Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Job2

Job2

Published by 5922040071, 2019-01-14 04:20:14

Description: Job2

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ชนิดของไฟล์ภาพ ความรู้เกย่ี วกบั ภาพ จดั ทาโดย นางสาวสุทธิลกั ษณ์ เจริญสุข เลขที่ 24 แผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ เสนอ คุณครูบวั ทิพย์ ชิตรัตน์รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ าการผลิตสื่อส่ิงพมิ พ์ (2204-2104) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเพชรบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561

คำนำ

สำรบัญชนดิ ของไฟล์ภำพควำมรเู้ บ้ืองต้นเกย่ี วกบั ภำพสีในงำนคอมพวิ เตอร์กรำฟกิชนดิ และรปู แบบไฟล์กรำฟิกองคป์ ระกอบของภำพ article

ชนดิ ของไฟล์ภำพ การสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพกราฟิกประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญ เพราะความละเอียดของไฟล์ภาพจะส่งผลกับขนาดของภาพ เช่น ภาพท่ีนามาใช้งาน บนเว็บเพจควรจะต้องมีขนาดเล็ก เพ่ือนาไปเรียกใช้งานบนเว็บเพจได้อย่างรวดเร็ว ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกท่ีนิยมใช้โดยท่วั ไป ได้แก่1. JPEG หรอื JPG (Join Photographic Export Group) เป็นรูปแบบไฟล์ที่เก็บภาพแบบราสเตอร์ที่ไม่ต้องการคุณภาพสูงมากนัก เช่น ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล ภาพถ่ายจากโทรศัพท์มือถือและภาพกราฟิกสาหรับแสดงบนอินเทอร์เน็ต สามารถแสดงสีได้ถึง 16.7ล้านสี เป็นไฟล์ภาพชนิดหน่ึงที่ได้รับความนิยม เพราะไฟล์มีขนาดเล็กสามารถบีบอัดข้อมูลได้หลายระดับ(JPEG) คือรูปแบบการบีบอัดแฟ้มภาพแบบสูญเสีย โดยยังให้เสียความละเอียดน้อยที่สุด รูปแบบแฟ้มสาหรับวธิ ีการนไ้ี ดแ้ ก่ .jpeg, .jpg, .jpe, .jfif, .jfi (อาจจะเปน็ ตัวเล็กหรอื ตวั ใหญ่กไ็ ด้) รูปแบบแฟ้ม JPEG น้ี เป็นรูปแบบแฟ้มที่ใช้กันในการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนรูปภาพบนเวิลด์ไวด์เว็บมากที่สุด โดยเฉพาะภาพถ่าย เนื่องจากสามารถเก็บความละเอียดสูงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ท่ีเล็ก สามารถเก็บภาพสีได้หลากหลายระดับความแม่นยาของสี(Bit Depth) ความสามารถในการย่อขนาดไฟล์ของแฟ้ม JPEGน้ันเกิดจากการใช้เทคนิคการย่อขนาดภาพแบบการบีบอัดคงข้อมูลหลัก (Lossy Compression) หรือการบีบอัดแบบมีความสูญเสียทาให้ไม่นิยมใช้กับภาพที่เป็นลายเส้นหรือไอคอนต่าง ๆ เน่ืองจากจะไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าการเกบ็ ในรูปแบบอ่ืน อยา่ ง PNG หรอื GIF

การบีบอัดของ JPEG น้ันจะใช้เทคนิคท่ีเรียกว่า DCT (Discrete Cosine Transform) ซึ่งเป็นการแปลงค่าความสว่างของภาพให้อยู่ในรูปแบบเชิงความถ่ี (Frequency Domain) ทาให้สามารถเลือกแทนค่าของสัมประสิทธ์ิหรือในที่น้ีคือแอมพลิจูดของค่าความถ่ีต่างๆ ได้โดยอาศัยตัวแปรที่มีนัยสาคัญที่ต่างกันได้ การที่สามารถลดนัยสาคัญของค่าตัวเลขลงไปได้ทาให้สามารถลดขนาดของหน่วยความจาหรือขนาดไฟล์ท่ีใช้เก็บตามไปได้ ช่ือ JPEG เดิมย่อมาจาก Joint Photographic Experts Group กลุ่มผู้พัฒนามาตรฐาน JPEG,JPEG 2000, และ JPEG XR2. GIF (Graphic Interchange Format) เป็นไฟล์ภาพท่ีสามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กได้ส่วนมากจะนาไปใช้บันทึกเป็นไฟล์ภาพเคลอื่ นไหวและนยิ มมากในการใชง้ านบนเวบ็ เพจ GIF เป็นรูปแบบแฟ้มภาพและแฟ้มภาพเคล่ือนไหว รูปแบบ GIF ถูกออกแบบโดย Compuserve ซ่ึงเป็นระบบเครือข่ายข่าวสารแบบออนไลน์ เพ่ือให้บริการแลกเปล่ียนกราฟิกในรูปแบบบิตแมป ภาพแบบGIF มีข้อจากดั อยตู่ รงด้านแผงสีแบบ Index ภาพสีแบบ 24bit (RGB) ไมส่ ามารถใชไ้ ด้ แผงสีสามารถบรรจไุ ด้ 2-256สี ซึ่งสรา้ งจากข้อมลู สี 24 บิท แฟ้มแบบ GIF โดยใช้การบบี ขนาด LZW แบบประยกุ ต์ ทาให้เปลอื งพ้นื ที่ความจุน้อยกว่า สาหรับการออกเสียงคาว่า GIF มีการโต้เถียงกันหลายท่ี ข้ึนอยู่กับภาษาที่ใช้ โดยทางผู้ผลิตได้สรุปวิธีอา่ นของตวั เองไว้ ผู้ผลิตซอฟต์แวร์หลายรายกังวลเก่ียวกับปัญหาสิทธิบัตรของแฟ้มแบบ GIF ซ่ึงจดโดย Unisys ทาให้มีการสร้างรูปแบบแฟ้มภาพชนิดใหม่ท่ีช่ือว่า PNG (Portable Network Graphics) ข้ึนมาทดแทน อย่างไรก็ตามสทิ ธบิ ตั รของ GIF หมดอายแุ ลว้ เมื่อ ค.ศ. 2003 และ GIF ยงั เปน็ ท่ีนิยมใชง้ านต่อไปจนถงึ ปจั จุบัน3. PNG (Portable Network Graphics)

เป็นชนิดของไฟล์ภาพที่นาจุดเด่นของไฟล์ภาพแบบ GIF และแบบ JPG มาพฒั นาร่วมกนั ทาให้ไฟล์ภาพชนดิ นแ้ี สดงสีได้มากกว่า 256 สี และยังสามารถทาพน้ื หลงั ภาพให้โปร่งใสได้ จงึ เปน็ ไฟลภ์ าพที่ได้รับความนิยมมากในปัจจบุ ัน เป็นรูปแบบแฟ้มภาพท่ีพัฒนาข้ึนมาทดแทนรูปแบบแฟ้มแบบ GIF เพื่อแก้ปัญหาด้านสิทธิบัตร PNGออกเสียงว่า ปิง แต่ไม่สะกดว่า ping เน่ืองจากซ้ากับโปรแกรมทางเครือข่ายที่ช่ือเดียวกัน ปัจจุบันมาตรฐานของ PNG คือรุ่น 1.2 โดยได้รับการอนุมตั เิ ป็นมาตรฐานของทงั้ W3C และ ISO/IEC เรยี บรอ้ ยแลว้ ไลบรารีสาหรับ PNG คือ libpng ซ่ึงเขียนด้วยภาษาซี ปัจจุบัน PNG สนับสนุนโดยเว็บเบราว์เซอร์เกือบทุกตัว แต่มีปัญหาด้านการแสดงผลใน อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ เวอร์ชัน 6 ซึ่งไม่สนับสนุนคุณสมบัติalpha-channel4. TIF หรือ TIFF (Tagged Image File) เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บภาพแบบราสเตอร์คุณภาพสูง เช่น ภาพกราฟิกที่นาไปทางานด้านส่ิงพิมพ์(Artwork) สามารถเก็บขอ้ มูลของภาพไว้ไดค้ รบถ้วน ทาใหค้ ณุ ภาพของสเี หมอื นตน้ ฉบบั เป็นไฟล์ภาพท่ีมีการจัดเก็บแบบบิตแมป ใช้ในงานโปรแกรมส่ิงพิมพ์ เช่น เพจเมเกอร์ โฟโตชอป เป็นต้น เป็นรูปแบบบิตแมป ที่ใช้อย่างกว้างขวาง ถูกพัฒนาขึ้น โดยการร่วมมือ Aldus Corporation กับไมโครซอฟท์ เป็นรูปแบบท่ีสามารถเปล่ียนแปลงแก้ไขได้ รูปแบบTIF เป็นรูปแบบไฟล์แบบบิตแมปที่ค่อนข้างแข็งแรง มันสามารถทาบางส่ิง ทร่ี ูปแบบอ่นื ไม่สามารถทาได้ นอกจากน้นั ขอ้ ดคี ือ สามารถเปลี่ยนไปมาระหว่างพีซี กับเคร่ืองแมคอินทอช ได้ เนื่องจากสนับสนุนท้ังสองระบบ แต่เน่ืองจากลักษณะการจัดเก็บภาพ ไม่มีการบีบอัดขอ้ มูลเลย จงึ ทาให้ขนาดของภาพค่อนขา้ งใหญเ่ มื่อเทียบกบั รูปแบบการจัดเก็บภาพในลกั ษณะอ่ืน

5. PSD (Photoshop Document) เปน็ ไฟล์ภาพเฉพาะโปรแกรม Adobe Photoshop จะทาการบนั ทึกแบบแยกเลเยอร์ (Layer)โดยเก็บประวตั ิการทางานและรายละเอียดการตกแต่งภาพ เอาไว้ เพื่องา่ ยตอ่ การแกไ้ ขในภายหลงัhttps://sites.google.comhttps://th.wikipedia.orghttps://www.google.co.thควำมรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกับภำพควำมหมำยของภำพกรำฟกิกราฟิก (Graphic)เป็นคามาจากภาษากรีกว่า Graphikos หมายถึง การเขียนภาพด้วยสีและเขียนภาพขาวดาและคาว่า Graphein มีความหมายทั้งการเขียนด้วยตัวหนังสือและการสื่อความหมายโดยการใช้เส้น เม่ือรวมทั้งคา Graphikos และ Graphein เข้าด้วยกันวัสดุกราฟิกจะหมายถึงวัสดุใด ๆ ซ่ึงแสดงความจริง แสดงความคิดอย่างชัดเจน โดยใช้ภาพวาด ภาพเขียน และอักษรข้อความรวมกันภาพวาดอาจจะเป็น แผนภาพ(Diagram) ภาพสเก็ต(Sketch) หรือแผนสถิติ (Graph) หรืออาจเป็นคาที่ใช้เป็นหัวเรื่อง (Title) คาอธิบายเพ่ิมเติมของแผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ และภาพโฆษณา อาจวาดเป็นการ์ตูนในรูปแบบหรือประเภทต่างๆภาพสเก็ต สญั ลกั ษณ์ และภาพถ่าย สามารถใช้เปน็ วสั ดุกราฟิกเพอ่ื สื่อความหมายในเรอ่ื งราวที่แสดงขอ้ เท็จจริงต่าง ๆได้แหล่งที่มา : http://graphicchatbamm403no59-61.blogspot.com/2012/11/blog-post_197.html

สีในงำนคอมพิวเตอร์กรำฟกิสีทใ่ี ชใ้ นงานดา้ นกราฟิกทั่วไปมี 4 ระบบ คือ1. RGB 2.CMYK3. HSB 4. LAB 1.RGB colorเป็นระบบสีท่ีประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red), เขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) เม่ือนามาผสมกันทาใหเ้ กิดสตี า่ งๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึง่ ใกลเ้ คียงกับสีท่ีตาเรามองเหน็ ปกติ สที ี่ได้จากการผสมสีขน้ึ อย่กู บั ความเข้มของสี โดยถา้ สีมคี วามเข้มขน้ มาก เมอื่ นามาผสมกันจะทาให้เกดิ เป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีน้ีว่า แบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก2.CMYK colorเปน็ ระบบสที ี่ใช้กบั เคร่ืองพมิ พ์ท่ีพิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผวิ เรียกอ่นื ๆ ซงึ่ ประกอบด้วยสีหลัก 4 สคี อื สีฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow), และสีดา (Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดาแต่จะไม่ดาสนิทเน่ืองจากหมึกพิมพ์มีความไม่ บริสุทธ์ิ จึงเป็นการผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสีของระบบน้ีคือ หมึกสีหนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งแล้วสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่างๆ เช่น สีฟ้าดูดกลืนแสง

ของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีน้าเงิน ซ่ึงจะสังเกตได้ว่าสีท่ีสะท้อนออกมาจะเป็นสีหลักของระบบ RGBการเกิดสีนใี้ นระบบนจ้ี งึ ตรงข้ามกับการเกดิ สีในระบบ RGB3.HSB colorเป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Hue คือสีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแลว้ เข้าสู่สายตาของเรา ซ่งึ มักเรยี กสีตามชอ่ื สี เชน่ สเี ขียว สแี ดง สเี หลอื ง เปน็ ต้น -Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มท่ี 0 ถึง 100 ถ้ากาหนด Saturationท่ี 0 สีจะมีความสดน้อย แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 สจี ะมีความสดมาก -Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเร่ิมที่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 ความสวา่ งจะน้อยซึง่ จะเปน็ สดี า แตถ่ า้ กาหนดท่ี 100 สีจะมีความสว่างมากท่สี ดุ4. LAB color

เป็นระบบสีที่ไม่ข้ึนกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ “L” หรือLuminance เป็นการกาหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 จะกลายเป็นสีดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 จะกลายเป็นสีขาว“A” เป็นคา่ ของสีท่ีไล่จากสีเขียวไปสแี ดง “B” เปน็ คา่ ของสีทไี่ ล่จากสีนา้ เงินไปสีเหลอื งชนดิ และรปู แบบไฟลก์ รำฟิก1. กรำฟิกไฟล์สำหรับอนิ เทอรเ์ นต็ ไฟล์กราฟกิ ท่ีสนบั สนุนระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ปจั จุบนั มี 3 ไฟล์หลัก ๆ คือ -ไฟล์สกุล GIF ( Graphics Interlace File) -ไฟลส์ กลุ JPG ( Joint Photographer's Experts Group) -ไฟล์สกลุ PNG ( Portable Network Graphics) 1.1ไฟลส์ กุล GIF (Graphics Interlace File) เปน็ ไฟล์กราฟิกมาตรฐานที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต มกั จะใชเ้ มื่อ ต้องการไฟล์ทมี่ ีขนาดเล็ก จานวนสีและ ความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก ต้องการพื้นแบบโปร่งใส ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยแสดงผลแบบละเอียด ตอ้ งการนาเสนอภาพแบบภาพเคลอื่ นไหวจดุ เดน่ : ขนาดไฟลต์ ่า สามารถทาพนื้ ของภาพใหเ้ ปน็ พ้ืนแบบโปร่งใสได้ ( Transparent) มรี ะบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace มีโปรแกรมสนับการสร้างจานวนมาก เรียกดูได้กับGraphics Browser ทุกตัว ความสามารถดา้ นการนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว ( Gif Animation)

จดุ ด้อย : แสดงสไี ด้เพยี ง 256 สี ไฟล์ .GIF มี 2 สกุล ได้แก่ GIF87 พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1987 เป็นไฟล์กราฟิกรุ่นแรกท่ีสนับสนุนการนาเสนอบนอินเทอร์เน็ต เป็นไฟลท์ ่ีมีขนาดเล็กและแสดงผลสีได้เพียง 256 สี และกาหนดให้แสดงผลแบบโครงร่างได้ (Interlace) GIF89A พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1989 เป็นไฟล์กราฟิกท่ีพัฒนาต่อจากGIF87 โดยเพ่ิมความสามารถการแสดงผลแบบพ้ืนโปร่งใส ( Transparent) และการสร้างภาพเคล่ือนไหว (GIF Animation)ซ่ึงเป็นไฟล์กราฟิกท่ีมีความสามารถพิเศษโดยนาเอาไฟล์ภาพหลายๆ ไฟล์มารวมกันและนาเสนอภาพเหล่านัน้โดยอาศยั การหน่วงเวลา มกี ารใสร่ ปู แบบการนาเสนอลกั ษณะตา่ งๆ ( Effects) ในลกั ษณะภาพเคล่ือนไหว 1.2 ไฟล์สกลุ JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เป็น อีกไฟล์หน่ึงท่ีนิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี ภาพที่ต้องการนาเสนอมีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก (สนบั สนนุ ถึง 24 bit color) ตอ้ งการบีบไฟลต์ ามความตอ้ งการของผู้ใช้ ไฟลช์ นิดนีม้ ักจะใช้กับภาพถ่ายที่นามาสแกน และต้องการนาไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูงจดุ เด่น : สนบั สนุนสีได้ ถึง 24 bit สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ไดต้ ามที่ต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก เรียกดูได้กับGraphics Browser ทุกตัว ตง้ั ค่าการบีบไฟลไ์ ด้ ( compress files)จดุ ดอ้ ย : ทาใหพ้ ืน้ ของรูปโปร่งใสไม่ได้ ข้อเสยี ของการบีบไฟล์ ( Compress File)กาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง( 1 - 10) แม้ว่าจะช่วยให้ขนาดของไฟล์มีขนาดต่าแตก่ ็มีข้อเสีย คือ เม่ือมีการส่งภาพจากServer ไปแสดงผลที่Client จะทาให้การแสดงผลช้ามาก เพราะต้องเสียเวลาในการคลายไฟล์ ดังน้ันการเลือกค่าการบีบไฟล์ ควรกาหนดใหเ้ หมาะสมกับภาพแต่ละภาพ 1.3 ไฟล์สกลุ PNG (Portable Network Graphics)

จุดเดน่ : สนับ สนนุ สไี ดถ้ งึ ตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) สามารถกาหนดคา่ การบีบไฟล์ได้ตามทต่ี ้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและคอ่ ยๆ ขยายไปส่ลู ะเอยี ด ( Interlace)สามารถทาพืน้ โปรง่ ใสได้จุดด้อย : หากกาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะมีขนาดตา่ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 ความละเอียดของภาพและจานวนสขี ึ้นอยู่กับ Video Card โปรแกรมสนบั สนนุ ในการสรา้ งมนี อ้ ย2. กรำฟิกสำหรบั งำนพิมพ์2.1 TIFF (Tagged Image File Format) TIFF เป็นไฟล์ท่ีใช้ได้กับ bitmap เท่าน้ัน พัฒนาข้ึนโดยความร่วมของ Aldus Corporationและ Microsoft TIFF เก็บบันทึกข้อมูลรูปภาพได้หลากหลายใน Tagged Field จึงกลายเป็นช่ือเรียกของรูปแบบไฟล์ ซ่ึงแต่ละ Tagged Field สามารถบันทึกข้อมูลเก่ียวกับ bitmap หรือชี้ไปยัง Field อ่ืนได้ซอฟตแ์ วร์ทอ่ี า่ นไฟลน์ ีส้ ามารถขา้ มการอ่าน Field ท่ไี ม่เขา้ ใจหรอื ไมจ่ าเป็นไปได้ TIFF เป็นรูปแบบท่ีมีความยืดหยุ่น สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ เน่ืองจากมี Tagged Field ให้ใช้ต่างกันหลายร้อยชนิด ไฟล์แบบน้ีจึงมีข้อดี คือ ใช้ได้กับโปรแกรมกราฟิกทุกประเภท สามารถใช้ได้ในระบบคอมพวิ เตอรห์ ลายๆ ระบบ และกาหนดขอบเขตท่ีกว้างขวางของภาพ bitmap ได้ นอกจากน้ี TIFFยงั สามารถทาบางส่ิงท่ี bitmap อื่นทาไม่ได้ และเป็นรูปแบบที่สนับสนุนทั้งระบบ PC และ Macintosh Tagged ImageFile Formatนามสกุลที่ใช้เก็บ TIF ระบบปฏิบัติการ Windows, UNIX, Mac Windows เวอร์ชันท่ีได้รับการพัฒนาจนถึงปัจจุบัน 5.0 และ 6.0 ซอฟต์แวร์ที่สร้างและเปิดไฟล์ โปรแกรมแก้ไข Bitmap และโปรแกรมDesktopPublishingเช่น PageMaker, QuarkXPress, CorelVentura, PhotoShop, PaintShop Pro ความสามารถทางด้านสีขาวดา 1 บิต, Grayscale (4,8, 16 บิต), แผงสี (ไดถ้ งึ 16 บิต), สี RGB (ได้ถงึ 48 บิต), สี CMYK (ได้ถงึ 32บิต)

การบบี ขนาดข้อมูล LZW, PackBits (Macintosh), JPEG (TIFF v 6.0), RLE หลายรปู แบบ 2.2 EPS (Encapsulated PostScript) EPS เป็นเซตย่อยของภาษาสั่งการในการจัดหน้าแบบ PostScript ซ่ึงเป็นรูปแบบที่ใช้อย่างแพรห่ ลายในการแลกเปล่ียนรปู แบบภาพกราฟิก ไฟลแ์ บบ EPS สามารถบรรจภุ าพที่ซับซอ้ นและมีรายละเอียดอย่างสูงทั้งในรูปแบบ Vector และ Bitmap โดยใส่ไว้ในโปรแกรมการแก้ไข Vector และโปรแกรม DesktopPublishing กราฟิกแบบ EPS มีข้อจากดั อย่างหนึ่งคือ จะต้องพมิ พ์ออกในเคร่ืองพิมพ์แบบ PostScript เท่านั้นเพราะเคร่ืองพิมพ์ไม่สามารถแปลรหัสการพิมพ์ PostScript ได้ Encapsulated PostScript นามสกุลที่ใชเ้ กบ็EPS ระบบปฏิบัติการ Windows, Windows NT, UNIX, Mac Windowsเวอร์ชันท่ีได้รับการพัฒนาจนถึงปัจจบุ นั EPS เป็นเซตยอ่ ยของ Adobe PostScriptซอฟต์แวร์ ท่ีสร้างและเปิดไฟล์ โปรแกรมแก้ไข Vector และโปรแกรม Desktop Publishing เช่นAutoCAD,CorelDRAW, PageMaker, QuarkXPress, Adobe Illustrator ความสามารถทางด้านสี ขยายได้ถึง 24 บิตRGB และ HSB 32 บิต, CMYK, Grayscale, แผงสีแบบอินเด็กซ์ การบบี ขนาดขอ้ มลู การใส่รหัสแบบไบนารี 2.3 PDF (Portable Document Format) PDF เป็นรูปแบบไฟล์ท่ีใช้ในโปรแกรม Adobe Acrobat ใช้สาหรับเอกสารบนส่ืออิเล็คทรอนิกส์เช่น บนอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื บริการออนไลน์ต่างๆ เนอ่ื งจากเปน็ ไฟล์ขนาดเลก็ ทาใหส้ ามารถสร้างเอกสาร เชน่ โบร์ชัวร์ หรือ แค็ทตาล็อกส่งไปทางอินเทอร์เน็ตได้ ใช้ได้กับทั้งแบบ Bitmap และ Vectorและสนับสนุนทั้งระบบPC และ Macintosh PDF เหมาะสาหรับเอกสารทางเทคนิคท่ีจะเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต ผู้อ่านสามารถพิมพ์ออกมาได้หรือเรียกดูได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเพราะรูปแบบ อักษรที่ใช้ประกอบอยู่ในตัวซอฟต์แวร์แล้ว และเน่ืองจากใช้ตัวอักษรแบบ PostScript ซ่ึงเป็น vector-based จึงสามารถย่อและขยายได้ตามต้องการ โดยคุณภาพของงานไมเ่ ปลี่ยนแปลง ทง้ั ยังสามารถนาไปสร้างเป็นเอกสาร แบบ Illustration หรือ Bitmap ไดอ้ ีกดว้ ย และเม่ือพิมพ์ออกมาก็จะไม่เสียคุณภาพ ไม่ว่าจะใช้ค่าความละเอียดของภาพเป็นเท่าใด เช่นเดียวกับไฟล์ประเภทVector อืน่ ๆ เช่น PS หรือ PRN นอกจากน้ี PDF เปน็ ไฟลท์ ี่ประกอบด้วยข้อมูลPostScript จงึ สามารถนาไปใช้ในโปรแกรมตกแต่งแก้ไขภาพ หรือ โปรแกรมประเภท Illustration ได้เช่นเดียวกับ EPS PortableDocument Format นามสกุลท่ีใช้เก็บ PDF ระบบปฏิบัติการ Windows, Mac OS, UNIX และ Dos

ซอฟต์แวร์ท่ีสร้างและเปิดไฟล์ PhotoShop, Acrobat ความสามารถทางด้านสี RGB, Indexed-Color,CMYK, GrayScale, Bitmap และ Lap Colorองค์ประกอบของภำพ article การจัดองค์ประกอบในภาพ (Composiitioning) จะทาให้ภาพมีคุณค่าน่าดึงดูดใจ ทาให้ภาพดแู ตกต่างจากภาพธรรมดาท่วั ๆ ไปเป็นภาพที่มีความหมายกฎสำมสว่ น (Rule of Thirds)การจดั องคป์ ระกอบของภาพใหด้ ูดีประการหนงึ่ คอื การเลือกวางตาแหน่งจุดสนใจของภาพ โดยการแบง่ ด้านกว้างและดา้ นยาวออกเปน็ ดา้ นละสามส่วนจะทาใหภ้ าพถูกแบ่งออกมาได้ 9 ชอ่ ง จุดทเ่ี สน้แบ่งตัดกนั จะมีอยู่ 4 จุดดว้ ยกนั จดุ ใดจุดหนงึ่ ของจุดทัง้ ส่ี ถอื เปน็ ตาแหนง่ สาหรบั วางสว่ นสาคัญที่สดุ ของภาพ ซ่ึงจะทาใหภ้ าพมคี ุณค่าขึ้น ช่างภาพมือใหมม่ ักจะวางจุดสนใจไวท้ ่กี ลางภาพเนอื่ งจากยงั ไมค่ นุ้ กบั การมองผา่ นช่องมองภาพ หรือมวั พะวงมุ่งสนใจกบั วัตถุที่จะถา่ ย ดงั น้ันหากเราฝึกกวาดสายตาดรู อบ ๆ ภาพทชี่ ่องมองภาพแลว้ เลือกว่าจะเลื่อนจุดสนใจไปยังจดุ ใดจุดหนึง่ของสจ่ี ุดดังกล่าว เราก็จะได้ภาพท่ดี ดู ขี นึ้ อน่ึง การวางจดุ สนใจไว้ ณ ตาแหน่งตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วไม่ใช่เปน็ ข้อบังคับเป็นเพียงแนวทางสาหรับการจัดภาพท่ัว ๆ ไป ช่างภาพอาจมแี นวทางการวางท่ีตา่ งออกไปแล้วแต่แนวคดิ ในภาพแตล่ ะภาพ

เส้นนำสำยตำ (leading Line)โดยธรรมชาตินนั้ เม่ือเรามองไปยงั ภาพ ตาของคนเราจะเคลือ่ นไปตามเสน้ สายต่าง ๆ ท่ปี รากฏในภาพ ดงั น้ัน เราสามารถท่จี ะจัดองคป์ ระกอบของภาพให้มเี ส้นสาย และใหผ้ ู้ชมเคลือ่ นสายตาไปตามเสน้ สายนน้ั (เสน้ สายเหล่านอ้ี าจจะเป็นถนน ธารน้า ทวิ เขา เส้นแบ่งของสีสนั เสน้ แบ่งความเข้มของแสง ขอบเงาของวัตถุ ฯลฯ) ผา่ นจดุ สนใจจนเลยไกลออกไป เส้นสายเหลา่ น้ีอาจจะมรี ูปทรงเปน็ เส้นตรง เสน้ เฉียง เส้นโค้ง เสน้ ซกิ แซก ฯลฯควำมสมดุลของภำพ (Balancing Elements)ในการจดั วางจดุ สนใจเอยี งไปด้านใดดา้ นหนง่ึ ของภาพตามกฏสามส่วนนน้ั ทาให้น้าหนักของภาพหนักไปทางด้านนน้ั ส่วนอีกด้านหนึง่ จะดูโล่ง จงึ ควรหาจดุ สนใจรอง ๆ ไวอ้ กี ด้านหนงึ่ เปน็ การถ่วงนา้ หนักให้ภาพดูสมดลุ ข้นึ ทงั้ น้กี อ็ ย่าให้จดุ สนใจรองนนั้ มาลดความเดน่ ของจุดสนใจหลักจนเกินไป

ควำมสมมำตรและควำมเป็นแบบแผน (Symmetry and Patterns)เราสามารถสรา้ งสรรค์ภาพท่ีมคี วามสมมาตรและเป็นแบบแผนดนู ่าเบื่อหนา่ ย ใหด้ ูนา่ สนใจได้หากสามารถนาเสนอในมมุ มองที่ผู้ชมไม่ได้คาดคดิ มากอ่ น ในขณะท่ีเรากาลังเดนิ หามุมภาพ ให้ลองฉกุคดิ ดูวา่ ชว่ งบริเวณนนั้ มีโครงสร้างอะไรท่ีเปน็ แบบแผน มีความสมมาตร อาจเป็นอาคาร ส่งิ ปลกูสรา้ ง หรือปา่ เขา ลองส่องชอ่ งมองกลอ้ งดู ก็อาจไดภ้ าพทม่ี ีคณุ ค่าได้ และหากเรามกี ารคดิ ต่างออกไปโดยวางจดุ สนใจลงไปทต่ี าแหน่งใดตาแหนง่ หนง่ึ ของภาพประเภทนี้ กอ็ าจได้ภาพท่ีดูดดี ว้ ยก็ได้มุมมอง (Viewpoint)ก่อนทีจ่ ะลงมอื ถา่ ยภาพให้ลองใชเ้ วลาสักนิดคิดหามุมท่จี ะต้งั กลอ้ งสาหรับบนั ทึกภาพ แทนที่จะเปน็ มมุ มองในระดบั สายตาซง่ึ ดูจาแจ หากลองก้มลงในมุมตา่ ใกล้ระดับพน้ื หรือตะแคงกล้องทามุม

เอยี ง ๆ กบั พนื้ หรือปีนไปถ่ายในมมุ สูง ฯลฯ อาจได้มมุ มองทตี่ ่างออกไป และสามารถสร้างความเร้าใจให้ผู้ชมภาพน้นั ๆ ได้ฉำกหลงั (Background)บ่อยคร้งั ท่ภี าพบางภาพท่ีน่าจะดดู ีแตพ่ บว่าจุดสนใจกลบั ดูไม่เด่นพอ ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะฉากหลงั ดูวนุ่ วายแย่งความสนใจจากจุดสนใจหลัก ดงั นน้ั ในการถ่ายภาพให้หามุมกลอ้ งท่ฉี ากหลังดคู อ่ นข้างเรยี บ ไม่มอี ะไรรกสายตา ไม่มแี สงสที จ่ี ะมาแยง่ ตายตาไปจากจุดสนใจ อกี ทางหน่ึงคือ เปิดขนาดของอะเพอร์เจอร์ใหใ้ หญ่ขน้ึ เพือ่ ใหร้ ะยะชัดลกึ น้อยลงทาให้ฉากหลังพรา่ มัว การถ่ายของชนิ้ เล็ก ๆเชน่ การถา่ ยภาพดอกไม้ เราสามารถใช้ระดาษที่มีสีโทนมดื ไปไว้ดา้ นหลงั ของดอกไม้ทจี่ ะถา่ ยเพ่ือทาเปน็ ฉากหลัง กจ็ ะทาให้ภาพของดอกไมด้ โู ดดเด่นขึ้นควำมลกึ (Depth)

แมว้ ่าภาพถ่ายจะเปน็ ภาพสองมิติ เราสามารถถา่ ยทอดให้ภาพดูมีความลึกเพิ่มอกี มติ ิหน่งึ ได้ โดยการจดั ภาพให้มีทง้ั ฉากหน้า วัตถุ และฉากหลงั ทาให้แต่ละชว่ งดตู ่างจากกนั อาจจะตา่ งกันที่โทนสีน้าหนักของแสง ความคมชัด ดว้ ยการจัดวางทดี่ ที าใหภ้ าพดมู ีความลึกข้นึกรอบภำพ (Framing)ภาพบางภาพอาจดโู ล่ง ๆ แต่หากเราแตง่ ภาพโดยให้มีฉากหน้า เชน่ ให้มีกงิ่ ไมใ้ บไม้มาแซม ๆ ท่ีขอบภาพ สามารถทาใหภ้ าพดูดข้ึนไมโ่ ลง่ เหมือนเดิม การประกอบภาพด้วยขอบประตู หรือขอบหนา้ ตา่ งไว้ในบริเวณขอบของภาพสักสองถึงสด่ี า้ นก็ช่วยใหภ้ าพนั้น ๆ ดไู ม่โลง่ จนเกนิ ไปไดเ้ ชน่ กันการจัดให้มกี รอบภาพแบบธรรมชาตนิ ้ยี ังเปน็ เทคนิคท่ชี ว่ ยใหจ้ ดุ สนใจดูเดน่ ขน้ึ และยังเพ่ิมมิตใิ ห้กับภาพได้กำรตัดสว่ นเกิน (Cropping)

บางคร้งั การถ่ายภาพมขี ้อจากัดทาให้ไม่สามารถถ่ายภาพวัตถุหลักให้มขี นาดใหญ่เท่าทตี่ อ้ งการอาจจะเนอ่ื งจากถ่ายในระยะไกลเกินไป หรือบางครั้งภาพทถี่ า่ ยนั้นพบวา่ จุดสนใจหลักถกู แย่งความสนใจจากสิง่ ท่อี ยรู่ อบ ๆ การตดั ขอบภาพในส่วนที่ไมจ่ าเป็นออกไปจงึ ชว่ ยแก้ปัญหาน้ีได้ ชว่ ยทาให้สดั สว่ นของจดุ สนใจให้ใหญ่ขนึ้ เทยี บกบั พนื้ ทท่ี ี่เหลืออยู่ ในขณะที่กาลงั เลือกสว่ นเกินท่จี ะตัดออกนั้น ให้พจิ ารณาดูวา่ ตาแหนง่ ของจุดสนใจจะถูกเลอ่ื นไปอยู่ในตาแหน่งใดของภาพ ให้ใช้กฏสามสว่ นมาปรับปรุงใหภ้ าพสมบรู ณข์ นึ้ การตดั สว่ นเกินออกกม็ ีข้อเสยี คอื ทาให้รายละเอียดของภาพด้อยลงจงึ ไม่ควรทาการตัดส่วนเกินออกมากจนเกินไป และหากเป็นไปได้ ในชว่ งทาการบนั ทึกภาพใหเ้ ดนิเขา้ ไปใกล้วัตถมุ ากขน้ึ หรือใชเ้ ลนสซ์ มู ดงึ ภาพให้เขา้ มาใกล้ขนึ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook