Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

บทที่ 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

Published by sulai8444, 2019-08-28 23:10:01

Description: บทที่ 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

นักทฤษฎีทางสังคม นกั ทฤษฎีที่สาคญั ในการศกึ ษาถงึ แนวคดิ เบือ้ งต้นเก่ียวกบั สงั คมมี ดงั นี ้ 1. โสเครตสี (Socrates) 2. เพลโต (Plato) (427 - 347 ปี ก่อน ค.ศ.) 3. อริสโตเตลิ (Aristotle) 4. คาร์ลมาร์กซ์ (Karl Marx) 5. เฮอร์เบริ ์ตสเปนเซอร์ (Herbert Spencer) 6. เอมลิ เดอร์ไคม์ (Emile Durkheim) 7. แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber)

1. โสเครตีส โสเครตีส เป็นปรัชญาเมธีที่ย่ิงใหญ่คนหนงึ่ ของโลก เป็นปรัชญาเมธีที่ มงุ่ เน้นในการแสวงหาและคณุ คา่ แหง่ ปัญญาเมื่อสมยั เดก็ โสเครตสี ได้รับ การศกึ ษาน้อยมาก แตเ่ ป็นผ้ทู ่ีแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะการแลกเปล่ยี น ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ศีลธรรมและดวงวิญญาณ ทาให้ทา่ นมีความรู้ แตกฉานประกอบกบั เป็ นผ้ทู ี่มคี วามมงุ่ มนั่ แสวงหาปัญญาอยา่ งตอ่ เน่ือง ท่านจงึ ได้รับการยกยอ่ งวา่ เป็นวรี บรุ ุษด้านศีลธรรมคนหนง่ึ ของโลก

โสเครติส 1. โสเครตีสแตง่ งานกบั ผ้หู ญิงคนหน่ึงมีบตุ รด้วยกนั 4 คน ภรรยาของเขาเป็ น หญิงอารมณ์ร้าย ชอบดดุ า่ และพร่าบน่ แต่โสเครตีสบงั คบั ตวั เองให้อดทน อดกลนั้ อยกู่ บั เธอได้ 2. เม่ือเป็ นหนมุ่ ชาวเผ่า สปาร์ตายกกองทพั มารุกรานโสเครตีสสมคั รเป็ น ทหารไปรบและได้สร้างวีรกรรมในสงครามอยา่ งกล้าหาญและอดทน 3. วิธีการสนทนาของโสเครตสี เป็ นการซกั ถามหรือไตถ่ ามด้วยการใช้หลกั ของ เหตแุ ละผลท่ีเรียกวา่ “ ตรรกวทิ ยา ” 4. คณะลกู ขนุ ในศาลตดั สนิ ให้ประหารชีวติ ด้วยการดมื่ ยาพษิ 5. ลกู ศิษย์ของเขาพยายามหาทางพาเขาหนีออกจากท่ีคมุ ขงั แต่โสเครตสี ปฏิเสธ เพราะเหน็ วา่ จะเป็ นการทาลายความถกู ต้องของกฎหมาย และ ประชาชนทกุ คนต้องเคารพกฎหมาย

แนวทางการเรียนรู้ในรูปแบบโสเครตีส • กระบวนการแสวงหาความรู้ของโสเครตีส ที่ใช้ได้ผลมากท่ีสดุ คือ กระบวนการวภิ าษวิธี (dialectic) หลกั การท่ีสาคญั ของกระบวนการ นีค้ อื การนาข้อเสนอที่มีเหตผุ ล (thesis) และข้อคดั ค้าน (antithesis) มาหกั ล้างกนั • ถ้าหากข้อเสนอใดถกู หกั ล้างไปโดยข้อคดั ค้านที่มีเหตผุ ลมากกวา่ ก็จะ นาเสนอข้อใหมเ่ พ่ือคดิ ค้นกนั ตอ่ ไป ผลลพั ธ์ระหวา่ งข้อเสนอและข้อ คดั ค้านท่ีมีเหตผุ ลคอื เป้ าหมายของการแสวงหาคอื ความจริงท่ีถกู ต้อง (synthesis)

แนวคิดโสเครตีส • กฎหมายแห่งรัฐ เป็นกตกิ าท่ีรัฐให้คนในสงั คมมีชีวติ ถกู ต้องตามทานอง คลองธรรม เพราะมนษุ ย์มีความแตกตา่ งทางพฤตกิ รรม ผ้ทู ี่ปกครองควร เป็นคนท่ีมีปัญญามีคณู ธรรม 1. ปัญญา คือ การมคี วามรู้เกี่ยวกบั ความดี รู้วา่ อะไรคือสิง่ ที่ดแี ละมี ความสขุ 2. ความกล้าหาญ คอื ความรู้เกี่ยวกบั สงิ่ ที่เราควรกล้าและไม่ควรกล้า กล้ าในการสร้ างความดี 3. การควบคมุ คือ การมีชีวิตตามทานองคลองแห่งความดไี ม่เป็นทาส อารมณ์และความปรารถนาตา่ งๆ

ต่อ 4. ความยตุ ธิ รรม การแสดงออกในรูปแบบของการที่เคารพสิทธิของผ้อู ่ืน 5. ศาสนา ก็เป็ นปัจจยั หนง่ึ ในการควบคมุ มนษุ ย์ให้แสดงถึงความมี คณุ ธรรมในการปฏิบตั ิหน้าท่ีทางศาสนา

เพลโต อาคาเดมี (Academy) สานกั เรียนรู้ทางวชิ าการให้เยาวชนชาวกรีก

เพลโต(Plato) 1. จะเหน็ วา่ ความคดิ ของเพลโตได้รับอิทธิพลจากโสเครตีส เพราะวา่ คณุ ธรรม ตามแนวคิดของเพลโตก็มาจากความรู้ ซงึ่ เป็ นรากฐานท่ีสาคญั ของ คณุ ธรรมในการท่ีจะทาให้มนษุ ย์สามารถจาแนกความดีและความชวั่ ได้ โดยพืน้ ที่เป็ นจริงวา่ กระทาความชว่ั เป็ นสง่ิ ท่ีไม่พงึ ประสงค์ 2. เพลโตมองวา่ คณุ ธรรมความรู้ คือ รากฐานสาคญั ของคณุ ธรรมโดยจะเหน็ วา่ แนวคดิ ที่สาคญั ท่ีเกี่ยวกบั ความรู้นาไปสคู่ ณุ ธรรมซง่ึ เป็ นมีเหตผุ ลในการ ตดั สนิ ใจของการประพฤติความดแี ละมีความกล้าหาญในตนเอง 3. รัฐในอดุ มคติ คือ องค์กรสงู สดุ ในการจดั ระเบียบของสงั คมเพ่ือประโยชน์ สขุ แก่สมาชิกแหง่ รัฐ

ความรู้เกิดปัญญาท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ความดีมีดงั น้ี 1) ความกล้าหาญ คือ ความรู้อยา่ งหนง่ึ ในการที่แสดงออกของมนษุ ย์ใน ด้านกระทาความดี 2) การควบคมุ ตนเอง หมายถงึ ความรู้ท่ีจะกระทาอยา่ งพอเหมาะพอควร เป็ นการควบคมุ ตนเองในสง่ิ แวดล้อมที่ชกั จงู 3) ความยตุ ธิ รรม หมายถึง การผกู ผนั กบั ธุรกิจของตนโดยไมเ่ ข้าไปก้าว กา่ ยในภาระหน้าของผ้อู ื่นก็ถือเป็ นความรู้อยา่ งหนงึ่ คือ รู้วา่ ตนเองมีหน้าที่ และบทบาทในการงานใดไมล่ ะเมดิ ในการที่จะทาให้ผ้อู ่ืนเดือดร้อนก็จะทา ให้สงั คมสงบสขุ

เพลโตแบ่งธาตุแท้ของบุคคลในสังคมเป็ นการจาแนกบุคคลควรมหี น้าทแ่ี ละบทบาทในสังคม ดงั นี้ 1. สาหรับมนษุ ย์ถ้ามนษุ ย์มธี าตเุ หตผุ ลมากสามารถคิดไตร่ตรองก่อนจะ ทาที่จะทาให้สงั คมไมเ่ ดอื ดร้อนโดยใช้ความรู้และปัญญาสมควรเป็น ผ้ปู กครอง 2. ผ้ปู กครองถ้ามนษุ ย์มีธาตคุ วามกล้าหาญสงู ก็เหมาะสมที่จะปกป้ อง สงั คม 3. ความอยากได้อยากมใี นทรัพย์สนิ บคุ คลจาพวกนีเ้หมาะท่ีจะเป็น ผ้ผู ลิตในด้านตา่ ง เชน่ พอ่ ค้า ประชาชน



อริสโตเตลิ • อริสโตเตลิ มี นสิ ยั รักการอ่าน นกั สงั เกต นกั ทดลองท่ียิ่งใหญ่ ชอบ การศกึ ษา หาความรู้จงึ ได้ท่มุ เทเวลา ค้นคว้าหาความรู้ตลอดเวลา พสิ จู น์ได้ในเชิงวิทย์

อริสโตเติล (Aristotle) • อริสโตเตลิ มีความเหน็ วา่ รัฐเป็นประชาคมธรรมชาตธิ รรมชาติ มี ลกั ษณะเป็ นอินทรีย์ คือ ถือวา่ บคุ คลเป็ นสว่ นหนงึ่ ของรัฐและได้รับ ประโยชน์จากรัฐเม่ือรัฐเป็ นประชาคมของมนษุ ย์ จงึ จาเป็นต้องมี กฎหมายเพอื่ จดั ระเบยี บสงั คม โดยธรรมชาตทิ วั่ ไปมนษุ ย์จะอยรู่ ่วมกนั โดยพนั ธะสญั ญาอยา่ งแน่นแฟ้ น • อริสโตเตลิ ถือวา่ รัฐเป็ นสง่ิ สงู สดุ สาหรับสงั คมมนษุ ย์และเห็นวา่ มนษุ ย์ คอื สตั ว์สงั คม (political animals) โดยมีการรวมตวั จากปัจเจก บคุ คลรวมตวั เป็นครอบครัวจากครอบครัวเป็นหมบู่ ้านเพื่อป้ องกนั ตนเอง

แนวคิดอริสโตเติล • การท่ีมนษุ ย์จาเป็ นที่อยใู่ นรัฐเพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้เพอื่ ทาให้ตนเองมี ชีวติ ท่ีดี • อริสโตเติล เห็นวา่ จะเหน็ วา่ เม่ือมีสงั คมขนาดใหญ่ขนึ ้ จงึ จาเป็นจะต้องมี รัฐถึงแม้รัฐจะมีโครงสร้างท่ีไม่ดไี มม่ ีเสถียรภาพอยา่ งไรแตเ่ ป็ น หลกั ประกนั ที่ดีกวา่ มนษุ ย์อยโู่ ดยไมม่ ีรัฐ • เม่ือมนษุ ย์สร้างนครรัฐขนึ ้ ก็มีการพฒั นาสถาบนั หลกั ทางลทั ธิศาสนา และการศกึ ษาเพือ่ อบรมสมาชิกในรัฐให้ความเจริญทงั้ สตปิ ัญญาและ จิตวญิ ญาณ

มนุษยใ์ นสงั คมมีคุณธรรมในการทาใหส้ งั คมมีความสุขโดย อริ สโตเติลแบ่งปัญญาและศีลธรรมเป็ นสองชนิด • 1. คณุ ธรรมทางปัญญา เกิดจากการเรียนรู้ของสงั คม ได้แก่การสง่ั สอน โดยมนษุ ย์โดยธรรมไมร่ ู้อะไรเลย การได้สง่ั สอนโดยการเรียนรู้ถ่ายถอด ร่วมกนั ของคนในสงั คม เม่ือเกิดความรู้ก็จะทาให้จะทาให้มนษุ ย์มีชีวิตที่ ดี เพื่อเป้ าหมายแหง่ ความสขุ • 2. คณุ ธรรมทางศลี ธรรม เกิดจากกระบวนการอบรมบม่ นสิ ยั ของคนใน สงั คมท่ีจะเรียนรู้ในสงิ่ ที่สงั คมยอมรับและนามาเป็ นพืน้ ฐานแห่งความรู้ มนษุ ย์โดยทวั่ ไปมีปัญญาแตไ่ ม่กระทาความดี ทาในสงิ่ ท่ีตรงกนั ข้ามที่ เป็ นความชวั่



คาร์ลมาร์กซ์ 1. วิถีการผลติ แบบเอเชียในวถิ ีการผลิตมีสงั คมสองกลมุ่ ท่ีขดั แย้งกนั คือ ประชาชน และกลมุ่ ผู้ มีอานาจโดยประชาชนจะถกู ผ้กู มุ อานาจกดขี่ขมเหง 2. วถิ ีการผลติ แบบโบราณ คือ สงั คมกรีก-โรมนั ในสงั คมเชน่ นีแ้ บง่ ความสมั พนั ธ์เป็นสอง พวก คือ เสรีชน คนที่ทีอานาจ กบั ทาส 3. วถิ ีการผลติ แบบฟิวดลั Feudal คือ ยโุ รปสมยั กลาง คือความสมั พนั ธ์ คือ ขนุ นางกบั ชาวนาที่ถกู เอารัดเอาเปรียบ 4. วถิ ีการผลติ แบบทนุ นยิ ม จะมีความขดั แย้งระหวา่ งนายจ้างและลกู จ้าง 5. ขดั แย้งและระหวา่ งสองกลมุ่ มีลกั ษณะท่ีมาร์กได้ให้คานยิ ามคือ วตั ถนุ ิยมวิภาษวธิ ี (dialectic materialism) นนั้ หมายถึง การเปลยี่ นแปลงความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง มนษุ ย์ในการผลติ 6. วภิ าษวธิ ี แบง่ ได้ดงั นี ้Thesis คือ ระบบเศรษฐกิจแบบผกู ขาดในยคุ ฟิวดลั Antithesis คือ ระบบเศรษฐกิจแบบการแขง่ ขนั Synthesis คือ ระบบเศรษฐกิจ แบบผกู ขาดสมยั ใหม่

ต่อ • แนวคดิ ของ คาร์ล มากซ์ (Karl Marx) คาร์ล มากซ์ เชื่อวา่ ความ ขดั แย้งและการเปล่ยี นแปลงเป็ นของคกู่ นั เป็ นกฎพืน้ ฐานของชีวติ เป็น สภาพปกตขิ องสงั คม โดยความขดั แย้งเริ่มท่ีเศรษฐกิจซงึ่ หลีกเลย่ี งได้ ยาก แล้วจะนาไปสคู่ วามขดั แย้งทางสงั คมและเช่ือในการใช้ความ ขดั แย้งเป็ นเคร่ืองมือในการเปล่ยี นสงั คม (พรนพ พกุ กะพนั ธ์, 2542 :157-158 )

(ต่อ) Karl Marx กลา่ ววา่ ความขดั แย้งเกิดจากเหตผุ ล ดงั นี ้ การขดั แย้งของทฤษฎีสงั คมวทิ ยาปัจจบุ นั ฐานคติท่ีสาคญั มี 3 ประการ คือ 1. องค์การทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ เป็นผ้กู าหนดรูปแบบ ขององค์กรอื่นๆ ในสงั คม 2. องค์การเศรษฐกิจของสงั คมใดๆ ยอ่ มเป็นต้นกาเนิดการขดั แย้งเชงิ ปฏิวตั ริ ะหวา่ ง ชนชนั้ ในสงั คมนนั้ อยา่ งหลีกเลย่ี งไมพ่ ้นเสมอ เป็นกระบวนการวิภาษวิธี (dialectics) และจะเกิดเป็นยคุ สมยั เป็นสมยั แบง่ สงั คมออกเป็นกลมุ่ เป็นพวก 3. การขดั แย้งจะมีลกั ษณะเป็น 2 หลกั (dipolar) ได้แก่ - ชนชนั้ ที่ถกู เอารัดเอาเปรียบ - ชนชนั้ ที่มอี านาจและเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ

ลกั ษณะของสงั คมทุนนิยม • ลกั ษณะของสงั คมทนุ นยิ ม มาร์กได้แบง่ ออกเป็นโครงสร้างสว่ นบนและ สว่ นลา่ งโครงสร้างสว่ นบนเป็ นโครงสร้างทเ่ี กี่ยวกบั ความคดิ ปรัชญา คา่ นิยม อดุ มการณ์ และกฎหมาย สว่ นโครงสร้างสว่ นลา่ งคอื เป็นการ ผลติ ในทางเศรษฐกิจโดยเรียกวา่ วิถีการผลิต แบง่ ได้คือ พลงั การผลติ ประกอบด้วย แรงงานและเครื่องมอื ในการผลติ และความสมั พนั ธ์ใน การผลติ ประกอบด้วย ทนุ และที่ดนิ





ออกสุ ตก์ อ้ งต์ ระบบความเชื่อก็องต์ แบง่ ระบบสงั คมตามระบบความเช่ือและองค์ความรู้ ออกเป็ น 3 ระดบั คือ 1. ระบบท่ีเป็ นเทวนิยม (theological stage) ในระดบั หรือขนั้ ตอน นีม้ นษุ ย์จะพยายามหาคาตอบวา่ อะไรเป็ นที่มาของชีวติ ซง่ึ ถือวา่ บรรดา ปรากฏการณ์ทงั้ หลายเป็ นผลสืบเนื่องมาจากอานาจของสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ที่จะ ดลบนั ดาลให้เป็ นหรือเกิดขนึ ้ ในระบบนีค้ วามเชื่อและความรู้จะยดึ ติดอยู่ กบั หลกั ของศาสนา

ต่อ 2 ระดบั ของปรัชญานามธรรม (metaphysical stage) ซง่ึ เป็ น ระดบั หรือขนั้ ตอนของสงั คมท่ีความเช่ือได้พฒั นาจากระบบแรกแตเ่ ปลี่ยน จากความเชื่อในสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์มาแสวงหาคาตอบจากธรรมชาตแิ ละถือวา่ ธรรมชาตมิ ีกฎของมนั เองท่ีจะกาหนดความเป็นไปหรือเปล่ยี นแปลงของ สงั คม 3. ระดบั ของวทิ ยาศาสตร์ (positive stage) ซงึ่ ความรู้ความเชื่อของ ระดบั สงั คมจะตงั้ อยบู่ นรากฐานของการสงั เกตการณ์และประสบการณ์ที่ เกิดขนึ ้ จริง แล้วจงึ ใช้เป็ นแนวทางในการเปลีย่ นแปลงปรับปรุงแก้ไขสงั คม

ต่อ

เฮอร์เบิร์ตสเปนเซอร์ • วิธีการในการศกึ ษาทางสงั คมวิทยานนั้ สเปนเซอร์ใช้วธิ ีการทงั้ สปี่ ระการ เป็นเคร่ืองมอื ในอนั ที่จะหาข้อสรุปคอื วิธีการนริ นยั (deductive) อปุ นยั (inductive) วิธีการเปรียบเทียบ (comparative) และ วธิ ีการแสวงหาตวั แปร เอกภาพ หรือตวั แปร รวม ออกจากตวั แปรตา่ งๆ

ตวั อยา่ งสงั คมตามแนวคิดเฮอร์เบิร์ตสเปนเซอร์ • เช่น ในสงั คม ก และสงั คม ข แตกตา่ งกนั ในเร่ืองของสภาวะทาง เศรษฐกิจเมื่อเปรียบเทียบสงั คมทงั้ สองแล้ว ปรากฏวา่ ในสงั คม ก มี ความเชื่อในเร่ือง ภตู ผี ซง่ึ ไมม่ ีในสงั คม ข สว่ นสภาวะอยา่ งอ่ืน คล้ายคลงึ กนั



เอมิลเดอร์ไคม์ • ในทรรศนะของเดอะไฮม์สงั คมวิทยาควรจะเป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนงึ่ แยกออกจากวิชาปรัชญา เพราะในสมยั นนั้ การศกึ ษาสงั คมวทิ ยาอยใู่ น แผนกวชิ าปรัชญา เดอะไฮม์ถือวา่ สงั คมวทิ ยาเกิดขนึ ้ เป็นธรรมชาติ ดงั นนั้ จงึ ควรจะได้ศกึ ษาด้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์เชน่ เดียวกบั วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ

ต่อ • เดอะไคม์ จงึ ชีใ้ ห้เห็นวา่ ข้อเท็จจริงทางสงั คมมีอยจู่ ริง และไมอ่ าจ อธิบายสง่ิ นนั้ ได้ด้วยวทิ ยาศาสตร์สาขาอ่ืน โดยชีใ้ ห้เหน็ ในหนงั สอื “กฎระเบยี บสงั คมวทิ ยา” (The rules of sociological method) วา่ ข้อเท็จจริงในสงั คมเป็นสง่ิ ที่ไมส่ ามารถอธิบายได้ ใน ระดบั บคุ คล เพราะการที่บคุ คลกระทาและรู้สกึ นนั้ เป็นผลสบื เนื่องมาจาก แรงท่ีระบบสงั คมท่ีสว่ นกาหนด พฤตกิ รรมของบคุ คล

ปรากฏการณ์ทางสงั คมจามแนวคิดเอมิลเดอร์ไคม์ • จะเหน็ ได้อยา่ งชดั แจ้งจากประสบการณ์ร่วมในสมาชิกของสงั คมนนั้ และจะเหน็ ได้ชดั จากการสงั เกตการอบรมเลยี ้ งดู ซงึ่ จะเห็นได้วา่ พอ่ แม่ จะฝึกสอนเดก็ ตงั้ แตแ่ รกเกิดให้รู้จกั กิน พดู นง่ั นอน หรือเรียกได้วา่ แทบ ทกุ กริยาบทจนเกิดเป็นนสิ ยั ฉะนนั้ พฤตกิ รรมของบคุ คลจะเป็ นผล เนื่องมาจากอิทธิพลของ • ข้อเทจ็ จริงทางสงั คมก็คอื วธิ ีทางในการกระทาท่ีมีอทิ ธิพลตอ่ บคุ คล และในกลมุ่ หรือสงั คม ก็ยอ่ มจะมีวิธีทางและวิธีการในการท่ีจะมอี ิทธิพล ตอ่ พฤตกิ รรมของบคุ คล

สงั คม • สงั คมใดมีบรู ณาการทางสงั คมสงู สงั คมนนั้ ก็จะมีเอกภาพสงู และภาวะ ไร้ปทสั สถานทางสงั คมต่า ทาให้ปัญหาสงั คมมนี ้อย สงั คมใดมีบรู ณา การทางสงั คมต่า สงั คมนนั้ ก็จะมเี อกภาพทางสงั คมตา่ มีภาวะไร้ ปทสั สถานทางสงั คมสงู และเกิดภาวะวิกฤตทางสงั คม วฒั นธรรมใน ที่สดุ หากไมส่ ามารถเพิม่ บรู ณาการทางสงั คมได้

แมกซ์ เวเบอร์ • Weber ยงั มองเรื่องการแบง่ ชนชนั้ ทางสงั คม (social stratification) ไมไ่ ด้แบง่ ด้วยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจอยา่ งเดียว แต่ แบง่ ด้วยเกียรติ (สถานภาพ) และอานาจ • Weber ได้แก่การมีเหตผุ ลอยา่ งเป็ นทางการ (formal rationality) มนั เก่ียวกบั เรื่องที่ผ้ทู าต้องเลือกซง่ึ วิธีการและ จดุ หมายไว้ด้วยกนั การเลือกต้องใช้กฎสากล (general applied rules) ซง่ึ มาจากโครงสร้างขนาดใหญ่จากองค์กร (bureaucracy) และระบบเศรษฐกิจ เขาศกึ ษาจากประวตั ิศาสตร์ ของชาตติ า่ งๆ เชน่ ตะวนั ตก จีน อนิ เดยี เป็ นต้น

ต่อ

เวเบอร์ • เวเบอร์ มองท่ีองค์กรวา่ เป็นตวั อยา่ งที่ดีของการสร้างความเป็ นเหตผุ ล เขาขยายการอธิบายไปที่สถาบนั ทางการเมือง เขาแบง่ อานาจออกเป็น 3 อยา่ ง 1. (Traditional)=ระบบอานาจประเพณี 2. (Charismatic)=ระบบบารมี 3. (Rational–legal)=ตามเหตผุ ล-กฎหมาย

ทฤษฎีทางสังคมวิทยา ทฤษฏีหลกั ของสงั คมวิทยา คอื 1) ทฤษฏีหน้าท่ี (functionalism) เชน่ การพิจารณาสว่ นตา่ งๆ ของสงั คมแตล่ ะสว่ น เช่น ครอบครัว ศาสนา การเมือง โดยศกึ ษาถงึ หน้าที่ของสว่ นตา่ งๆ มีความสมั พนั ธ์ซงึ่ กนั และกนั เป็นสงั คมทงั้ หมดอยา่ งไร 2) 2) ทฤษฏีความขดั แย้ง (conflict theory) เช่น สงั คมประกอบด้วยสมาชิกที่แบ่งแยกออกเป็น ชนชนั้ ตา่ งๆ มีความสมั พนั ธ์ในลกั ษณะการถกู เอารัดเอาเปรียบ โดยมีผ้ทู ่ีเอารัดเอาเปรียบและ ผ้ทู ี่ถกู เอารัดเอาเปรียบและสงั คมเป็นระบบที่มีความขดั แย้งตลอดเวลา 3) 3) ทฤษฏีการกระทาตอบโต้ (interactionism) เชน่ ความสมั พนั ธ์ตอ่ กนั ของคนในสงั คมเป็น กระบวนการตอบโต้ซงึ่ กนั และกนั มีความผนั แปรอย่เู สมอตามสถานการณ์บคุ คลเป็นผ้สู ร้าง หรือ กาหนดการกระทา ไม่ใช่ถกู กาหนดโดยโครงสร้างทางสงั คม

ทฤษฎีโครงสร้ าง–หน้ าท่ี คาวา่ หน้าท่ี หมายถงึ กระบวนการตา่ งๆ ทีด่ าเนินการไปเพ่ือบารุงรักษา บรู ณาการเพื่อความมนั่ คง คาวา่ โครงสร้าง หมายถงึ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลหนง่ึ ซงึ่ มีแบบแผนในการปฏิบตั ิ ร่วมกนั เพื่อให้บรรลเุ ป้ าหมายเดียวกนั ร่วมกนั ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าท่ี เช่ือวา่ โครงสร้างของสงั คมเป็นสง่ิ สาคญั ท่สี ดุ ของ สงั คม โครงสร้างของแตล่ ะสว่ นของสงั คมจะมีหน้าทข่ี องตนเอง และประสานสาพนั ธ์กบั โครงสร้างอื่นๆ สงั คมจงึ จะมีดลุ ยภาพ นกั ทฤษฎคี นสาคญั ของทฤษฎีนี ้คือ ออกสุ ท์คอมท์ เฮอร์เบริ ท์ สเปนเซอร์ เอมีลี เดอร์ไคม์ นกั ทฤษฎีเหลานีไ้ ด้เสนอแนวความคิดและ สาระสาคญั ไว้พอสงั เขป ดงั นี ้ ออกุสท์ คอมท์ เสนอวา่ สงั คมประกอบด้วยโครงสร้างตา่ งๆ หลายสว่ น เช่นเดียวกบั ร่างกายของมนษุ ย์ทปี่ ระกอบด้วยอวยั วะตา่ งๆ โครงสร้างแตล่ ะสว่ นเหลา่ นี ้ จะทาหน้าทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไปอยา่ งชดั เจน แตต่ า่ งประสานสมั พนั ธ์กนั อยา่ งเป็นระบบ สงั คมจงึ จะดารงอยไู่ ด้อยา่ งสงบสขุ หรือมดี ลุ ยภาพ (Equilibrium)

ทลั คอทท์ พาร์สัน (ค.ศ.1902-1979) นกั สงั คมวิทยาชาวอเมริกนั เป็นนกั ทฤษฎีคน สาคญั ที่ทาให้ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่นิยมเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางจนเป็นทฤษฎีหลกั ของ สงั คมวทิ ยาทฤษฎีหนง่ึ แนวความคดิ ท่ีสาคญั คือ 1. แนวความคดิ เก่ยี วกับองค์การทางสังคม มนษุ ย์เข้าไปอยใู่ นสงั คมและรวมกนั เป็น องค์การด้วยความสมคั รใจ การตดั สินใจกระทาทางสงั คมของบคุ คลจะขนึ ้ อย่กู บั ความสมั พนั ธ์ ระหว่างผ้กู ระทา (Actor) เป้ าหมาย (Goals) วธิ ีการท่ีเลือกใช้ (Means) สถานการณ์ท่ีผ้กู ระทาต้อง เลอื กวิธีใดวธิ ีหนงึ่ (Situational Conditions) และตวั กาหนดเชิงบรรทดั ฐาน คือ

(ต่อ) 2. แนวความคดิ เร่ืองระบบการกระทา ระบบการกระทาเกิดขนึ ้ จากการที่ผ้กู ระทาแสดงบทบาทตามสถานภาพท่ีดารงอยู่ สถานภาพและ บทบาทเหลา่ นี ้จะประสานสมั พนั ธ์กนั ในรูปแบบของระบบตา่ งๆ อนั เป็น ระบบการกระทาระหวา่ งกนั (System of Interaction) 3. แนวความคดิ เร่ืองความจาเป็ นพนื้ ฐานของระบบสังคม ระบบการกระทาทางสงั คมมีความต้องการจาเป็ นพืน้ ฐาน 4 ประการ คอื การบรรลเุ ป้ าหมาย (Goal Attainment) การปรับตวั (Adaptation) การบรู ณาการหรือผสมผสานสว่ นตา่ งๆเข้าด้วยกนั (Inteqration) และการจดั การ กบั ความตงึ เครียดโดยใช้กฎระเบียบตา่ งๆ (Latency)

(ต่อ) 4. แนวความคิดเร่ืองลาดับชัน้ ของข่าวสารในการควบคุมระบบสังคม เนื่องจากระบบยอ่ ยของสงั คมมคี วามเกี่ยวข้องสมั พนั ธ์กนั จงึ ต้องมีลาดบั ขนั้ ของการ ควบคมุ ขา่ วสารเพื่อให้ความสมั พนั ธ์ประสานกลมกลนื กนั โดยระบบวฒั นธรรมจะ ควบคมุ ขา่ วสารของระบบสงั คม ระบบสงั คมจะควบคมุ ระบบขา่ วสารของระบบ บคุ ลกิ ภาพ ระบบบคุ ลกิ ภาพจะควบคมุ ขา่ วสารของระบบอินทรีย์ ตามลาดบั เรียกวา่ The Cybernetic Hierarchy of Control 5. แนวความคดิ เร่ืองส่ือกลางการแลกเปล่ยี น ระบบยอ่ ยของระบบสงั คมจะมีความสมั พนั ธ์ทงั้ ภายในระบบและระหวา่ งระบบ โดยมี ขา่ วสารเป็นสอ่ื สญั ลกั ษณ์กลางในการแลกเปลี่ยน ซง่ึ กระทาได้หลายแนวทาง เช่น 5.1 การแลกเปลีย่ นระหวา่ งระบบโดยใช้สื่อเป็นสญั ลกั ษณ์ เชน่ อานาจ อทิ ธิพล และ ความผ้พู นั เป็นต้น 5.2 การแลกเปลี่ยนภายในระบบใดระบบหนงึ่ มีลกั ษณะเชน่ เดียวกบั การแลกเปล่ียน ระหวา่ งระบบ 5.3 การแลกเปลีย่ นหน้าที่เฉพาะของแตล่ ะระบบ เช่น การปรับตวั การบรรลเุ ป้ าหมาย จะเป็นตวั กาหนดส่อื กลางที่จะใช้ในระบบหรือระหวา่ งระบบ

(ต่อ) 6. แนวความคดิ เร่ืองการเปล่ยี นแปลงทางสังคม การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมควรเป็นแบบวิวฒั นาการ เพราะเหตผุ ลท่สี าคญั คอื 6.1 ทาให้เกิดการจาแนกความแตกตา่ งระหวา่ งระบบยอ่ ยของสงั คม 6.2 ทาให้เกิดการจาแนกความแตกตา่ งในแตล่ ะระบบย่อยของสงั คม 6.3 ทาให้เกิดการเร่งในเร่ืองบรู ณาการของสงั คม เกิดหน่วยหรือโครงสร้างด้านบรู ณาการ ใหม่ๆ 6.4 ทาให้ระบบย่อยของสงั คมสามารถดารงอย่ไู ด้

ทฤษฎกี ารขัดแย้ง ความขดั แย้ง หมายถงึ ปฏสิ มั พนั ธ์ทีม่ ีลกั ษณะของความไมเ่ ป็นมติ รหรือตรงกนั ข้ามหรือไมล่ งรอยกนั หรือความไมส่ อดคล้องกนั ลกั ษณะของความไมล่ งรอยกนั หรือไม่ สอดคล้องกนั นีจ้ ะเกี่ยวข้องกบั ประเด็นตา่ งๆ หลายประเดน็ เชน่ เป้ าหมาย ความคดิ ทศั นคติ ความรู้สกึ คา่ นิยม ความสนใจ ความสมั พนั ธ์ เป็นต้น เป็นทฤษฎีแมบ่ ทท่สี าคญั อีกทฤษฎีหนง่ึ ของสงั คมวทิ ยา เนือ้ หาสาระของ ทฤษฎีสมยั ใหมข่ องทฤษฎีนีส้ บื เนื่องมาจากแนวคดิ ของนกั สงั คมวิทยา ชาวเยอรมนั 2 คน คือ Karl Marx และ George Simmel ทฤษฎีการขดั แย้ง แม้จะถือกาเนิดในยโุ รป ใน เวลาไลเ่ ล่ียกบั ทฤษฎีการหน้าที่ แตเ่ พงิ่ จะได้รับความสนใจในอเมริกา เมื่อทศวรรษท่ี 1950

• Lockwood ยนื ยนั กลทางสงั คมที่ทาให้การขดั แย้งเกิดขนึ ้ 1. การท่ีบคุ คลมีอานาจไมเ่ ทา่ กนั 2. ทรัพยากรที่อยอู่ ยา่ งจากดั 3. ในสงั คมมกั มีกลมุ่ ตา่ งๆท่ีมีเป้ าหมายไมเ่ หมอื นกนั สาระสาคญั ของทฤษฎีการขดั แย้ง 1. ทกุ หน่วยงานมคี วามขดั แย้ง 2. ทกุ หน่วยในสงั คมไมเ่ ป็ นปึกแผน่ และการเปลี่ยนแปลง 3. กลมุ่ บางกลมุ่ ในหน่วยงานบงั คบั กลมุ่ ทางานทาให้ลาบากใจ

ความหมาย ความขดั แย้ง หมายถึง ปฎสิ มั พนั ธ์ท่ีมีลกั ษณะท่ีมีลกั ษณะของความไมเ่ ป็ น มิตรหรือตรงกนั ข้ามหรือไมล่ งรอยกนั ในประเดน็ ตา่ งๆ เชน่ เป้ าหมาย ความคดิ ทศั นคติ ความรู้สกึ คา่ นิยม ความสนใจ

ต่อ • แนวคิดของ ยอร์จ ซมิ เมล (Georg Simmel) ยอร์จ ซมิ เมล มี แนวความคิดว่าความขดั แย้งเป็ นปฏิสมั พนั ธ์แบบหนงึ่ ท่ีเกิดขนึ ้ ในกลมุ่ สมาชกิ ที่มีความสมั พนั ธ์ใกล้ชิดกนั โดยเช่ือวา่ ความขดั แย้งระหวา่ งสอง ฝ่ ายแสดงให้เหน็ ลกั ษณะความสมั พนั ธ์ของทงั้ สองฝ่ าย โดยเป็ นผลจาก การที่มีความรู้สกึ เข้าข้างตนเองมากกว่าเข้าข้างฝ่ ายอ่ืน ความขดั แย้งมี อยทู่ กุ องค์การซงึ่ จะนาไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลงของสงั คม (พรนพ พกุ กะ พนั ธ์, 2542 : 159-161)

(ต่อ) George Simmel กลา่ ววา่ ความขดั แย้งเกิดจากเหตผุ ล ดงั นี ้ 1. ความสมั พนั ธ์ทางสงั คมจะเกิดขนึ ้ ในภาวะสงั คมเป็นระบบ ซง่ึ ความสมั พนั ธ์ทางสงั คม อาจสบื เน่ืองมาจาก กระบวนการทางอินทรีย์ภาพสองกระบวนการ คอื กระบวนการก่อ สมั พนั ธ์และกระบวนการแตกสมั พนั ธ์ 2. กระบวนการดงั กลา่ วเป็นผลสบื เนอ่ื งมาจากทงั้ แรงขบั สญั ชาตญาณและความจาเป็นอนั สบื เนอื่ งมาจากความสมั พนั ธ์ทางสงั คมประเภทตา่ งๆ 3. กระบวนการขดั แย้งเป็นสง่ิ เกา่ แก่แตโ่ บราณของสงั คม แตไ่ มจ่ าเป็นว่าจะต้องเป็นส่งิ ทาลายระบบสงั คมหรือก่อให้เกิดการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมเสมอ 4. ตามความเป็นจริงแล้ว การขดั แย้งเป็นกระบวนการสาคญั อยา่ งหนง่ึ ทดี่ าเนินไปเพอ่ื ดารงรักษาสงั คม หรือสว่ นประกอบบางอยา่ งของสงั คม

สาเหตุของการขัดแย้ง 1.1 ความไมพ่ อเพยี งของทรัพยากร ทาให้เกิดการแขง่ ขนั แย่งชิง เพื่อให้ตนเองสามารถ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์และเป้ าหมาย จนบางครัง้ ละเลยความรู้สกึ และความสมั พนั ธ์ของทมี งาน และเพ่อื นร่วมงาน 1.2 ลกั ษณะของงานทตี่ ้องพงึ่ พากนั ถ้าหน่วยงานหรือบคุ คลกลมุ่ ใดมีความเก่ียวข้อง สมั พนั ธ์กนั ความขดั แย้งกจ็ ะมคี วามแปรผนั และรุนแรงมากขนึ ้ 1.3 การสื่อสารทไี่ มช่ ดั เจน การสอื่ สารทดี่ จี ะต้องยดึ หลกั “4Cs” คอื - correct เนือ้ หาต้องถกู ต้อง เป็นจริง ไมป่ ิดบงั ซอ่ นเร้น - clear ต้องมีความชดั เจน ผ้รู ับข้อมลู จะต้องเข้าใจสง่ิ ทผ่ี ้ใู ห้ข้อมลู ต้องการสอ่ื สารได้อย่างถกู ต้อง - concise ข้อมลู ต้องกระชบั ไม่เย่ินเยือ้ เน้นประเดน็ สาคญั ของเนือ้ หาที่ ต้องการส่ือสาร - complete เนือ้ หาจะต้องมีความสมบรู ณ์ ไมต่ กหล่นสาระท่ีมี ความสาคญั ต่อการสือ่ สารในครัง้ นนั้ ๆ

(ต่อ) 1.4 ความคลมุ เครือในเรื่องขอบเขตของงานและหน้าทคี่ วามรับผิดชอบของผ้เู กี่ยวข้อง ได้แก่ ความไมช่ ดั เจนในเรื่องการกาหนดหน้าท่ี และความรับผิดชอบของแตล่ ะคน ความไม่ ชดั เจนของขนั้ ตอนการทางาน และความซา้ ซ้อนของการมอบหมายงานของผ้บู ริหาร 1.5 คณุ ลกั ษณะของแตล่ ะบคุ คล เนื่องจากแต่ละบคุ คลมีความคิด ความคาดหวงั ความ เช่ือ คา่ นิยม ประเพณี การอบรมเลยี ้ งดู การศกึ ษา ประสบการณ์ ความฝังใจ ทแ่ี ตกตา่ งกนั 1.6 บทบาทและหน้าที่ เน่ืองจากแตล่ ะทา่ นได้รับบทบาทหน้าท่ที ี่แตกตา่ งกนั ไปใน สถานการณ์นนั้ ๆ นอกจากนี ้ภารกิจและเป้ าหมายทไี่ ด้รับกแ็ ตกตา่ งกนั ไป ดงั นนั้ แนวคิด หลกั คิดและบทบาทของแตล่ ะบคุ คลทีแ่ ตกตา่ งกนั จงึ เป็นเหตขุ องความขดั แย้งได้อยา่ งเป็น อยา่ งดี

วธิ ีการจดั การกับความขัดแย้ง Kenneth W. Thomas และ Ralph H. Kilmann ได้ศกึ ษาวา่ ในกรณีท่ีคนเราต้องเผชิญกบั ความขดั แย้ง เราจะมีวธิ ีการจดั การ (หรือขจดั ) ความขดั แย้งออกเป็น 5 แนวทาง ดงั นี ้ 1. การเอาชนะ (competition) 2. การยอมรับ (accommodation) 3. การหลีกเลีย่ ง (avoiding) 4. การร่วมมือ (collaboration) 5. การประนีประนอม (compromising)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook