ม 1. การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดตี ามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม 2. ความภมู ิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 3. การยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4. สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม มาตรฐานที่ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลศิ 2 1. มเี ปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกิจที่สถานศกึ ษากาหนดชัดเจน 2. มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลุม่ เป้าหมาย 4. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ยอดเยย่ี ม ดีเลศิ 5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อือ้ ต่อการจดั การเรียนร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ ดี 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม ยอดเยย่ี ม 3 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ ยอดเยยี่ ม ดีเลศิ 2. ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ 3. มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก 4. ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน 5. มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่อื พัฒนาปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมินระดบั ขนั้ พ้ืนฐาน กรณีที่ 1 ให้ใช้ฐานนิยม (Mode) ให้ระดับคณุ ภาพในภาพรวม กรณที ่ี 2 หากไมม่ ีฐานนิยม (Mode) เช่น ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม ให้ใช้ ค่ากลาง ของระดับคณุ ภาพ ในทน่ี ี้ คอื ดเี ลิศ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรยี นวชั รวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 35 - 3. จุดเดน่ ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน คุณภาพของผู้เรยี น 1.ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสงู ขน้ึ ทุกกลมุ่ สาระมคี วามกา้ วหน้าจากพนื้ ฐานเดิมในแตล่ ะปใี นด้านความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะตา่ งๆ มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติสูงกว่า ระดบั ประเทศ 2.ผู้เรียนสามารถอ่าน เขยี นและส่อื สาร ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ดี 3.ผูเ้ รยี น กลา้ แสดงออก ร่าเริงแจม่ ใส สขุ ภาพกายแข็งแรง และเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมตามท่สี ถานศึกษา กาหนด กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1.ผู้บรหิ ารมคี วามตง้ั ใจ มีความมุง่ มั่น มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทศั นท์ ี่ดใี นการ บริหารงาน และคณะกรรมการ สถานศึกษา เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง มีความตงั้ ใจ และมคี วามพรอ้ ม ในการปฏิบัตหิ น้าท่ีตามบทบาท 2.โรงเรยี นมีการบรหิ ารและการจดั การ อยา่ งเป็นระบบ โรงเรยี นไดใ้ ช้เทคนิคการประชมุ ท่ีหลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีสว่ นร่วม การประชมุ กล่มุ เพอื่ ให้ทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการกาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมายท่ี ชัดเจน 3.พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาปีทส่ี อดคล้องกับผลการจัดการศกึ ษา สภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเนน้ พฒั นาผเู้ รยี น มีคุณภาพตามมาตรฐานหลกั สตู รของ สถานศกึ ษา ครผู ู้สอนพัฒนาตนเองและสามารถจัดการเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ มีการดาเนินการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการจดั การศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 1. สถานศึกษาได้จดั กระบวนการเรยี นการสอนภายในโรงเรยี นทมี่ สี ่งิ แวดล้อมที่เป็นธรรมชาติทีเ่ อื้ออานวยตอ่ การ เรียนรู้ ส่งผลใหผ้ ู้เรียนเกิดทกั ษะกระบวนการคดิ และไดป้ ฏิบัติจรงิ 2. สถานศึกษาได้จัดกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผลสมั ฤทธ์ทิ างดา้ นภาษาอังกฤษโดยผ่านกระบวนการเขยี น อา่ นและฟงั ในทกุ ระดับช้นั ซ่ึงส่งผลใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเข้าใจภาษาองั กฤษได้เต็มศักยภาพของแต่ละบคุ คล รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรยี นวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี

- 36 - 4. จดุ ควรพัฒนา ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน คณุ ภาพของผ้เู รยี น 1.พัฒนาผเู้ รียนให้มีความเปน็ เลิศโดดเด่นทางวชิ าการในแต่ละกลมุ่ สาระวชิ า และบรบิ ทของแต่ละรายวชิ า เพ่ือ พัฒนานักเรียนไปส่ศู กั ยภาพสูงสดุ ของนักเรียนใหม้ ีผลสูงกว่าระดับเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด และสูงกวา่ ระดบั ประเทศ โดยคานึงถึงความแตกต่างของนักเรียนทางด้านสตปิ ญั ญา ความสามารถ ความถนัด 2.พฒั นาทกั ษะทางภาษา การใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารเหมาะสมกับวัย แกไ้ ขปัญหาการอา่ นการเขยี น ภาษาอังกฤษ ให้อ่านออกเขียนได้ ในระดบั ดีข้นึ ไป ป.1-ป.6 มพี ้นื ฐานการอา่ นทดี่ ี คัดกรองนกั เรียนที่อา่ นไม่คล่อง ใหไ้ ด้รบั การปรบั ปรุงการอา่ นอย่างใกลช้ ดิ สว่ นนักเรียนท่ีมีทกั ษะการอา่ นท่ีดีให้ได้รบั การเพ่มิ พูนทกั ษะของตนเอง อยา่ งต่อเนื่อง 3.พัฒนากจิ กรรมส่งเสริมความสามารถ ดา้ นวชิ าการ ดนตรี อาชีพเพ่ือใหน้ ักเรียน มคี วามรคู้ วามสามารถมาก ย่งิ ข้ึนรวมท้ังส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม เพื่อให้นักเรียนมคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ กระบวนการบริหารและการจัดการ 1.พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญในการสร้างนวัตกรรมเพ่ือนาไปพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ความสามารถ ทักษะตามมาตรฐาน 2.ควรสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือกับผมู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มคี วามเข้มแข็ง มีส่วน รว่ มรับผิดชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา และการขบั เคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา 3 การสารวจความตอ้ งการด้านกจิ กรรม สง่ เสริมการใฝ่รขู้ องนักเรียน กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 1. การพัฒนาคุณภาพและปริมาณของส่อื อุปกรณเ์ ทคโนโลยที ที่ นั สมยั ท่ีใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน ตลอดจน ปญั หาการขาดบุคคลากรทมี่ ีความชานาญในการดูแลรกั ษาสอ่ื อปุ กรณ์เทคโนโลยี 2. การนาผลทไ่ี ดจ้ ากการทางานวิจยั ในช้ันเรียนมาพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนในทุกระดับชั้นอย่าง เป็นรูปธรรม รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

- 37 - 5.แนวทางการพัฒนา คณุ ภาพของผเู้ รยี น 1.พัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศโดดเด่นทางวิชาการในแต่ละกลุ่มสาระวิชา และบริบทของแต่ละรายวิชา เพ่ือพัฒนา นักเรียนไปสู่ศักยภาพสูงสุดของนักเรียนให้มีผลสูงกว่าระดับเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนด และสูงกว่าระดับประเทศ โดย คานงึ ถึงความแตกต่างของนกั เรียนทางด้านสตปิ ัญญา ความสามารถ ความถนดั 2.พัฒนาทักษะทางภาษา การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเหมาะสมกับวัย แก้ไขปัญหาการอ่านการเขียนภาษาอังกฤษ ใหอ้ า่ นออกเขยี นได้ ในระดับดีขึ้นไป ป.1-ป.6 มีพื้นฐานการอ่านที่ดี คัดกรองนักเรียนท่ีอ่านไม่คล่อง ให้ได้รับการปรับปรุง การอ่านอย่างใกล้ชิด ส่วนนกั เรยี นท่มี ีทกั ษะการอ่านท่ีดใี ห้ไดร้ ับการเพ่ิมพูนทักษะของตนเองอยา่ งต่อเน่ือง 3.พฒั นากิจกรรมส่งเสรมิ ความสามารถ ดา้ นวิชาการ ดนตรี อาชีพเพ่ือให้นักเรียน มีความรู้ความสามารถมากย่ิงขึ้นรวมทั้ง ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม เพื่อใหน้ ักเรยี นมคี ุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ กระบวนการบริหารและการจัดการ 1.ควรมีระบบการดาเนินการนิเทศ กับกาติดตามประเมินผล การดาเนินงานและจัดทารายงานผลการจัดการศึกษาของครู เพือ่ แลกเปล่ยี นเรียนรูซ้ งึ่ กนั และกันและนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี นในการเรยี นการสอนอยา่ งตอ่ เนื่อง 2.ควรส่งเสริมให้ครูสร้างนวัตกรรมส่ือการเรียนการสอนหรือวิธีการ ใหม่ๆท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดีเพ่ือนามาพัฒนาผู้เรียนให้มี ประสิทธิภาพ 3.ส่งเสริมให้ครูทุกคนศึกษาค้นคว้ากระบวนการทาวิจัยในช้ันเรียนในการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผน พฒั นาคณุ ภาพ สถานศกึ ษา กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั 1. สถานศกึ ษาควรจัดหาสอ่ื อปุ กรณเ์ ทคโนโลยที ่ีทันสมยั เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยบรรจุลงในโครงการกิจกรรม การบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารท่ีสถานศึกษาดาเนินการอยู่ในปีการศึกษาหน้า ตลอดจนจัดหาบุคคลากรที่ มีความชานาญหรือจดั การอบรมครผู ้สู อนให้มีความร้คู วามเข้าใจในการดแู ลรักษาส่อื อุปกรณเ์ ทคโนโลยีใหพ้ ร้อมใช้อยู่เสมอ 2. ให้ครูผู้สอนนาผลที่ได้จากการทางานวิจัยในช้ันเรียนมาพัฒนาหรือแก้ปัญหากระบวนการจัดการเรียนการสอนในทุก ระดับช้นั เพอื่ ประโยชนข์ องผูเ้ รยี นและสง่ ผลต่อการประเมนิ ระดับคณุ ภาพผูเ้ รยี นทีด่ ขี นึ้ 6. ความต้องการช่วยเหลือ 1. การจดั สรรครูผสู้ อนใหต้ รงตามวิชาเอกทโ่ี รงเรยี นมีความต้องการและจาเป็น 2. การพัฒนาครูผูส้ อนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ทส่ี อดคล้องกบั การพฒั นาผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 3. แพลตฟอร์มทีอ่ านวยความสะดวกในการจดั ทางานประกันและการบริหารงานด้านโรงเรียนโดยเฉพาะ 4. เจ้าหนา้ ที่ทีม่ คี วามชานาญเฉพาะด้านเพื่อจัดทารายงานต่างๆของโรงเรียนส่งให้ต้นสังกัดโดยเฉพาะเพ่ือ ลดภาระงานของครูผู้สอน ครูผู้สอนจะได้ใช้เวลาสาหรับการเรียนการสอนให้เต็มที่ เพราะทุกวันน้ีครูต้อง รับภาระนอกจากการสอนแลว้ ต้องมารับผิดชอบกับงานเอกสาร ซ่ึงเปน็ ภาระหนักสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมี บุคลากรน้อยแตท่ างานเหมอื นโรงเรยี นขนาดใหญ่ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564) โรงเรียนวัชรวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

- 38 - 7. ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา ไดร้ บั การยอมรับเปน็ ต้นแบบระดับ ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา นานาชาติ ชาติ ทอ้ งถิ่น/ภูมภิ าค (C 3) (C 2) (C 1) 1. ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติระดับเหรียญทองแดงผลการ ทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ัน  ประถมศึกษาปีท่ี 6 เป็นเวลา 5 ปี 2. ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติระดับเหรียญเงินผลการทดสอบ  ร ะ ดั บ ช า ติ ขั้ น พ้ื น ฐ า น ( O-NET) ข อ ง นั ก เ รี ย น ช้ั น ประถมศึกษาปีท่ี 6 2561  3. มผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O- NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รวม 4 กลุ่มสาระการ เรียนรู้สงู กว่าระดับประเทศ กระบวนการพัฒนาความโดดเด่นของสถานศึกษา 1. มีการวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET ในภาพรวมของสถานศึกษา และรายมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ ละกลุ่มสาระ โดยเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษากับคะแนน เฉล่ียระดับประเทศ เพื่อจัดลาดับ ความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และนาไปวางแผน พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้รวมทั้งจัดทา โครงการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน 2. มีการนาผลการทดสอบ O-NET ไปออกแบบและจัดการเรียนรู้ให้ครบทุก ตัวชี้วัด ตามหลักสูตร จัดหา ส่ือการเรียนรู้ มอบหมายงานตามความรู้ความสามารถของผู้เรียน รายบุคคล วัดและประเมินผลตามสภาพจริง และนาข้อทดสอบ O-NET เป็นส่วนหน่ึงในการวัดและประเมินผล โดยครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้บันทึกหลัง แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและแก้ปญั หาต่อไป 3. ครูจัดการสอนเสริมหลังเลิกเรียน และวันเสาร์ –อาทิตย์ เพ่ือสอนเพิ่มเติม ให้เทคนิคการเรียน และ เทคนิคการทาข้อทดสอบ O-NET 4. จดั โครงการ/กจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รียน รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรยี นวชั รวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบรุ ี

- 39 - ภาคผนวก รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564) โรงเรียนวชั รวชิ ญ์ อ.ทองผาภมู ิ จ. กาญจนบุรี

- 40 - คาสั่งโรงเรยี นวชั รวิชญ์ ที่ 10./2564 เรือ่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุภาพการศกึ ษา ประจาปีการศึกษา 2564 .............................................................................................. ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการสาคัญในการจัด การศกึ ษา ให้มีกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาทุกระดบั และประเภทการศึกษา โดยในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบประกนั คณุ ภาพภายในและระบบประกนั คณุ ภาพภายนอก มาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้น สังกัดและสถานศกึ ษาจัดใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็น ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษา ที่ต้องดาเนินการอย่างตอ่ เนื่อง อาศัยอานาจตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ 1 เรื่องการบังคับบัญชาข้าราชการและบุคลากรในสถานศึกษา แต่งต้ังบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนปฏิบัติ หนา้ ทด่ี ังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการอานวยการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย 1.1 นางรตั ตภิ รณ์ ถ่นิ วัฒนากูล ผู้อานวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ 1.2 นางสาวดวงมณี อุสาพรม รองผู้อานวยการโรงเรยี น กรรมการ 1.3 นางสาวพนารัตน์ ทองสุพรรณ์ ผู้จดั การ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าท่ี กาหนด นโยบาย มาตรฐานและตัวบ่งชี้ แนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้อง กับกรอบแนวทางประเมิน คณุ ภาพภายนอก พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 และสอดคลอ้ งกับกลยุทธ์โรงเรียน สร้าง เครื่องมือประเมินผลการดาเนินงาน รวมท้ังสนับสนุนให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ใหด้ าเนินการไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง และมปี ระสิทธภิ าพ 2. คณะกรรมการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบดว้ ย 2.1 นางสาวพนารตั น์ ทองสพุ รรณ์ ประธานกรรมการ 2.2 นางสาวสถาพร ถิ่นวฒั นากลู กรรมการ 2.3 นางสาวสชุ าดา สรุ ยิ ะวงษา กรรมการ 2.4 นางสาวรสรนิ ขนุ ยวง กรรมการ 2.5 นางใบเตย ถาวรพยคั ฆ์ กรรมการ 2.6 นางสาวพมิ วภิ า เอแดง กรรมการ รายงานประเมนิ ตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564) โรงเรียนวัชรวิชญ์ อ.ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook