44 การนำแนวทาง การจัดระบบสารสนเทศ ทางการพยาบาลในโรงพยาบาลสูก ารปฏบิ ตั ิ สำนกั การพยาบาลไดก ำหนดแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล มวี ตั ถปุ ระสงค เพื่อใหองคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลของสถาบัน โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชนไดใชเปนแนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาล เพื่อใหสอดคลองกับการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาล ในโรงพยาบาล ฉบับปรับปรุงคร้ังที่ 2 ป พ.ศ. 2550 ซึ่งจะสงผลใหระบบสารสนเทศทางการพยาบาลมีระบบเปน รปู ธรรมทช่ี ดั เจนและไปในแนวทางเดยี วกนั การนำแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลสกู ารปฏิบตั สิ ามารถดำเนนิ การ 3 ขั้นตอนดังน้ี 1. การวิเคราะหส ถานการณของระบบสารสนเทศทางการพยาบาล 2. การจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาล 3. การติดตาม กำกบั และประเมนิ ผลขอมูลสารสนเทศทางการพยาบาลที่ได 1. การวเิ คราะหส ถานการณข องระบบสารสนเทศทางการพยาบาล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลวิเคราะหระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในหนวยงาน ของตนเอง เพอ่ื ประเมนิ ตนเอง/หนว ยงานของตนเองมอี ะไรหรอื ดำเนนิ การอยา งไรเกย่ี วกบั สารสนเทศ ทางการพยาบาล โดยการวิเคราะหต ง้ั แต ฐานขอ มูล คน เงิน ของ และกระบวนการ ดังนี้ ฐานขอมูล วิเคราะหฐานขอมูลในภาพขององคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลและ ในหนวยงานยอ ยมจี ำนวนกี่ฐานขอ มูล คน ในทนี่ หี้ มายถงึ บคุ ลากรทางการพยาบาล โดยวเิ คราะหต งั้ แตค วามพรอ มความเขา ใจ เกยี่ วกบั สารสนเทศทางการพยาบาลของบคุ ลากรทางการพยาบาล รวมถงึ ความสามารถ ในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
45 เงิน วิเคราะหแหลงท่ีมาของงบประมาณและจำนวนเงินงบประมาณที่จะใชดำเนินการ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลโดยจะรวมทั้งในการพัฒนาบุคลากรและ ฮารดแวร ซอฟแวร ของในท่ีน้ีหมายถึง อุปกรณคอมพิวเตอรทุกชนิด วิเคราะหสิ่งที่มีอยูมีจำนวนเทาใด คุณสมบัตเิ ปนอยางไร ความพรอมใชของอุปกรณค อมพิวเตอร กระบวนการดำเนนิ งานเกยี่ วกบั สารสนเทศทางการพยาบาล ตงั้ แตก ารจดั เกบ็ ฐานขอ มลู เก็บโดยวิธีใด ผูจัดเก็บคือใคร การไหลของขอมูล วิธีการประมวลผลและการรายงาน ขอมลู 2. การจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลกำหนดข้ันตอนดำเนินการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลหลังจากวิเคราะหสถานการณระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในหนวยงาน โดยมีการดำเนินงาน คือ 2.1 นำผลการวิเคราะหสถานการณของระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในปจจุบันมาศึกษาวิเคราะหจุดขาดหรือที่ไมมีการดำเนินการตามแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล และสรปุ สง่ิ ทต่ี อ งพฒั นาหรอื ดำเนนิ การในระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในหนว ยงานของตนเอง 2.2 การดำเนินการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ดงั น้ี 2.2.1 องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลกำหนดนโยบายท่ีชัดเจนในการพัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลโดย 1) ประกาศใหบุคลากรทางการพยาบาลทุกคนรับรูและเขาใจเก่ียวกับนโยบายทางดานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลและความเชื่อมโยงเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการพยาบาล 2) ประชุม/อบรมใหความรูเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการพยาบาลและการนำสารสนเทศทางการพยาบาลไปใชป ระโยชนในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล 3) มีการกำหนดแผนงานโครงการท่ีเก่ียวกับการพัฒนาเร่ืองสารสนเทศทางการพยาบาลไวใ นแผนงานโครงการประจำของกลมุ การพยาบาล สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ
46 4) กำหนดจำนวน ชนิด ขนาดของวัสดุอุปกรณทางคอมพิวเตอรใหพรอม ใชงานในกลุมการพยาบาลและหนวยงานที่รับผิดชอบพรอมท้ังการบำรุงรักษาและการปรับปรุง ใหทันสมยั 5) กำหนดงบประมาณประจำปเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศทางการ พยาบาลโดยแยกออกอยา งชัดเจนจากงบประมาณของกลมุ การพยาบาลท้งั ในเรอ่ื งแผนงานโครงการ และวสั ดุอุปกรณท างดา นคอมพิวเตอร 6) ศึกษาบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลใน โรงพยาบาล และกำหนดคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล โดยควรเปน ชุดเดียวกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล หรือเพิ่มบทบาทหนาท่ี เกย่ี วกับระบบสารสนเทศทางการพยาบาลใหค ณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาล 2.2.2 บุคคลากร องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลควรกำหนดใหมีพยาบาล ทำหนาที่รับผิดชอบสารสนเทศทางการพยาบาลของกลุมการพยาบาล/องคกรพยาบาลโดยใชชื่อวา พยาบาลสารสนเทศ และกำหนดคุณสมบัติและหนาท่ีรับผิดชอบ ซึ่งควรเปนพยาบาลที่รับผิดชอบ งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาลดว ย 2.2.3 ขอมูล/ฐานขอมูลทางการพยาบาล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลควร กำหนดขอมูล/ฐานขอมูลทางการพยาบาลที่จำเปนในโรงพยาบาลของตนโดยอยางนอยควรมี 3 ฐานขอมูลทส่ี ำคญั คอื ฐานขอมลู ท่ัวไป ฐานขอมูลบุคลากร ฐานขอมลู คณุ ภาพ 2.2.4 การกำหนดขอ มลู และจดั หมวดหมู องคก รพยาบาล/กลมุ การพยาบาลดำเนนิ การ โดยวิเคราะหขอมูลท้ังหมดขององคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลแลวกำหนดขอมูลท่ีควรจะมี ในแตละฐานขอมูล และนำขอมูลมาจัดหมวดหมูตามแนวทางท่ีกำหนด กรณีที่มีขอมูลนอกเหนือ จากท่ีกำหนดสามารถจัดหมวดหมูใหอยูในกลุมเดียวกัน แตกรณีท่ีขอมูลไมเขาพวกอาจจัดใหอยูใน ฐานขอมลู ใหมต ามความเหมาะสม 2.2.5 การไหลของขอมูล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลวิเคราะหการไหลของ ขอมูลท่ีดำเนินการอยู จัดใหมีการไหลของขอมูลเปนทางเดียวกัน โดยขอมูลท่ีไหลเขาและออก ตอ งผานพยาบาลสารสนเทศ
47 2.2.6 แบบเก็บขอมูลและการประมวลผล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลรวบรวมแบบเก็บขอมูลในแตละหนวยงาน และนำมาวิเคราะหทำขอตกลงกำหนดรูปแบบในการบันทึกขอมูลใหมีรูปแบบเดียวกันท่ีเขาใจตรงกัน โดยมีการกำหนดขอมูลท่ีเปนตัวช้ีวัดเดียวกันรวมกันทุกหนวยงานและขอมูลตัวชี้วัดเฉพาะของแตละหนวยงาน กำหนดการวิเคราะหขอมูลและรายงานผลเปนรายเดอื น/รายปเ พ่ือสงขอมลู ปอ นกลับใหทกุ หนวยงาน และองคก รพยาบาล/กลุมการพยาบาล สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข
48 บรรณานุกรม จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. (2540). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : วีเจ พรน้ิ ต้งิ . ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ (2540). ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ. กรงุ เทพมหานคร : ป.สมั พนั ธพ าณชิ ย. ณาตยา ฉาบนาค (2548). ระบบสารสนเทศเพอื่ การสอ่ื สาร. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั เอส พี ซี บคุ ส จำกดั . ณัฏฐพันธ เขจรนันทน และ ไพบูลย เกียรติโกมล. (2548). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยเู คชั่น. นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร สุวิภา นิตยางกูร และธีรพร สถิรอังกูร. (2544). การประกันคุณภาพการ พยาบาลในโรงพยาบาล : งานบริการพยาบาลทางสูตกิ รรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ ชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด รุจา ภไู พบลู ย และเกยี รติศรี สำราญเวชพร. (2542). พยาบาลสารสนเทศ. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพนติ บิ รรณาการ. วีณา จีระแพทย. (2544). สารสนเทศทางการพยาบาลและทางสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั . วรรลี บุตรเนียม. (2545). แนวทางการจัดระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพสำหรับโรงเรียน มัธยมศึกษา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ศิลปากร. สุกัญญา ประจุศิลป. (2550). สารสนเทศทางการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุรตั น สาเรือง. (2545). การศกึ ษาการจัดระบบสารสนเทศของกองบงั คบั การวิชาการ โรงเรยี น นายรอ ยตำรวจ. วทิ ยานพิ นธป รญิ ญามหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม. สำนกั การพยาบาล. (2544). ฐานขอ มลู เพอื่ การจดั การบรกิ ารพยาบาลในโรงพยาบาล. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพส ามเจรญิ .
49สำนักการพยาบาล. (2550). มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ องคก รสงเคราะหท หารผา นศกึ ษาสำนักการพยาบาล. (2554). การพัฒนาแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลใน โรงพยาบาล. กรุงเทพมหานคร.Laudon, K.C., & Laudon, J.P. (2001) . Essentials of management information system : Organization and technology in the enterprise (4th ed), Upper Saddle River, NJ : Prentice-Hall.Murdick,R.G., and J.E.Ross. (1977). Introduction to Management Information System. New Jersey : Prentice-Hall. สำนักการพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ
50 ภาคผนวกรายนามคณะกรรมการวชิ าการสำนักการพยาบาล พจิ ารณาเนื้อหาแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล1. ดร. กาญจนา จนั ทรไทย สำนักการพยาบาล2. ดร. ธรี พร สถริ องั กูร สำนกั การพยาบาล3. นางศิรมิ า ลลี ะวงศ สำนักการพยาบาล4. นางสาวอัมภา ศรารัชต สำนักการพยาบาล
สำนักการพยาบาล 88/23 หมทู ี่ 4 อาคาร 4 ชัน้ 4 ตกึ กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ ถนนติวานนท ตำบลตลาดขวญั อำเภอเมอื ง จังหวดั นนทบุรี 11000 โทรศัพท 0-2590-6260, 0-2590-6296 โทรสาร 0-2590-6295, 0-2591-8268Website : http//www.dms.moph.go.th/nurse หรือ http//www.nursing.go.th
Search