Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 8 สถาบันทางการเมือง

บทที่ 8 สถาบันทางการเมือง

Published by sulai8444, 2019-09-25 03:35:27

Description: บทที่ 8 สถาบันทางการเมือง

Search

Read the Text Version

บทที่ 8 สถาบันทางการเมอื ง สถาบนั หรือ Institution มีความหมายวา่ แบบอยา่ งแห่งพฤติกรรมที่สร้างข้ึน และมีแบบอยา่ งปฏิบตั ิ สืบตอ่ กนั มาอนั เป็นท่ียอมรับในสงั คม สาหรับแบบอยา่ งพฤติกรรมดงั กล่าวมีลกั ษณะพฤติกรรมท่ีมน่ั คงและ ในทุกสังคมย่อมมีสถาบนั เกิดข้ึนตามมิติต่าง ๆ แห่งพฤติกรรมมนุษย์ เช่น สถาบนั ครอบครัว สถาบนั เศรษฐกิจ และสถาบนั ทางการเมือง เป็นตน้ 1 ในส่วนของสถาบนั ทางการเมืองมีลกั ษณะสาคญั ดงั น้ี 1. เป็นสถาบนั ที่มีโครงสร้างแน่นนอนและสามารถศึกษาได้ 2. มีหนา้ ท่ีในการปฏิบตั ิกิจกรรมทางการเมืองอยา่ งตอ่ เน่ือง 3. มีลกั ษณะเป็ นแบบแผนอย่างใดอย่างหน่ึงของพฤติกรรมทางการเมือง ซ่ึงประชาชน ทวั่ ไปยอมรับและมีการปฏิบตั ิตามแบบแผนน้นั 4. เป็นสถาบนั ท่ีมีลกั ษณะแสดงถึงความสมั พนั ธ์ทางการเมืองระหวา่ งสมาชิกของสงั คม โครงสร้างของสถาบนั ทางการเมอื ง สถาบนั ทางการเมืองเป็ นเน้ือหาหรือขอบเขตท่ีสาคญั สาหรับการศึกษารัฐศาสตร์ และท้งั น้ีเมื่อได้ ศึกษาถึงโครงสร้างของการปฏิบตั ิหน้าที่ของสถาบนั การเมืองในปัจจุบนั แล้ว กล่าวไดว้ ่าประกอบด้วย รัฐธรรมนูญ สถาบนั ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ สถาบนั บริหาร และสถาบนั ตุลาการ 1. รัฐธรรมนูญ ในวิชาการทางรัฐศาสตร์ถือว่ารัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดและกฎหมายมูลฐาน เพราะ รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายท่ีวางกาหนดกฎเกณฑ์เก่ียวกับกลไกของรัฐบาลโดยท่ัวไป นอกจากน้ัน รัฐธรรมนูญมีลกั ษณะการบงั คบั ใชเ้ หนือกฎหมายธรรมดา ฉะน้นั กฎหมายใดที่ขดั กบั รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ฉบบั น้นั ก็เป็ นโมฆะไม่มีผลบงั คบั ตามกฎหมาย เพราะกฎหมายท้งั หมดภายในรัฐจะตอ้ งสอดคลอ้ งหรือไม่ 1 อานนท์ อาภาภิรม, 2545, หนา้ 56.

ขดั กบั บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ2 ปัจจุบนั ทุกประเทศท่ีมีเอกราชต่างมีรัฐธรรมนูญเพื่อใชเ้ ป็ นหลกั ในการ ปกครองประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงรัฐประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญเป็ นเครื่องมือสาคัญที่สุดในการ อานวยการการปกครองใหบ้ รรลุเป้ าหมายประชาธิปไตย ความหมายของรัฐธรรมนูญ มาร์แชล เปรโล่3 ระบุวา่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ ศาสตร์วา่ ดว้ ยกฎขอ้ บงั คบั ทางกฎหมายที่จดั ต้งั อานาจของผปู้ กครองรัฐ การใชอ้ านาจของผปู้ กครอง และการสืบต่ออานาจของผปู้ กครอง หลวงประดิษฐ์มนูธรรม4 ได้ให้ความหมายของคาว่า “รัฐธรรมนูญ” คือ กฎหมายธรรมนูญการ ปกครองแผน่ ดิน เป็นกฎหมายที่บญั ญตั ิถึง ระเบียบแห่งอานาจสูงสุด ในแผน่ ดินท้งั หลาย และวิธีการทวั่ ไป แห่งอานาจเหล่าน้ี หรือจะกล่าวอีกนัยหน่ึงว่า กฎหมายธรรมนูญการปกครอง วางหลกั ทว่ั ไปแห่งอานาจ สูงสุดในประเทศ จรูญ สุภาพ5 อธิบายถึงรัฐธรรมนูญวา่ หมายถึง บทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั การจดั ต้งั องคก์ ารทางการเมือง แห่งรัฐและอานาจขององคก์ ารดงั กล่าว รวมตลอดถึงขอบเขตการใชอ้ านาจทางการเมืองการปกครองและ ขอ้ จากดั ต่างๆของอานาจอนั สาคญั น้ี นอกจากน้ีรัฐธรรมนูญจะกาหนด สิทธิและหน้าที่ของประชาชน และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลกบั รัฐและหน่วยอานาจทางการปกครองของรัฐ บวรศกั ด์ิ อุวรรณโณ6 อธิบายว่า รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดท่ีสาคญั ยิ่งที่จะกาหนดความ เป็ นไปของทุกคนในประเทศ ต่อพลเมืองทุกคนเพราะ เป็ นเอกสารท่ีเป็ นกฎหมายที่กาหนดการตดั สินใจ ของประเทศ และกาหนดสิทธิและหนา้ ท่ี ตลอดจนเสรีภาพของคนทุกคนในสงั คม 2 โกวทิ วงศส์ ุรวฒั น,์ อา้ งถึงในอานนท์ อาภาภิรม, 2545, หนา้ 57. 3 อา้ งถงึ ในรุจริ า เตชางกลู , สุรพนั ธ์ ทพั สุวรรณ, 2545, หนา้ 31. 4 อา้ งถงึ ในปรัชญา เวสารัชช,์ 2534, หนา้ 58. 5 จรูญ สุภาพ, 2537, หนา้ 73. 6 บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ, 2542, หนา้ 14.

จากความหมายดงั กล่าวขา้ งตน้ เราอาจสรุปความหมายของคาว่า “รัฐธรรมนูญ” ไดด้ งั น้ีคือ รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดท่ีใช้ในการปกครองประเทศ โดยกาหนดรูปแบบ ระเบียบ โครงสร้าง ตลอดจนแนวทางในการปกครองประเทศ รวมไปถึงการอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง อานาจรัฐ กบั การ ปฏิบตั ิตนของประชาชน อยา่ งเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เพื่อใหป้ ระชาชนอยใู่ นรัฐอยา่ งร่มเยน็ เป็ นสุข โดยการ จดั สรรอานาจต่าง ๆ บนพ้ืนฐานของความชอบธรรมมีรูปแบบการปกครองโดยให้ความยุติธรรมเสมอหนา้ กนั เทา่ เทียมกนั มีหลกั ประกนั ความเป็นพลเมืองแห่งรัฐ ความแตกต่างของ “กฎหมายรัฐธรรมนูญ” และ “รัฐธรรมนูญ” ฤทธิชยั แกมนาค7 อธิบายถึงความแตกต่างระหวา่ ง กฎหมายรัฐธรรมนูญ กบั รัฐธรรมนูญ ไวว้ า่ คา วา่ “กฎหมายรัฐธรรมนูญ” ( Constitutional law ) กบั คาวา่ “รัฐธรรมนูญ” ( Constitution )ในทางวชิ าการมี ความหมายแตกต่างกนั คาว่า กฎหมายรัฐธรรมนูญ หมายถึงกฎหมายสาขามหาชน ท่ีวางระเบียบเก่ียวกบั สถาบนั ทางการเมืองของรัฐ เช่น สถาบนั ประมุขของรัฐ สถาบนั นิติบญั ญตั ิสถาบนั บริหาร สถาบนั ตุลาการ ฯลฯ เป็นตน้ การศึกษาวชิ ากฎหมายรัฐธรรมนูญ จึงเป็นการศึกษาถึงกฎเกณฑอ์ งคก์ ร ตลอดจนสถาบนั ต่าง ๆ ที่บญั ญตั ิไวใ้ นรัฐธรรมนูญ กฎหมายรัฐธรรมนูญจึงมีความหมายกวา้ ง เพราะจะหมายถึงกฎหมายหลายฉบบั หลกั เกณฑห์ ลายเร่ือง สถาบนั ทางการเมืองหลายสถาบนั ในรัฐ รวมท้งั ครองคลุมถึงรัฐธรรมนูญ และคลุมถึง กฎเกณฑ์การปกครองประเทศ ท่ีไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรด้วย (เช่นกฎเกณฑ์การปกครองของประเทศ องั กฤษ) กฎหมายรัฐธรรมนูญจึงเป็นช่ือรวมใชเ้ รียกกฎหมายต่าง ๆ เกี่ยวกบั สถาบนั การเมือง แต่รัฐธรรมนูญ เป็ นช่ือเฉพาะของกฎหมาย เป็ นหน่ึงในกฎหมายหลายประเภทของกฎหมาย รัฐธรรมนูญเท่าน้นั ดงั น้นั เวลาเราพูดถึงรัฐธรรมนูญ เราจะหมายถึงกฎหมายฉบบั หน่ึงท่ีเป็ นเร่ืองเกี่ยวกบั การวางระเบียบในการปกครองประเทศ รัฐธรรมนูญเป็ น กฎหมายที่มีความสาเร็จเด็จขาดในตวั เอง แสดง ความเป็ นกฎหมายอยใู่ นตวั แต่เม่ือพูดถึงวิชาที่ใช้เรียนและเรียกกนั ทวั่ ไป ซ่ึงเป็ นเรื่องของหลกั การหรือ ทฤษฎีเราจะเรียกว่า เรียนวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ แต่ท้งั น้ีรัฐธรรมนูญนบั วา่ มีความสาคญั ต่อประชาชน เป็นอยา่ งมาก เพราะวา่ รัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายท่ีมีไวร้ ับรองสิทธิเสรีภาพ ผลประโยชน์ประชาชนและเป็ น กฎหมายที่บญั ญตั ิข้ึนเพอ่ื คุม้ ครองสิทธิเสรีภาพ ผลประโยชน์ของประชาชนดว้ ย นอกจากน้นั รัฐธรรมนูญยงั กาหนดขอบเขตอานาจหนา้ ท่ีของผปู้ กครอง ซ่ึงเป็ นหลกั ประกนั ไม่ให้ผปู้ กครองล่วงละเมิดในสิทธิอนั ชอบ ธรรมของประชาชน และรัฐธรรมนูญยงั เป็ นเครื่องกาหนดทิศทางในการดาเนินการบริหารประเทศของ 7 .ฤทธิชยั แกมนาค, http://mcucr.com/home/includes/editor/assets/bookpol.pdf คน้ เมื่อ 4 กนั ยายน 2558.

รัฐบาล ซ่ึงจะทาให้รัฐบาลสามารถที่จะดาเนินงานให้บรรลุเป้ าหมายที่วางไวเ้ พ่ือสนองความตอ้ งการของ ประชาชน การแบ่งประเภทรัฐธรรมนูญ การแบง่ ประเภทของรัฐธรรมนูญข้ึนอยกู่ บั หลกั เกณฑท์ ่ีใชว้ า่ จะใชห้ ลกั เกณฑ์ใด เน่ืองจากมีจานวน มาก เช่น การแบ่งตามรูปแบบรัฐบาล การแบ่งตามรูปแบบของรัฐ การแบ่งตามกาหนดเวลาท่ีใช้ การแบ่ง ตามวธิ ีการบญั ญตั ิ8 ในการแบ่งประเภทของรัฐธรรมนูญในท่ีน้ีจะขอยกตวั อยา่ งหลกั เกณฑท์ ี่ไดร้ ับความนิยมสูงสุดและ เป็ นที่รู้จกั กันอย่างแพร่หลายคือ การแบ่งตามวิธีการบญั ญัติ ที่สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ รัฐธรรมนูญแบบไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร หรือ จารีตประเพณี (Unwritten Constitution) และ รัฐธรรมนูญ ลายลกั ษณ์อกั ษร (Written Constitution) 1. รัฐธรรมนูญไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือจารีตประเพณี รัฐธรรมนูญแบบน้ีมีองั กฤษเป็ น แม่แบบ ซ่ึงในปัจจุบนั มีเพียงไม่กี่ประเทศท่ีใช้รัฐธรรมนูญแบบน้ี เช่น อิสราเอล นิวซีแลนด์ เป็ นต้น รัฐธรรมนูญแบบไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร จะไม่มีการร่างหรือบญั ญตั ิข้ึนในรูปของเอกสารฉบบั ใดฉบบั หน่ึง แต่อาศยั จารีตประเพณีปฏิบตั ิทางการเมืองการปกครองที่สืบทอดต่อกนั มา ซ่ึงเป็ นที่ยอมรับอยา่ งแพร่หลาย ในหมู่ประชาชน แต่ท้งั น้ีก็ไม่ไดห้ มายความวา่ รัฐธรรมนูญแบบน้ีจะยึดหลกั จารีตประเพณีเพียงประเด็น เดียว หากแต่ยงั คงคานึงถึงกฎเกณฑ์อื่น ๆ ที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรประกอบดว้ ย เช่น รัฐธรรมนูญองั กฤษก็มี การยึดโยงกับ กฎบตั รหรือมหาเอกสาร “แม็กนาคาร์ตา” (Magna Carta) ท่ีมีใจความสาคัญกล่าวถึง พระราชบญั ญตั ิการจากดั พระราชอานาจขององคพ์ ระมหากษตั ริย์ เช่น Bill of Rights, Petition of Rights กฎหมายท่ีตราข้ึนดว้ ยรัฐสภา คาพพิ ากษาของศาลยตุ ิธรรม เป็นตน้ 2. รัฐธรรมนูญแบบลายลกั ษณ์อกั ษร นบั เป็ นรัฐธรรมนูญท่ีประเทศโดยส่วนใหญ่เลือกใช้ กันอย่างแพร่หลายนับต้ังแต่ศตวรรษท่ี 18 เป็ นต้นมา โดยถือกันว่ารัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาเป็ น รัฐธรรมนูญลายลกั ษณ์อกั ษรที่มีความเก่าแก่ท่ีสุด เพราะเป็ นฉบบั แรกของโลกและยงั คงใชอ้ ยจู่ นถึงปัจจุบนั ซ่ึงรัฐธรรมนูญฉบบั ดงั กล่าวประกาศใชต้ ้งั แต่ปี ค.ศ. 17879 จนถึงปัจจุบนั กล่าวไดว้ า่ รัฐธรรมนูญแบบลาย 8 วษิ ณุ เครืองาม, 2540, หนา้ 112-113. 9 สนธิ เตชานนั ท,์ 2550, หนา้ 57.

ลกั ษณ์อกั ษรมีลกั ษณะเด่นตรงท่ี มีการแบ่งหมวดหมู่ เรียงตามมาตรา ซ่ึงสะดวกต่อการนาไปบงั คบั ใชแ้ ละ อา้ งอิง อย่างไรก็ตามหากพิจารณาในทางปฏิบตั ิสามารถกล่าวไดว้ า่ รัฐธรรมนูญของทุกประเทศลว้ นเป็ น รัฐธรรมนูญท่ีมีการผสมผสานของรูปแบบท้งั 2 รูปแบบท้งั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และจารีตประเพณีหรือไม่มี ลายลกั ษณ์อกั ษร ทมี่ าของรัฐธรรมนูญ 1. โดยการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็ นค่อยไป (Gradual Evolution) สาหรับการ เปลี่ยนแปลงอยา่ งค่อยเป็ นค่อยไปของรัฐธรรมนูญน้นั ตวั อยา่ งที่ดีท่ีสุด คือ รัฐธรรมนูญขององั กฤษ ซ่ึงเป็ น ผลจากการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กทีละน้อย โดยเริ่มจากการปกครองระบอบกษตั ริยส์ มบูรณาญาสิทธิราชย์ ต่อมา อานาจถูกเปล่ียนมือจากกษัตริยไ์ ปยงั กลุ่มผูแ้ ทนของประชาชนทีละเล็กทีละน้อย โดยเริ่มจาก บทบญั ญตั ิ แมกนา คาร์ตา (Magna Carta) ซ่ึงบรรดาเจา้ ขุนมูลนายขององั กฤษร่วมกนั ทาเป็ นทานองบงั คบั พระเจา้ จอห์น ให้น้อมรับสิทธ์ิบางอย่างของขุนนางและเอกชนในปี ค.ศ.1215 ซ่ึงชาวองั กฤษถือว่าเป็ น จุดเริ่มตน้ แห่งรัฐธรรมนูญของตน และยงั มีช่วงเวลาสาคญั ของประวตั ิศาสตร์องั กฤษตอนหน่ึง ก็คือ พระเจา้ จอร์จที่ 1 (George I) ซ่ึงข้ึนครองราชยใ์ นปี ค.ศ.1714 เป็ นชาวเยอรมนั จากแควน้ Hannover (พระเจา้ จอร์จท่ี 1 เป็ นตน้ ราชวงศ์ Windsor ที่ยงั ปกครองประเทศองั กฤษในปัจจุบนั ) เน่ืองจากพระเจา้ จอร์จที่ 1 เป็ นชาว เยอรมนั และไม่สามารถตรัสภาษาองั กฤษได้ รวมท้งั พระองค์ไม่สนพระทยั กิจการบา้ นเมืองขององั กฤษ เทา่ ไรเลย ทาใหอ้ านาจในการปกครองต่าง ๆ กเ็ ร่ิมเปลี่ยนมือไปสู่คณะรัฐมนตรี การท่ีปฏิบตั ิเช่นน้ีสืบมาเป็ น เวลานาน ทาให้อานาจทางการปกครองท่ีแทจ้ ริงตกมาอยูก่ บั ผูแ้ ทนของประชาชนในที่สุด และอานาจน้ีก็ ไดร้ ับการรับรองวา่ เป็นอานาจท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย ซ่ึงเป็ นส่วนหน่ึงของรัฐธรรมนูญแบบจารีตประเพณีของ องั กฤษนน่ั เอง 2. โดยการปฏิวัติ (Revolution) หรือรัฐประหาร (Coup d’Etat) การปฏิวตั ิ (Revolution) คือ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งขนานใหญ่ อยา่ งรวดเร็วแทบจะเรียกไดว้ า่ จากหนา้ มือเป็ นหลงั มือ การปฏิวตั ิเป็ น การลม้ ลา้ งรัฐบาลโดยการใชก้ าลงั รุนแรงและประชาชนเป็ นผทู้ าการปฏิวตั ิเป็ นส่วนรวม เช่น การปฏิวตั ิคร้ัง ใหญ่ของประเทศฝรั่งเศส ใน ค.ศ.1781 และการปฏิวตั ิในประเทศรัสเซีย ค.ศ.1817 เป็ นตวั อยา่ งของการ เปล่ียนแปลงระบอบการเมืองจากระบบกษตั ริยไ์ ปสู่ระบอบอื่นในทนั ทีทนั ใด และมีการนองเลือด

ส่วนการรัฐประหาร (Coup d’Etat) คือ การยดึ อานาจของกลุ่มบุคคล เช่น คณะทหาร เป็ นตน้ การ กระทารัฐประหารน้นั เป็นการลม้ ลา้ งรัฐบาลซ่ึงเพง่ เล็งถึงตวั บุคคลในคณะรัฐบาลเท่าน้นั เช่น การปฏิวตั ิอาจ เกิดข้ึนเมื่อประชาชนมีความไม่พอใจรัฐบาลท่ีปกครองอยู่อย่างรุนแรง และไม่สามารถท่ีจะเปลี่ยนแปลง รัฐบาลคณะน้นั ไดโ้ ดยวธิ ีการที่ชอบดว้ ยกฎหมายตามระบอบการปกครองท่ีมีอยู่ เมื่อประชาชนถูกบีบบงั คบั หนกั เขา้ และเห็นวา่ ระบอบการปกครองควรจะตอ้ งเปล่ียนแปลงไปสู่การปกครองระบอบใหม่จึงเกิดการ ปฏิวตั ิข้ึน เม่ือมีการปฏิวตั ิกอ็ าจจะเกิดสงครามกลางเมืองหรือเกิดการจลาจลข้ึนจนกวา่ จะมีรัฐบาลที่มน่ั คงทา การปกครองประเทศ บางคร้ังผทู้ ี่มีอานาจอยรู่ ะหวา่ งปฏิวตั ิ ไดจ้ ดั ให้มีการร่างรัฐธรรมนูญออกมาใชบ้ งั คบั ซ่ึงส่วนใหญม่ กั จะเป็นการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของรัฐจากอยา่ งหน่ึงมาเป็นอีกอยา่ งหน่ึง 3. โดยการยกร่าง (Deliberate Creation) รัฐธรรมนูญท่ีมีกาเนิดมาจากการยกร่างน้ี ส่วนมากมกั เกิดข้ึนหลงั จากที่ไดม้ ีรัฐใหมเ่ กิดข้ึน หลงั จากท่ีรัฐใดรัฐหน่ึงไดร้ ับเอกราชหลุดพน้ จากสภาพการ เป็นอาณานิคมของรัฐอีกรัฐหน่ึง เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาไดเ้ ป็นประเทศเอกราชหลุดพน้ จากการปกครอง ของจกั รวรรดิบริติช ในปี ค.ศ.1676 ซ่ึงต่อมาในปี 1687 ก็ไดม้ ีการประการใช้รัฐธรรมนูญของประเทศ สหรัฐอเมริกาข้ึน ในทานองเดียวกนั กบั ประเทศอินเดีย พม่า มาเลเซีย และบรรดาประเทศในทวีปแอฟริกา ท้งั หลาย นอกจากน้ี บรรดารัฐที่เกิดข้ึนใหม่ในทวีปยโุ รปภายหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี 1 อนั สืบเน่ืองมาจาก สนธิสญั ญาระหวา่ งประเทศ เช่น ประเทศยโู กสลาเวยี โปแลนด์ ฟิ นแลนด์ เป็ นอาทิ ก็ไดย้ กร่างรัฐธรรมนูญ ข้ึนหลงั จากที่ไดร้ ับการรับรองวา่ เป็นประเทศเอกราชจากบรรดาประเทศตา่ ง ๆ แลว้ 4. โดยกษัตริย์พระราชทานให้ (Grant) รัฐส่วนใหญ่ในทวีปเอเชียและยุโรปตาม ประวตั ิศาสตร์ มกั จะมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กษตั ริยอ์ ยเู่ หนือกฎหมาย กษตั ริยม์ ีอานาจ อย่างไม่มีขอบเขตเป็ นเจา้ ชีวิต เป็ นเจ้าของทุกส่ิงทุกอย่างในรัฐ ต่อมากษตั ริย์อาจมีความคิดว่าควรจะมี กาหนดอานาจของพระองค์และวิธีการใช้อานาจอนั ให้เป็ นที่แน่นอน อาจจะเป็ นเพราะกษตั ริยเ์ ห็นว่ามี วิธีการอ่ืนอนั จะนามาซ่ึงความเจริญของรัฐ กษตั ริยบ์ างพระองค์ทรงกาหนดพระราชอานาจเนื่องจากถูก บงั คบั หรือทาเพื่อเป็ นการต่อรองกบั ขุนนางและประชาชน รัฐธรรมนูญซ่ึงถือกาเนิดมาจากการที่กษตั ริย์ พระราชทานให้ มีลกั ษณะที่กษตั ริยท์ รงยนิ ยอมจะใชอ้ านาจตามวธิ ีที่กาหนดไวห้ รือผา่ นองคก์ รที่กาหนดไว้ รัฐธรรมนูญน้ีอาจถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ตามความประสงค์ของกษตั ริย์ แต่ในบางกรณีกษัตริย์จะ เปลี่ยนแปลงแกไ้ ขรัฐธรรมนูญในบางระบอบไมไ่ ดน้ อกจากจะไดร้ ับความยนิ ยอมจากประชาชน

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ในการท่ีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดอนั เป็นแมบ่ ทที่กาหนดระบอบการปกครองและวางกรอบ กติกาทางการเมือง การแกไ้ ขกฎหมายรัฐธรรมนูญจึงทาไดย้ ากกวา่ กฎหมายปกติ แต่อยา่ งไรก็ตามการเปิ ด โอกาสให้รัฐธรรมนูญได้รับการแก้ไขนับเป็ นเร่ืองที่ดี เพราะเม่ือกาลเวลาผนั แปรไปย่อมส่งผลให้ รัฐธรรมนูญเกิดความลา้ สมยั ไม่เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกบั ระบบการปกครองได้ การแกไ้ ขรัฐธรรมนูญสามารถกระทาไดด้ งั น้ี 1. การแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยรัฐสภา รัฐธรรมนูญของประเทศโดยส่วนใหญ่มีบทบญั ญตั ิวา่ ด้วยการแก้ไข โดยให้สมาชิกรัฐสภาเข้าชื่อร่วมกันตามเกณฑ์จานวนท่ีกาหนดเสนอญัตติขอแก้ไข รัฐธรรมนูญต่อรัฐสภาแลว้ ดาเนินการพิจารณาแกไ้ ขรัฐธรรมนูญตามกระบวนการพิจารณากฎหมายของ รัฐสภา 2. การแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยประชามติ การแกไ้ ขรัฐธรรมนูญบางประเทศมาจากการริเร่ิม ของประชาชนเขา้ ชื่อร้องตามจานวนที่กาหนดเพ่ือใหร้ ัฐสภาพิจารณาแกไ้ ข และกระบวนการสุดทา้ ยตอ้ งให้ ประชาชนลงประชามติเพ่ือให้เสียงส่วนใหญ่ “รับ” หรือ “เห็นชอบ” ให้รัฐธรรมนูญท่ีแกไ้ ขแลว้ ใช้บงั คบั ตอ่ ไป 3. การแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ เป็ นการแกไ้ ขโดยการจดั ต้งั กลุ่มบุคคล ข้ึนมาคณะหน่ึงให้เป็ นคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ หรือท่ีเรี ยกว่า สภาร่างรัฐธรรมนูญ ซ่ึงอาจ ประกอบดว้ ยบุคคลหลายประเภท เช่น นกั วิชาการดา้ นนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ตวั แทนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ เป็ น ตน้ 4. การแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยดุลพินิจเชิงตุลาการ บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญบางมาตรา อาจนาไปสู่ข้อถกเถียงจนนาไปสู่การตีความและการตัดสินของศาล กรณีเช่นน้ีถือว่าเป็ นการแก้ไข รัฐธรรมนูญโดยดุลยพนิ ิจเชิงตุลาการ นบั เป็นการแกไ้ ขรัฐธรรมนูญแบบไมเ่ ป็นทางการ 5. การแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยการปฏิวัติหรือรัฐประหาร การแกไ้ ขรัฐธรรมนูญในกรณีน้ี เป็นการแกไ้ ขโดยผมู้ ีอานาจของคณะปฏิวตั ิหรือรัฐประหารประกาศยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงบทบญั ญตั ิของ รัฐธรรมนูญตามท่ีเห็นสมควรวา่ ควรเป็นอยา่ งไร

2. สถาบันนิตบิ ัญญตั ิ สถาบนั ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิมีหน้าท่ีสาคญั โดยตรงในการออกกฎหมาย ซ่ึงเป็ นกลไกและเคร่ืองมือใน การบริหารการปกครองประเทศ อีกท้งั ยงั ทาหนา้ ที่คุม้ ครองรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ หรือรัฐสภาทาหนา้ ท่ีควบคุมการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีหรือการบริหารของฝ่ ายบริหารดว้ ย เช่น ควบคุมการใชจ้ ่ายเงิน และระบบภาษีอากรของรัฐบาล และทาหน้าท่ีในการไวว้ างใจหรือไม่ไวว้ างใจ ฝ่ ายบริหารอนั ได้แก่ รัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือท้งั คณะก็ได้ 1. โครงสร้างของสถาบันนิติบัญญัติ ไดแ้ ก่ ประเภทของสภานิติบญั ญตั ิ แหล่งท่ีมาของสภานิติ บญั ญตั ิ จานวนสมาชิกของสภานิติบญั ญตั ิ การแบ่งงานหรืออานาจ หนา้ ที่ของสภานิติบญั ญตั ิ เป็ นตน้ มี ความแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละประเทศ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี10 1.1 ระบบของสภา แบง่ ออกเป็น 2 ระบบดงั น้ี - ระบบสภาเดียว ระบบน้ีไม่เป็ นที่นิยมกันมากนัก เพราะมีขอ้ เสียตรงที่การผ่านร่าง กฎหมายอาจกระทาตามอาเภอใจ จนขาดความรอบคอบรัดกมุ ส่งผลเสียต่อสังคมได้ แต่ในทางตรงกนั ขา้ มมี ขอ้ ดีอยทู่ ี่ความรวดเร็ว ทนั ต่อเหตุการณ์ดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงกวา่ ระบบสองสภา - ระบบสองสภา คือ ระบบที่มีท้งั สภาสูงและสภาล่าง ซ่ึงแต่ละประเทศอาจมีชื่อเรียก แตกต่างกนั ไป เช่น อเมริกาเรียก วุฒิสภา และสภาผูแ้ ทนราษฎร องั กฤษเรียก สภาขุนนาง และสภาสามญั เป็ นตน้ ระบบสองสภาเป็ นท่ีนิยมซ่ึงกว่า 2 ใน3 ของประเทศทว่ั โลกใช้ระบบน้ีเนื่องจากมีขอ้ ดีหลาย ประการ เช่น มีความรอบคอบ รัดกุมในการออกกฎหมายแต่ละฉบบั เพราะมีการกลนั่ กรองถึง 2 ช้นั มี ประสิทธิภาพสูงในการทาหน้าที่ตรวจสอบถ่วงดุลสถาบนั บริหาร เพราะท้งั 2 สภาท่ีช่วยช้ีถึงจุดบกพร่อง ของรัฐบาล 1.2 คณะกรรมาธิการสภา สถาบนั นิติบญั ญตั ิท้งั วุฒิสภาและสภาผแู้ ทนราษฎรมีการแบ่ง สมาชิกให้ทาหนา้ ท่ีในการพิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่อยใู่ นอานาจหนา้ ท่ีของสภาในรูปของ คณะกรรมาธิการแลว้ รายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการจึงมีอานาจออกคาส่ังเรียกเอกสารจากบุคคลใด ๆ หรือเรียกบุคคลใด ๆ มาแถลงขอ้ เท็จจริง หรือแสดงความเห็นในกิจการที่กระทา หรือในเร่ืองท่ีพิจารณา สอบสวนหรือศึกษาอยไู่ ด้ คณะกรรมาธิการสภาแบง่ ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ไดด้ งั น้ี 10 Heywood, Roskin, Cord, Medeiros and Jones อา้ งถึงในบูฆอรี ยหี มะ, 2554, หนา้ 131.

- คณะกรรมาธิการสามญั คือ คณะกรรมาธิการท่ีสภาเลือกจากบุคคลที่เป็ นสมาชิกสภา รวมกนั เป็ นคณะกรรมาธิการ และต้งั ไวเ้ ป็ นการถาวรตลอดอายุของสภา โดยมีจานวนและคณะตามความ จาเป็ นในกิจการของสภา - คณะกรรมาธิการวิสามญั คือ คณะกรรมาธิการท่ีสภาแต่งต้งั จากบุคคลซ่ึงเป็ น หรือไม่ เป็ นสมาชิกสภามีจานวนตามท่ีประชุมสภากาหนด สภาจะต้งั กรรมาธิการวิสามญั ในกรณีท่ีสภาพิจารณา เห็นวา่ มีเหตุผลและความจาเป็นในกิจการของสภา ซ่ึงไม่อยใู่ นขอบข่ายของคณะกรรมาธิการสามญั คณะใด คณะหน่ึงหรือเป็ นเร่ืองท่ีคาบเก่ียวกบั ขอบข่ายความรับผดิ ชอบของคณะกรรมาธิการสามญั หลายคณะ ควร ไดร้ ับฟังความคิดเห็นจากผมู้ ีความรู้ความเช่ียวชาญเฉพาะ หรือจากบุคคลที่เกี่ยวขอ้ ง เมื่อคณะกรรมาธิการ วสิ ามญั ไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่เสร็จสิ้นแลว้ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ก็จะสิ้นสภาพ - คณะกรรมาธิการเต็มสภา คือ คณะกรรมาธิการที่ประกอบด้วยสมาชิกทุกคนในที่ ประชุมสภาเป็ นกรรมาธิการโดยประธานของท่ีประชุ มทาหน้าที่เป็ นประธานคณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการน้ีจะเกิดข้ึนในกรณีของการพิจารณาร่างพระราชบญั ญตั ิหรือร่างพระราชบญั ญตั ิประกอบ รัฐธรรมนูญในวาระที่ 2 ซ่ึงจะกระทาไดเ้ ม่ือคณะรัฐมนตรีร้องขอ หรือเมื่อสมาชิกเสนอญตั ติและที่ประชุม อนุมตั ิ 2. อานาจหน้าทขี่ องสถาบันนิติบญั ญตั หิ รือรัฐสภา 2.1 การบญั ญตั ิกฎหมาย นบั เป็นหนา้ ท่ีหลกั ของท่ีสาคญั อยา่ งยง่ิ ของรัฐสภา ซ่ึงในประเทศ ที่มีระบบ 2 สภา การเสนอร่างกฎหมายเป็ นหน้าท่ีของสภาผูแ้ ทนราษฎร โดยวุฒิสภามีหนา้ ท่ีกลนั่ กรอง ตรวจสอบ หรือเสนอใหม้ ีการปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือความรัดกุมของกฎหมายที่จะนามาบงั คบั ใช้ ท้งั น้ีการเสนอ ร่างกฎหมายของสภาผแู้ ทนราษฎรมีกระบวนการพจิ ารณาเป็น 3 วาระคือ - วาระรับหลักการ สภาผู้แทนราษฎรจะพิจาณาว่า ร่างกฎหมายท่ีเสนอมา โดย สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร หรือคณะรัฐมนตรี สมควรจะนาเขา้ สู่การพจิ ารณาของสภาฯหรือไม่ - วาระแปรญัตติ หลังจากผ่านวาระรับหลักการแล้ว จะเข้าสู่ การพิจารณาของ คณะกรรมาธิการที่สภาฯต้งั หรือกรรมาธิการเต็มสภา เพ่ือทาหนา้ ที่ปรับปรุงแกไ้ ขเปล่ียนแปลงเพิ่มเติมร่าง กฎหมายน้นั

- วาระลงมติ วาระน้ีไมม่ ีการอภิปรายเพ่ือปรับปรุงแกไ้ ข เปล่ียนแปลงเพ่ิมเติมร่างกฎหมาย อีก หากแต่ที่ประชุมสภาฯมีหนา้ ท่ีเพียงเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมายเท่าน้นั หากไม่เห็นชอบร่าง กฎหมายน้ันก็มีอนั ตกไป แต่หากเห็นชอบก็จะนาไปสู่กระบวนการพิจารณาของวุฒิสภาต่อไป ซ่ึงมี กระบวนการพิจารณาแบ่งออกเป็น 3 วาระเช่นเดียวกนั 2.2 การบญั ญตั ิและเปล่ียนแปลงแกไ้ ขกฎหมายรัฐธรรมนูญ สถาบนั นิติบญั ญตั ิในประเทศ ท่ีปกครองดว้ ยระบอบประชาธิปไตยมีอานาจในการบญั ญตั ิและเปล่ียนแปลงแกไ้ ข ตลอดจนอนุมตั ิให้มีการ ใช้รัฐธรรมนูญฉบบั ใหม่ดงั ที่ปรากฏวา่ มีรัฐธรรมนูญของหลายประเทศเกิดจากการร่างข้ึนโดยสถาบนั นิติ บญั ญตั ิ อยา่ งไรก็ตาม มีบางประเทศ เช่น ออสเตรเลีย สวิสเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส หลงั มีการเปลี่ยนแปลง แกไ้ ขเพิม่ เติมรัฐธรรมนูญโดยสถาบนั นิติบญั ญตั ิแลว้ ข้นั ตอนสุดทา้ ยจะตอ้ งให้ประชาชนลงประชามติวา่ จะ ยอมรับ หรือปฏิเสธรัฐธรรมนูญฉบบั ดงั กล่าว ก่อนจะมีการประกาศใชต้ ่อไป 2.3 การตรวจสอบ ควบคุมและถ่วงดุลสถาบนั บริหารหรือรัฐบาล รัฐสภาไม่เพียงมีหนา้ ที่ เก่ียวขอ้ งกบั ตวั บทกฎหมายเท่าน้นั แต่ยงั มีหนา้ ที่สาคญั อีกประการหน่ึงคือ การคอยตรวจสอบ ควบคุมและ ถ่วงดุลการทางานของสถาบนั บริหาร หรือรัฐบาลเพอื่ ใหท้ าหนา้ ท่ีสนองตอบต่อความตอ้ งการของประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมีความโปร่งใส รัฐสภาทาหน้าท่ีหลายรูปแบบ เช่นการตรวจสอบ และควบคุมผา่ นการอนุมตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปี การต้งั กระทูถ้ าม การย่ืนญตั ติต่างๆ โดยเฉพาะหาก เป็ นการบริหารในระบบรัฐสภา สภาผูแ้ ทนราษฎรมีอานาจในการยื่นญัตติเปิ ดอภิปรายไม่ไวว้ างใจ คณะรัฐมนตรีท้งั คณะ หรือรัฐมนตรีรายบุคคลเพื่อใหพ้ น้ ตาแหน่ง 2.4 การทาหนา้ ท่ีเป็ นตวั แทนของเขตเลือกต้งั และประชาชนท้งั ประเทศ โดยแทจ้ ริงการ บญั ญตั ิกฎหมายก็คือ การทาหนา้ ที่ของสมาชิกรัฐสภาในฐานะเป็ นตวั แทนของเขตเลือกต้งั และประชาชนท้งั ประเทศอยู่แล้ว แต่สมาชิกรัฐสภายงั มีบทบาทในการรับฟังปัญหาความเดือดร้อน รวบรวมขอ้ มูล ขอ้ เรียกร้องความตอ้ งการของประชาชนโดยเฉพาะในเขตเลือกต้งั ที่ตนเป็ นตวั แทนเพื่อนาไปเสนอให้รัฐบาล ทราบ จนนาไปสู่การแสวงหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อนตา่ ง ๆ ต่อไป 3. สถาบนั ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายบริหารมีหนา้ ท่ีบงั คบั ใชก้ ฎหมายและรับผิดชอบในการปกครองทวั่ ไป กล่าวไดว้ า่ ฝ่ ายบริหาร มีบทบาทมากในส่วนที่เก่ียวกบั การปกครองท้งั หมด ท้งั น้ีคาวา่ “ฝ่ ายบริหาร” ตรงกบั คาวา่ “executive” ซ่ึง หมายถึง คณะบุคคลหรือตวั บุคคล ซ่ึงมีหนา้ ท่ีนากฎหมายไปใช้ หากแต่ประเทศต่าง ๆ อาจมีจานวนบุคคล

หรือคณะบุคคลท่ีแตกต่างกนั ไป ดงั น้นั สถาบนั บริหารจึงมีความแตกต่างกนั ไปข้ึนอยกู่ บั รูปแบบหรือระบบ ในการบริหารของรัฐบาล หากแต่ในปัจจุบนั ความแตกต่างของระบบในสถาบนั ฝ่ ายบริหารท่ีควรศึกษามีอยู่ 2 ระบบคือ สถาบนั บริหารในระบบรัฐสภา และ ระบบประธานาธิบดี - สถาบนั บริหารในระบบรัฐสภา ระบบรัฐสภาส่วนใหญ่จะมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็ นประมุข ของประเทศ และมีนายกรัฐมนตรีเป็ นหัวหน้าของรัฐบาล โดยมีรัฐมนตรีวา่ การและรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงต่าง ๆ ร่วมรับผดิ ชอบในการบริหารประเทศในรูปของคณะรัฐมนตรี โดยคณะรัฐมนตรีอาจมาจาก พรรคการเมืองเดียวกนั หรืออาจมีการผสมจากพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมกนั จดั ต้งั รัฐบาลได้ ส่วนวาระในการ ดารงตาแหน่งสมยั ละไม่เกิน 4 ปี ท้งั น้ีอาจมีการถูกสภาเปิ ดอภิปรายไม่ไวว้ างใจเพื่อขบั พน้ จากตาแหน่งหรือ รัฐบาลตดั สินใจยบุ สภา - สถาบนั บริหารในระบบประธานาธิบดี ระบบน้ีประธานาธิบดีจะเป็ นท้งั ประมุขของ ประเทศและผูน้ าฝ่ ายบริหารดว้ ยในขณะเดียวกนั ตวั อย่างเช่น สหรัฐอเมริกา ที่ประธานาธิบดีเป็ นเสมือน สัญลกั ษณ์ของชาติ มีเกียรติ มีศกั ด์ิศรี มีบทบาทและมีอิทธิพลต่อชาวอเมริกนั ประธานาธิบดีรับผิดชอบทาง การเมืองเฉพาะตวั เพียงลาพงั ไม่รับผิดชอบองค์คณะอยา่ งระบบรัฐสภา เน่ืองจากระบบน้ีประชาชนเป็ นผู้ เลือกประธานาธิบดีโดยตรง ส่วนบรรดารัฐมนตรี มาจากการเลือกของประธานาธิบดีและมีฐานะ เปรียบเสมือนเลขานุการที่มีหนา้ ท่ีช่วยแบง่ เบาภาระงานในกระทรวงตา่ ง ๆ สถาบนั บริหารในระบบประธานาธิบดีจะมีความมนั่ คงสูง มีระยะเวลาในการดารงตาแหน่งท่ี แน่นอน เพราะสภาไมม่ ีอานาจขบั พน้ จากตาแหน่งเหมือนกบั รัฐบาลในระบบรัฐสภา ส่วนวาระในการดารง ตาแหน่งในแตล่ ะประเทศจะมีความแตกตา่ งกนั ไปเช่น วาระละ 4 ปี และไมเ่ กิน 2 วาระ เป็นตน้ 3.1 อานาจหนา้ ท่ีของสถาบนั บริหาร - อานาจหนา้ ท่ีในการกาหนดและดาเนินดาเนินนโยบายบริหารราชการแผน่ ดิน ก่อนเร่ิม บริหารราชการแผ่นดิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีหรือประธานาธิบดี จะแถลงต่อ รัฐสภาถึงนโยบายของรัฐบาลในดา้ นต่าง ๆ ท่ีจานามาใชใ้ นการบริหารประเทศวา่ เป็ นอยา่ งไร เป็ นการเสนอ และตอบคาถามตอ่ สมาชิกรัฐสภา

- อานาจหนา้ ท่ีในการควบคุมและส่ังการระบบราชการ ฝ่ ายบริหารมีหนา้ ท่ีควบคุมและส่ัง การให้ระบบราชการดาเนินนโยบายท่ีรัฐบาลไดก้ าหนดไวใ้ ห้ลุล่วง อนั เป็ นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ ประชาชน - อานาจหนา้ ที่ในการนาเสนอร่างพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปี กฎหมาย อ่ืน ๆ เขา้ สู่การพิจารณาของสภา คณะรัฐมนตรีและประธานาธิบดีจาเป็ นตอ้ งเสนอร่างพระราชบญั ญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี เขา้ สู่การพิจารณาของสภา เพื่อให้สภาเห็นชอบก่อนการนาเงินไปใชจ้ ่ายในการ บริหารราชการแผน่ ดิน ท้งั น้ีรัฐธรรมนูญยงั ให้อานาจฝ่ ายบริหารสามารถเสนอร่างกฎหมายอ่ืน ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย ไมจ่ ากดั เฉพาะสมาชิกสภานิติบญั ญตั ิเท่าน้นั 4. สถาบันตุลาการ สถาบนั ตุลาการ เป็ นท่ีพ่ึงพิงของประชาชนในกรณีท่ีเกิดการขดั แยง้ หรือมีการกระทาความผิด เกิดข้ึน โดยผา่ ยตุลาการเป็นผใู้ ชอ้ านาจอยา่ งเสมอภาคต่อประชาชนทุกฐานะ สถาบนั ตุลาการจะมีหนา้ ท่ีให้ ความยุติธรรมโดยการใช้กฎหมายของรัฐเป็ นเคร่ืองมือในการตดั สิน ตามหลกั การสถาบนั ฝ่ ายตุลาการ จะตอ้ งเป็ นอิสระจากฝ่ ายนิติบญั ญตั ิและฝ่ ายบริหารหรืออาจเรียกไดว้ ่าเป็ นหลกั ในการปฏิบตั ิของการคาน อานาจซ่ึงกนั และกนั 4.1 การจดั ต้งั องคก์ ารของฝ่ ายตุลาการ วตั ถุประสงคส์ าคญั ของการจดั ต้งั องคก์ ารสถาบนั ฝ่ ายตุลา การมี 2 ประการคือ 1. มุ่งหวงั ท่ีจะให้เกิดความสะดวกแก่คู่กรณี และ 2. มีวตั ถุประสงค์จะสรรหาให้มี ผเู้ ช่ียวชาญในการใชก้ ฎหมาย และตามปกติน้นั ไดม้ ีการแบ่งปันศาลที่รับคดีเขา้ สู่การพิจารณาออกเป็ น 3 ช้นั ดว้ ยกนั คือ ศาลช้นั ตน้ ศาลอุทธรณ์ และ ศาลฎีกา ในปัจจุบนั ระบบงานของศาลยุติธรรมไดว้ ิวฒั นาการข้ึนโดยลาดบั อนั เป็ นผลจากความเจริญของ บา้ นเมือง ทาให้เกิดการจดั ต้งั ศาลเพื่อพิจารณาคดีเป็ นประเภทต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ บา้ นเมืองของแต่ละประเทศ เช่น ศาลปกครอง ศาลคดีเดก็ และเยาวชน ศาลแรงงาน เป็นตน้ 4.2 การแต่งต้งั และเลือกต้งั ผพู้ ิพากษา - การแต่งต้งั หลายประเทศไดใ้ ช้การแต่งต้งั ผพู้ ิพากษา เช่นประเทศไทยมีคณะกรรมการ ตุลาการ (ก.ต.) เป็ นผพู้ ิจารณาคดั เลือกและแต่งต้งั ผพู้ ิพากษา ในสหรัฐอเมริกาประธานาธิบดีเป็ นผแู้ ต่งต้งั ผู้ พิพากษาศาลสหพนั ธ์ ท้งั น้ีโดยผา่ นการรับรองของวุฒิสภา เพ่ือใหบ้ ุคคลที่ไดร้ ับการแต่งต้งั เป็ นผพู้ ิพากษา

น้นั มีคุณสมบตั ิครบถว้ นและเหมาะสมท่ีจะเป็ นผพู้ ิพากษาท่ีดีจริง ๆ จึงไดม้ ีคณะกรรมการตุลาการทาหนา้ ท่ี พจิ ารณาคดั เลือกแตง่ ต้งั - การเลือกต้งั ในสหรัฐอเมริกาไดใ้ ห้ประชาชนในมลรัฐเป็ นผเู้ ลือกต้งั ผพู้ ิพากษาของศาล บางประเภทในระดบั มลรัฐ ซ่ึงมีผลดีในแง่ท่ีวา่ เมื่อผพู้ ิพากษาคนใดไดร้ ับการเลือกต้งั จากประชาชน จะเกิด ความภาคภมู ิใจวา่ ตนไดร้ ับความไวว้ างใจจากประชาชน ไม่อยภู่ ายใตอ้ าณัติของผใู้ ดหรือสถาบนั ใด จึงมุ่งที่ จะปฏิบตั ิหนา้ ที่โดยเตม็ ความสามารถและยตุ ิธรรม เพ่อื ใหส้ มกบั ท่ีประชาชนไดเ้ ลือกมา 4.3 การพน้ จากตาแหน่งของผพู้ ิพากษา การพน้ จากตาแหน่งผพู้ ิพากษาย่อมเกิดข้ึนไดต้ ามปกติ วสิ ยั เช่น ตาย ลาออก หรือเกษียณอายุ แต่ในบางกรณีผพู้ ิพากษาอาจตอ้ งพน้ จากตาแหน่ง เพราะประพฤติมิ ชอบหรือกระทาความผิดร้ายแรง เช่น ช่วยเหลือญาติพ่ีน้องและการรับสินบน เป็ นตน้ ในประเทศองั กฤษ รัฐสภามีสิทธิลงคะแนนเสียงขา้ งมากถอดผูพ้ ิพากษา ส่วนในสหรัฐอเมริกาผูพ้ ิพากษาอาจถูกกล่าวหาจาก สภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภาเป็ นผู้ปลดออก สาหรับประเทศไทยการปลดผู้พิพากษาอยู่ในอานาจของ คณะกรรมการตุลาการ

เอกสารอ้างองิ บูฆอรี ยหี มะ. (2554). ความรู้เบอื้ งต้นทางรัฐศาสตร์. สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ปรัชญา เวสารัชช์. (2534). เอกสารการสอน สถาบนั และกระบวนการทางการเมือง , กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช รุจิรา เตชางกลู , สุรพนั ธ์ ทพั สุวรรณ. (2545). หลกั รัฐธรรมนูญและสถาบนั การเมือง. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง จรูญ สุภาพ. (2537). สารานุกรมรัฐศาสตร์, พมิ พค์ ร้ังที่ 3 กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช บวรศกั ด์ิ อุวรรณโณ. (2542). รัฐธรรมนูญน่ารู้ รวมสาระ-คาบรรยายหลกั กฎหมายรัฐธรรมนูญจากสถานี วทิ ยุแห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญูชน ฤทธิชยั แกมนาค. เอกสารประกอบการสอน รัฐศาสตร์เบือ้ งต้น. คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลง กรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตพะเยา หอ้ งเรียนวดั พระแกว้ จงั หวดั เชียงราย http://mcucr.com/home/includes/editor/assets/bookpol.pdf คน้ เมื่อ 4 กนั ยายน 2558. วษิ ณุ เครืองาม. (2540). “ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั กฎหมายรัฐธรรมนูญ” ใน เอกสารการสอน ชุดวชิ ากฎหมาย มหาชน หน่วยท่ี 1-7. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. สนธิ เตชานนั ท.์ (2550). พ้นื ฐานรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ อานนท์ อาภาภิรม. (2545). รัฐศาสตร์เบ้ืองตน้ . กรุงเทพฯ: โอเด้ียนสโตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook