Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

แนวทางการจัดระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

Published by nantarat, 2018-07-04 22:48:32

Description: การวิเคราะห์และออกแบบข้อมูล สารสนเทศทางการพยาบาล

Keywords: ระบบสารสนเทศ nursing informatic

Search

Read the Text Version

แนวทางทางการพยาบาลในโรงพยาบาลสำนกั การพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการจดั ระบบสารสนเทศ ทางการพยาบาลในโรงพยาบาล สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ ISBN 978-616-11-1650-7 สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

แนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลทปี่ รึกษา สำนักการพยาบาล ดร. กาญจนา จนั ทรไทย สำนกั การพยาบาล ชุติกาญจน หฤทัยผเู รียบเรยี ง อรรถชัยวจั น สำนักการพยาบาล อัมราภัสร สถิรองั กูร สำนกั การพยาบาล ดร.ธีรพร ศรนี นุ วิเชียร สำนักการพยาบาล นันทรตั น เพ็ญเขตตว ทิ ย สำนกั การพยาบาล จฑุ ารัตนรูปเลม จารวุ รรณ จนั ทา สำนักการพยาบาลจัดพมิ พโดย สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุขพิมพค รั้งท่ี 1 จำนวน 1,500 เลมสถานท่ีพมิ พ โรงพิมพเ ทพเพญ็ วานิสยขอ มูลทางบรรณานุกรมของสำนกั หอสมดุ แหงชาติNational Library of Thailand Cataloging in Publication Dataแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล.- -นนทบรุ ี : . ชือ่ เร่อื ง.สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข, 2556 56 หนา 1. สารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล . อมั ราภสั ร อรรถชัยวัจน610.730285ISBN 978-616-11-1650-7

ก คำนำ ปจจุบันเปนที่ยอมรับวาสารสนเทศเปนส่ิงที่สำคัญตอทุกองคกร เปนเคร่ืองมือที่ใชในการวางแผน ควบคมุ การทำงานและประกอบการตดั สนิ ใจไดอ ยา งถกู ตอ ง และยงั ทำใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงแนวคิดและทางเลือกใหมๆ การมีระบบสารสนเทศที่ดีจะสงผลใหไดสารสนเทศที่พรอมใชทำใหองคก รน้นั ไดเ ปรียบในการแขง ขันและสามารถเปนผนู ำในการดำเนนิ งานไดอ ยา งถกู ตอ ง องคกรพยาบาลเปนองคกรหนึ่งที่ตองมีการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลอยางตอเน่ืองการมีสารสนเทศที่มีคุณภาพ ทันสมัย ทันเหตุการณสงผลใหเกิดประสิทธิผลในการบริหารองคกรและเกิดคุณภาพท่ีดีในการใหการพยาบาล ผูรับบริการเกิดความพึงพอใจและนำไปสูการปฏิบัติการพยาบาลท่ีเปน เลิศ ภารกิจหน่ึงของสำนักการพยาบาล คือ เปนหนวยงานที่สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและระบบสารสนเทศทางการพยาบาล จึงมีการกำหนดแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล เพ่ือใหการดำเนินงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลเปน ทิศทางเดียวกนั ทัง้ ประเทศ เกิดสารสนเทศท่ีนำมาเทยี บเคยี งคณุ ภาพในระดับประเทศ สามารถเปนเคร่ืองมือในการกำหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับประเทศไดซง่ึ จะสง ผลใหประชาชนไดรบั บรกิ ารทีม่ คี ุณภาพในท่สี ดุ สำนักการพยาบาล สงิ หาคม 2556 สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข



ขสารบัญ หนาคำนำ กแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล 1 1 ความเปน มา 3 วตั ถปุ ระสงค 3 ขอบเขตการใชแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล 4 แนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล 4 1. บคุ ลากรทท่ี ำหนา ทีร่ บั ผิดชอบสารสนเทศทางการพยาบาล 8 2. ขอมูล/ฐานขอมูลทางการพยาบาล 41 3. การรวบรวมและประมวลผล 44การนำแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลสูก ารปฏบิ ตั ิ 48บรรณานกุ รม 50ภาคผนวก 50 รายนามคณะกรรมการวชิ าการสำนักการพยาบาล พจิ ารณาเน้อื หา แนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลสำนักการพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข



1 แนวทางการจดั ระบบสารสนเทศ ทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ความเปนมา ปจจุบันเปนโลกของขอมูลสารสนเทศ หรือสังคม สารสนเทศ (Information society)เทคโนโลยสี ารสนเทศไดเ ขา มามบี ทบาทในชวี ติ ประจำวนั และองคก รตา งๆ อยา งมากมาย เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาใชเปนเครื่องมือที่สำคัญในการแขงขันและเปนประโยชนเพื่อพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพ แตประสิทธิภาพในการดำเนินการไมไดขึ้นอยูกับการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพียงอยางเดียว แตข้ึนอยูกับการนำขอมูลสารสนเทศมาใชเพื่อใหเกิดประโยชนในองคกร จึงเปนที่ยอมรับวาสารสนเทศเปนเครื่องมือท่ีสำคัญตอการตัดสินใจในการแกปญหาและการบริหารจัดการตั้งแตการวางแผน จัดระบบงาน การควบคุมกำกับอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการพัฒนางานใหมีคณุ ภาพ องคก รพยาบาลเปน องคก รทส่ี ำคญั ของระบบสขุ ภาพ เปน ตวั ขบั เคลอื่ นระบบสขุ ภาพ ตอ งมกี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ คณุ ภาพการพยาบาลตลอดเวลา ใหท นั ตอ การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ มคี วามจำเปนที่ตองใชสารสนเทศทางการพยาบาลเชนเดียวกัน สารสนเทศทางการพยาบาลเปนเครื่องมือที่สำคัญทช่ี ว ยสนบั สนนุ ในการตดั สนิ ใจ รวมทง้ั การแกป ญ หาตา งๆ ทง้ั การบรหิ าร การพยาบาล การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล การศกึ ษาและวิจยั ทางการพยาบาล การไดร บั ขอมูลสารสนเทศทางการพยาบาลท่ถี กู ตองแมนยำในเวลาที่ตองการ จะชวยทำใหผูบริหารและบุคลากรทางการพยาบาลสามารถตัดสินใจไดอยางเหมาะสม และทันสถานการณเกี่ยวกับการดูแลผูปวย และการประเมินประสิทธิภาพบริการพยาบาลสงผลใหเกิดคุณภาพการพยาบาลในดานองคกรพยาบาล ทำใหมีการวางแผน กำหนดทศิ ทาง การจดั ระบบ การอำนวยการและการควบคมุ กำกบั เปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพทนั ตอ สถานการณขอมูลสารสนเทศทางการพยาบาลที่ผิดพลาดหรือไมสมบูรณ ยอมกอใหเกิดผลเสียตอองคกรและคุณภาพการดแู ลผปู ว ย สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ เปน หนว ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการกำหนด พัฒนามาตรฐานการพยาบาล พัฒนาคณุ ภาพทางเทคนคิ วิชาการพยาบาล ตลอดจน สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

2 ติดตาม กำกับ สนับสนุนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลของสถานบริการสาธารณสุข ท่ัวประเทศใหไดมาตรฐาน ไดดำเนินการพัฒนาสารสนเทศทางการพยาบาลอยางตอเนื่องตั้งแต ปงบประมาณ 2536 เปนตนมา เร่ิมจากการพัฒนาหนังสือแนวทางการจัดระบบขอมูลขาวสาร ซง่ึ เปน ระบบทจ่ี ำเปน และเออ้ื ตอ การพฒั นาการบรกิ ารพยาบาลในโรงพยาบาล สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอและสถานอี นามยั ปง บประมาณ 2544 จดั ทำหนงั สอื “ฐานขอ มลู เพื่อการจัดบริการพยาบาลในโรงพยาบาล” เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาฐานขอมูลทางการ พยาบาล และเปนเครื่องมือในการปรับปรุงคุณภาพระบบสารสนเทศ ปงบประมาณ 2552 พัฒนา โปรแกรม B-Nurse เปน โปรแกรมผา นเวบ็ (Web application) ทล่ี งขอ มลู ดา นบคุ ลากรและตวั ชวี้ ดั เพื่อเก็บฐานขอมูลบุคลากรและฐานขอมูลตัวช้ีวัดคุณภาพการพยาบาล ปงบประมาณ 2553 พฒั นาโปรแกรมวางแผนกำลงั คนดา นการพยาบาล จากโปรแกรม Microsoft Excel เพอ่ื คาดประมาณ ความตองการกำลังคน และจำนวนกำลังคนท่ีคาดวาจะมี โดยวิเคราะหแนวโนมจากขอมูลยอนหลัง 3 ป แตการพัฒนาที่ผานมาพบวา ขอมูลท่ีเก็บไมทันสมัย ความเขาใจในการบันทึกยังไมตรงกัน ขอมูลท่ีเก็บมีความซ้ำซอน พื้นท่ีเก็บขอมูลไมเพียงพอกับปริมาณขอมูล และไมสามารถนำขอมูล สารสนเทศมาใชใหเกิดประโยชนได เปนตน สงผลใหการดำเนินงานเก่ียวกับสารสนเทศทางการ พยาบาลไมตอเนื่องและไมมีการดำเนินการไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากการพัฒนาสารสนเทศ ทางการพยาบาลอยา งตอ เนอ่ื งของสำนกั การพยาบาลแลว สำนกั การพยาบาลยงั ไดพ ฒั นามาตรฐานการ พยาบาลอยางตอเนื่องอีกดวย ท้ังน้ียังไดกำหนดมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาลต้ังแตป พ.ศ. 2528 และปรบั ปรงุ แกไ ขอยา งตอ เนอ่ื งจนปจ จบุ นั เนอ้ื หามาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล ฉบบั ลาสุดในสว นการบรหิ ารการพยาบาลจะประกอบดวย 7 หมวด ตามแนวคิดของเกณฑคุณภาพ การบรหิ ารจัดการภาครัฐ (Public Management Quality Award) โดยเฉพาะในหมวดท่ี 4 ของ มาตรฐานการพยาบาลฯ เร่ือง การวัด การวิเคราะห การจัดการสารสนเทศและความรู มาตรฐาน การพยาบาลฯ ใหความสำคัญของสารสนเทศทางการพยาบาลโดยกำหนดใหองคกรพยาบาล/ กลมุ การพยาบาลตองสนบั สนุนฮารดแวร ซอฟแวร พเี พลิ แวร ใหร ะบบสารสนเทศทางการพยาบาล มีความคลองตัว สะดวก และมีการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลใหพรอมใชงานไดดี ทั้งภาวะปกติ และภาวะฉกุ เฉนิ โดยดำเนนิ การกำหนดฐานขอ มูลทจี่ ำเปน ระบบบันทึก การจัดเก็บ การวิเคราะห และสังเคราะห การรายงานขอมูลและสารสนเทศอยางถูกตอง เหมาะสม ทันเวลา และรูปแบบท่งี ายตอ การนำไปใช (สำนักการพยาบาล, 2550) เพื่อใหไดส ารสนเทศทางการพยาบาล ทเ่ี ปน ประโยชนใ นการบรหิ าร บรกิ าร และการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล จากความสำคญั ดงั กลา ว สำนักการพยาบาลจึงไดพ ัฒนาแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล

3 วัตถปุ ระสงค เพื่อใหองคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลใชเปนแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลศูนย/ โรงพยาบาลทว่ั ไป/โรงพยาบาลชุมชน และสถาบันเฉพาะทาง ขอบเขตการใชแ นวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาล ในโรงพยาบาล 1. เปนแนวทางที่กำหนดสำหรับองคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลชมุ ชน และสถาบนั เฉพาะทาง 2. ขอมูลสารสนเทศท่ีดำเนินการเปนขอมูลสารสนเทศที่จำเปน โดยกำหนดใหองคกรพยาบาล/กลมุ การพยาบาล มฐี านขอ มลู รว มกนั 3 ฐานขอ มลู คอื ฐานขอ มลู ทว่ั ไป ฐานขอ มลู บคุ ลากรฐานขอมูลคุณภาพ ซ่ึงกลุมการพยาบาลแตละโรงพยาบาลอาจมีมากกวาที่กำหนดไดตามบริบทของหนว ยงาน 3. เนื้อหาของแนวทางทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลไมกำหนดรายละเอียดโครงสราง Hard ware และ Soft ware ข้ึนกับบริบทของหนวยงานและความจำเปน สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

4 แนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล แนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลเปนแนวทางท่ีพัฒนามา จากวิจัย เรื่อง “การพัฒนาแนวทางการจัดระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล” เมื่อป พ.ศ. 2554 (สำนักการพยาบาล, 2554) ซึ่งสำนักการพยาบาลไดนำแนวคิดหลัก 2 แนวคิด คือ แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศและแนวคิดเก่ียวกับการจัดระบบสารสนเทศ (Laudon and Laudon, 2001; Murdick and Ross, 1977; วรรลี บตุ รเนียม,2545; สรุ ตั น สาเรือง, 2545) มากำหนดแนวทางการจดั ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลซ่ึงประกอบดวย 1. บุคลากรท่ีทำหนา ทร่ี ับผดิ ชอบสารสนเทศทางการพยาบาล 2. ขอ มลู /ฐานขอ มลู ทางการพยาบาล 2.1 ชดุ ฐานขอ มูลพืน้ ฐานทางการพยาบาล 2.2 การกำหนดขอ มลู และจัดหมวดหมู 3. การรวบรวมและการประมวลผล โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 1. บุคลากรท่ีทำหนาท่ีรับผิดชอบสารสนเทศทางการพยาบาล องคกรพยาบาล/ กลุมการพยาบาลควรกำหนดใหมีพยาบาลทำหนาที่รับผิดชอบสารสนเทศทางการพยาบาลของ กลุมการพยาบาล/องคกรพยาบาลโดยใชชื่อวาพยาบาลสารสนเทศ และกำหนดคุณสมบัติและ หนา ที่รับผดิ ชอบดงั น้ี คณุ สมบตั ิของพยาบาลสารสนเทศ ดานการพยาบาล 1) มีความรูทกั ษะดานการพยาบาล 2) มีความรูดานการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล 3) มีประสบการณใ นดานการบริหารและ/หรือการบรกิ ารพยาบาล 4) มปี ระสบการณในการนเิ ทศงานดานการพยาบาล ดานสารสนเทศ 1) จบปริญญาโททางดานสารสนเทศหรือปริญญาโทดานอ่ืนๆ ท่ีผานการอบรม เฉพาะทางเกย่ี วกบั สารสนเทศและ/หรอื มปี ระสบการณแ ละความชำนาญเกย่ี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5 2) มคี วามรพู ้ืนฐานทางคอมพิวเตอรและสามารถใชคอมพิวเตอรไ ดเ ปนอยางดี 3) มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือใชในการรวบรวมและจัดการขอ มลู 4) มคี วามรเู ก่ยี วกบั ระบบสารสนเทศเพอื่ การพฒั นางานการพยาบาล 5) สามารถวิเคราะหและจัดการขอมูลเพ่อื ใหเปน สารสนเทศท่ีนำมาใชป ระโยชน หนา ทค่ี วามรับผดิ ชอบ 1) ทำหนาทีเ่ ปนเลขานกุ ารคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลและเปนคณะกรรมการสารสนเทศโรงพยาบาล 2) สื่อสารขอมูลขาวสารและประสานความรวมมือระหวางคณะกรรมการสารสนเทศในโรงพยาบาลกบั คณะกรรมการและคณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล 3) ใหคำแนะนำ และเปนท่ีปรึกษา สนับสนุนการดำเนินงานสารสนเทศทางการพยาบาลในระดบั หนว ยงาน 4) เก็บรวบรวมขอมูลและตรวจสอบความถูกตอง ครอบคลุม ครบถวนของขอมูลสารสนเทศในระดบั หนวยงาน 5) ประมวลผลและวิเคราะหสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลของกลุมการพยาบาล 6) รายงานผลขอมูลสารสนเทสทางการพยาบาลตอคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลกำหนดโครงสรางบุคลากรของงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลใหชัดเจนโดยแตงต้ังคณะกรรมการและคณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล พรอมท้งั กำหนดหนาท่คี วามรับผดิ ชอบสารสนเทศทางการพยาบาลมรี ายละเอยี ดดงั น้ี คณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ประกอบดว ย 1) หัวหนา พยาบาล ประธาน 2) หวั หนางาน/หัวหนา หอผปู ว ย กรรมการ 3) พยาบาลสารสนเทศกลุมการพยาบาล กรรมการและเลขานกุ าร สำนักการพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

6 จำนวนของคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลใหขึ้นอยูกับขนาด และความซับซอนของงานบริการพยาบาลของโรงพยาบาลแตะละแหง ซึ่งควรพิจารณาจากความ เหมาะสม ความสะดวก และความคลองตัวในการประสานงาน และความรวมมือในการดำเนินงาน เพอ่ื ใหไดส ารสนเทศทางการพยาบาลท่ีตอเน่ือง ทนั ตอการใชป ระโยชน หนาทค่ี วามรับผิดชอบ 1) กำหนดนโยบายและวางแผนการดำเนินการสารสนเทศทางการพยาบาลใน โรงพยาบาล 2) กำหนดรูปแบบการดำเนินการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ใหส อดคลอ งกับวัตถปุ ระสงคแ ละเปาหมายของการใชส ารสนเทศ 3) จัดการและควบคุมกำกับใหการดำเนินงานของระบบสารสนเทศเปนไปในทิศทาง เดยี วกัน 4) รวบรวม วิเคราะหขอมูลสารสนเทศใหสามารถนำมาใชประโยชนในการบริหาร องคกรและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล 5) แตง ตงั้ คณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาลและคณะกรรมการอนื่ ๆ ตามความจำเปน 6) อำนวยการและสนับสนนุ การดำเนนิ งานของคณะทำงานชุดตา งๆ 7) ประสานความรวมมือกับผูบริหารหรือทีมสหสาขาวิชาชีพเพ่ือใหการดำเนินการ เกี่ยวกับระบบสารสนเทศบรรลผุ ลตามเปา หมาย 8) ตดิ ตามความกา วหนา และเปน ท่ปี รกึ ษาหรอื ใหข อ เสนอแนะแกคณะทำงานฯ 9) จัดทำรายงานผลของขอมูลสารสนเทศทางการพยาบาลใหกับคณะกรรมการ บริหารโรงพยาบาลและสำนกั การพยาบาล คณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ประกอบดว ย 1) หัวหนางาน/หัวหนา หอผูป ว ย ประธาน 2) พยาบาลวชิ าชีพ กรรมการ 3) พยาบาลสารสนเทศหนวยงาน กรรมการและเลขานุการ จำนวนชุดของคณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ควรมีจำนวน เทา กบั หนว ยงานในความรบั ผดิ ชอบขององคก รพยาบาล/กลมุ การพยาบาล และขน้ึ กบั ความเหมาะสม ของงานบริการพยาบาลของโรงพยาบาลในแตล ะแหง

7 หนาทีค่ วามรับผิดชอบ 1) กำหนดวัตถุประสงคและเปาหมายของการดำเนินการขอมูลสารสนเทศทางการพยาบาลในหนว ยงาน 2) วางแผนการดำเนนิ การขอ มลู สารสนเทศในหนวยงาน 3) จัดเก็บ รวบรวม และประมวลผลขอมูลสารสนเทศทางการพยาบาลในหนวยงานตามแผนที่กำหนด 4) จัดทำรายงานผลของขอมูลสารสนเทศของหนวยงานใหแกคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล ซึ่งคณะกรรมการท้ัง 2 กลุมจะทำงานประสานและเช่ือมโยงสัมพันธซึ่งกันและกันเพือ่ ทำใหแนวทางของระบบสารสนเทศ ไดแ ก การจัดเกบ็ การรวบรวมขอ มลู และการประมวลผลเปน ทิศเดยี วกัน (ดังแสดงในแผนภาพที่ 1) โครงสรางบคุ ลากรสารสนเทศทางการพยาบาลคณะกรรมการสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล คณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาลในโรงพยาบาล (องคก รพยาบาล/กลุมการพยาบาล) (หนว ยงาน) ประธาน จัดเกบ็ /รวบรวม/ประมวลผล ประธาน (หัวหนา งาน/หวั หนาหอผูป ว ย) (หวั หนา พยาบาล) กำหนดนโยบายและวางแผนดำเนินการกรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ(หัวหนางาน/ (พยาบาลสารสนเทศ : (พยาบาลวิชาชพี ) (พยาบาลสารสนเทศ :หวั หนาหอผูป วย) กลุมการพยาบาล) กรรมการ หนวยงาน) (พยาบาลสารสนเทศ : หนว ยงานท่ีไดรบั คัดเลือก) ทำการคัดเลือกตวั แทน พยาบาลสารสนเทศ ทำการคัดเลอื กหนวยงาน (หนว ยงาน A) พยาบาลสารสนเทศ (หนว ยงาน C) พยาบาลสารสนเทศ (หนว ยงาน B) แผนภาพที่ 1 แสดงความสัมพนั ธข องบุคลากรในระบบสารสนเทศ สำนักการพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

8 2. ขอ มลู /ฐานขอ มลู ทางการพยาบาล องคก รพยาบาล/กลมุ การพยาบาลมกี ารดำเนนิ การ ในเรื่องขอมูล/ฐานขอมูลทางการพยาบาล โดยการกำหนดชุดฐานขอมูลพ้ืนฐานทางการพยาบาล กำหนดขอมลู และจดั หมวดหมขู อมลู ดงั น้ี 2.1 ชุดฐานขอมูลพ้ืนฐานทางการพยาบาล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลกำหนด ฐานขอ มลู ทจ่ี ำเปน 3 ฐาน คอื ฐานขอ มลู ทวั่ ไป ฐานขอ มลู บคุ ลากร ฐานขอ มลู คณุ ภาพ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี (ดงั แสดงในแผนภาพท่ี 2) ขอ มลู พืน้ ฐานทางการพยาบาล ฐานขอมูลท่วั ไป ฐานขอ มูลบุคลากร ฐานขอมูลคุณภาพ ทางการพยาบาล ทางการพยาบาล ขอ มูลพ้ืนฐาน ขอมูลองคก รพยาบาล/ ขอมลู ตัวช้วี ดั กลุม การพยาบาล คณุ ภาพสำคญั ขอ มลู กำลังคน อตั ราการพลดั ตก ขอ มลู โรงพยาบาล ขอ มูลพน้ื ฐาน หกลม (Fall) องคก รพยาบาล/ จำนวนพยาบาล อตั ราติดเช้อื ท่ปี อด (VAP) เขต กลุม การพยาบาล จำแนกตามงาน อตั ราการเกดิ แผลกดทับ จังหวัด อตั ราความขาดแคลน (Pressure Ulcer) ประเภทโรงพยาบาล ผลติ ภาพ กำลงั คน อัตราตดิ เช้ือ ชือ่ โรงพยาบาล อัตรา อัตราการสูญเสยี ทางเดนิ ปส สาวะ (UTI) ระดบั การดแู ล readmission/เดือน พยาบาล อตั ราการกลับเขารับ จำนวนเตียง อัตราครองเตยี ง การรกั ษาซำ้ ระดบั คุณภาพ (HA) ช่ัวโมงการ ขอ มูลรายบคุ คล ระดับ Excellent center พยาบาลเฉลยี่ (NHPPD) ขอมลู ตัวชวี้ ัด ชอ่ื -นามสกุล คณุ ภาพในหนวยงาน ขอ มูลสถิติผใู ชบริการ ขอ มูลความพึงพอใจ รหัสพยาบาล วันเดือนปเกดิ ขอมลู อุบตั ิการณ ผปู ว ย ER เฉล่ยี /วนั รอยละความพึงพอใจ สถานะ ขอมูลเร่อื งรองเรยี น จำนวนผูปวย OPD เฉลีย่ /วัน ในงาน การปฏิบัติงาน ขอมูลการติดเชือ้ จำนวนผปู วยในเฉลี่ย/วัน รอ ยละความพึงพอใจ ตำแหนง ขอมลู บรกิ ารพยาบาล จำนวนวันนอนเฉล่ีย ของผูใชบ รกิ าร ระดับการศึกษา (ตวั ช้วี ดั ) จำนวนผูปว ยผา ตดั เฉลี่ย/วัน วันท่ีบรรจุ จำนวนผูค ลอดเฉลย่ี /วนั ผปู ว ยนอก เขารบั ราชการ ผูปว ยใน โครงสรา งการดูแล ผลลพั ธ แผนภาพที่ 2 ชุดฐานขอ มลู พน้ื ฐานทางการพยาบาล

9 2.1.1 ฐานขอมูลท่ัวไป เปนขอมูลเก่ียวกับโรงพยาบาล จำนวนผูใหบริการและขอมูลพ้ืนฐานขององคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาล กำหนดเปน 2 สวน คือ ขอมูลพ้ืนฐานและขอมูลองคก รพยาบาล/กลุมการพยาบาล 2.1.1.1 ขอมูลพื้นฐาน เปนขอมูลเก่ียวกับสถานะภาพของหนวยงานและจำนวนผูใชบ ริการ กำหนดเปน 2 สว น ไดแ ก ขอมูลโรงพยาบาล และขอมูลสถิติผใู ชบรกิ าร (1) ขอ มลู โรงพยาบาล เปน ขอ มลู สภาพและบรบิ ทของโรงพยาบาลไดแ ก เขต จงั หวัด ประเภทโรงพยาบาล ชือ่ โรงพยาบาล ระดบั การดูแล จำนวนเตียง จำนวนเตียงทีร่ บั ไวจริง ระดับคณุ ภาพ (HA) ระดับ Excellent center (2) ขอมูลสถิติผูใชบริการ เปนขอมูลจำนวนผูใชบริการในแตละหนวยงาน ไดแก จำนวนผูปวยใน จำนวนผูปวยนอก จำนวนผูปวยผาตัด จำนวนผูปวยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน จำนวนผูปวยคลอด จำนวนผูปวยฝากครรภ จำนวนผูปวยใชบริการปรึกษา จำนวนวนั นอนเฉลีย่ 2.1.1.2 ขอ มูลองคก รพยาบาล/กลมุ การพยาบาล เปนขอ มลู พน้ื ฐานขององคก รพยาบาล/กลุมการพยาบาล เก่ยี วกับภาระงานและความพึงพอใจ กำหนดเปน 2 สว น ไดแกขอมูลพน้ื ฐานองคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาล และขอมลู ความพงึ พอใจ (1) ขอมูลพ้ืนฐานองคก รพยาบาล/กลุมการพยาบาล เปนขอ มูลภาระงานขององคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาล ไดแก ขอมูลผลิตภาพ (Productivity) อัตราครองเตยี ง ช่วั โมงการพยาบาล (2) ขอมูลความพึงพอใจ เปนขอมูลความพึงพอใจของบุคลากรและผใู ชบ ริการ ไดแก ขอมูลความพึงพอใจในงานและขอ มลู ความพงึ พอใจของผูใชบ ริการ 2.1.2 ฐานขอมูลบุคลากรทางการพยาบาล เปนขอมูลเก่ียวกับบุคลากรทางการพยาบาลกำหนดเปน 2 สวน ไดแ ก ขอ มลู กำลังคน และขอมูลรายบุคคล 2.1.2.1 ขอมูลกำลังคน เปนขอมูลจำนวนบุคลากรทางการพยาบาลไดแ ก จำนวนพยาบาลจำแนกตามงาน ขอ มลู การขาดแคลนกำลงั คนและขอมลู การสญู เสีย 2.1.2.2 ขอมูลรายบุคคล เปนขอมูลรายละเอียดของแตละบุคคลของบคุ ลากรทางการพยาบาล ไดแก ชื่อ-นามสกุล รหสั พยาบาล วันเดอื นปเ กิด สถานะการปฏบิ ตั ิงานตำแหนง ระดับการศึกษา วันทีบ่ รรจเุ ขา รับราชการ สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

10 2.1.3 ฐานขอมูลคุณภาพการพยาบาลเปนขอมูลเกี่ยวกับตัวช้ีวัดคุณภาพ ทางการพยาบาล กำหนดเปน 2 สว น ไดแ ก ขอมูลตัวชว้ี ัดคณุ ภาพสำคัญ และขอ มลู ตัวชี้วดั คุณภาพ ในหนวยงาน 2.1.3.1 ขอมูลตัวชี้วัดคุณภาพสำคัญ เปนขอมูลตัวชี้วัดคุณภาพการ พยาบาลในระดับประเทศ ไดแก ขอมูลการพลัดตกหกลม (Fall) ขอมูลการติดเช้ือท่ีปอด (VAP) ขอมูลการเกิดแผลกดทับ (Pressure ulcer) ขอมูลการติดเช้ือทางเดินปสสาวะ (Urinary track infection) ขอมลู การกลับเขา รบั การรกั ษาซำ้ (Readmission) 2.1.3.2 ขอมูลตัวช้ีวัดคุณภาพในหนวยงาน เปนขอมูลตัวชี้วัดท่ีสำคัญ ในระดับหนวยงาน ไดแก ขอมูลการติดเช้ือ ขอมูลอุบัติการณ ขอมูลเรื่องรองเรียน ขอมูลบริการ พยาบาล 2.2 กำหนดขอ มลู และจดั หมวดหมู องคก รพยาบาล/กลมุ การพยาบาลมกี ารดำเนนิ การ ดงั น้ี 2.2.1 กำหนดขอมูลที่จำเปนที่ตองเก็บของแตละหนวยงานขององคกรพยาบาล/ กลุมการพยาบาล ซึ่งอาจเก็บมากกวา ทีก่ ำหนดไดตามบรบิ ทของแตละแหง 2.2.2 นำขอมูลที่กำหนดของแตละหนวยงานขององคกรพยาบาล/กลุมการ พยาบาลมาจัดหมวดหมูตามฐานขอ มลู ทก่ี ำหนด 3 ฐานขอ มลู ดังน้ี 1) ฐานขอมูลท่ัวไป เก็บขอมูลเกี่ยวกับโรงพยาบาล สถิติเก่ียวกับผูรับ บรกิ าร ขอ มลู ภาระงาน และขอ มูลความพึงพอใจ 2) ฐานขอ มลู บคุ ลากร เกบ็ ขอ มลู จำนวนบคุ ลากร วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหนง พยาบาล ประวัตสิ ว นตวั และสถานะการปฏบิ ัตงิ าน 3) ฐานขอมูลคุณภาพ เก็บตัวช้ีวัดอุบัติการณ ขอรองเรียน การติดเชื้อ และการบรกิ ารพยาบาล รายละเอียดขอมูลที่จำเปนที่ตองจัดเก็บของแตละหนวยงานและแบงเปนหมวดหมูตาม 3 ฐานขอ มลู แสดงในตารางที่ 1

11ตารางที่ 1 แสดงขอ มลู ทีม่ ีการจัดเก็บตามหมวดหมใู นแตล ะหนวยบริการ หนว ยบรกิ ารพยาบาลขอมลู ท่จี ัดเกบ็ ก ลุมการพยาบาล สารสนเทศที่ได งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หอง ผาตัด งาน ิว ัสญญี งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเชื้อในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN IC ฐานขอมูลทัว่ ไป ขอ มูลสภาพและ บริบทของขอมลู โรงพยาบาล โรงพยาบาลเขตจังหวดั จำนวนผูป ว ยในประเภทโรงพยาบาล และผปู ว ยนอกระดบั การดูแล เฉลีย่ /วนัจำนวนเตยี งตามกรอบ/ จำนวนวนั นอนเฉลยี่ทีเ่ ปดใหบ ริการจรงิ จำนวนผปู ว ยผาตดัระดับคุณภาพ (HA) เฉลย่ี /วันสาขาและระดบั ของ จำนวนผคู ลอดExcellent center เฉลี่ย/วนัขอ มลู สถติ ผิ ใู ชบ รกิ าร จำนวนผูปวยจำนวนผูใชบริการ อบุ ตั เิ หตุและจำนวนวันนอนของ ฉกุ เฉินเฉล่ยี /วนัผปู ว ย จำนวนผปู วยจำนวนผปู วยผา ตัด ฝากครรภเ ฉลยี่ /วันจำนวนการคลอดจำนวนผปู ว ยอบุ ตั เิ หตุและฉุกเฉนิจำนวนผปู วยฝากครรภ สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

12 หนว ยบริการพยาบาล ขอ มลู ท่ีจดั เก็บ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศท่ไี ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICขอมลู พืน้ ฐานองคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาล ผลิตภาพทางการผลิตภาพ พยาบาลอตั ราการกลับเขารบั อตั ราการกลบัการรักษาซำ้ เขารบั การรักษาซ้ำจำนวนเตียง (readmission)ชวั่ โมงการพยาบาล อตั ราครองเตียง ช่วั โมงการพยาบาลขอ มลู ความพงึ พอใจ เฉลีย่คะแนนความพงึ พอใจของผูใชบรกิ าร รอ ยละความพงึ พอใจของแตล ะงาน ของผูใชบริการคะแนนเตม็ ของ รอยละความพึงพอใจแบบสอบถาม ผูปว ยในคะแนนความพึงพอใจ รอ ยละความพึงพอใจของบุคลากรทางการ ผปู ว ยนอกพยาบาล รอยละความพงึ พอใจคะแนนเตม็ ของ ของบคุ ลากรแบบสอบถาม

หนวยบรกิ ารพยาบาล 13ขอ มลู ที่จดั เกบ็ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศทไี่ ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN IC ฐานขอ มูลบคุ ลากร จำนวนพยาบาล จำแนกตามงานขอมูลกำลงั คน อตั ราความจำนวนบคุ ลากร ขาดแคลนทางการพยาบาล อัตราความสญู เสีย(RN, TN)จำนวนพยาบาลท่ี โครงสรางอายุลาออก/โอน/ยา ย บุคลากรขอมูลรายบุคคล อายรุ าชการเฉลี่ยประวัติสว นตวัชอ่ื นามสกุล แนวโนมอตั ราการวันเดอื นปเกิด สูญเสยี บคุ ลากรวนั เดือนปทบ่ี รรจุ พยาบาลสถานะการปฏิบัติงาน เปรียบเทยี บสัดสวนจำนวนพยาบาล ประเภทการรับเขารับใหม และการสญู เสียจำนวนรบั โอน/ยา ยจำนวนปฏิบัตงิ านจำนวน ลาศกึ ษาจำนวนเกษียณจำนวนท่ลี าออกจำนวนเสียชวี ติ สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

14 หนวยบริการพยาบาล ขอ มลู ท่จี ดั เกบ็ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศที่ได งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICตำแหนง พยาบาล วเิ คราะหตำแหนงจำนวนพยาบาล ของบคุ ลากรปฏิบตั ิการ พยาบาลจำนวนพยาบาลชำนาญการ จำนวนพยาบาลจำนวนพยาบาล ทีจ่ บปรญิ ญาเอกชำนาญการพิเศษ และโทจำนวนพยาบาล สาขาการพยาบาลเชยี่ วชาญ และสาขาอนื่ ๆระดับการศึกษา ทัง้ หมดจำนวนผูจบปรญิ ญา จำนวนผปู ฏบิ ัติการเอกทางการพยาบาล พยาบาล (APN)และสาขาอื่นๆ ทง้ั หมดจำนวนผจู บปรญิ ญาโททางการพยาบาล และสาขาอน่ื ๆจำนวนผปู ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขั้นสูง(APN)

หนวยบรกิ ารพยาบาล 15ขอ มลู ทีจ่ ดั เก็บ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศทไ่ี ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN IC ฐานขอ มูลคุณภาพการพยาบาลอุบัตกิ ารณ สรุปผลการจำนวนอบุ ัตกิ ารณ วิเคราะห ตามการพลัดตกหกลม ประเภทของจำนวนอุบตั กิ ารณ อบุ ัติการณทเ่ี กดิ ข้ึนการระบตุ ัวผใู ช จัดอันดบับรกิ ารผิดคน ความเส่ียงจำนวนอบุ ตั กิ ารณ ตามระดับการรักษาพยาบาล ความรุนแรงผปู วยผดิ คน รายงานสรุปจำนวนอบุ ัตกิ ารณ แนวโนมอบุ ัติการณการสงผูปวยผาตัด แตล ะประเภทผดิ คน/ผาตดั ผิดขา งจำนวนอบุ ตั กิ ารณการมสี ่ิงของหรอือปุ กรณต กคา งในรางกายผูปวยจำนวนอบุ ตั กิ ารณความผิดพลาดในการบรหิ ารยาจำนวนอบุ ตั ิการณการใหเ ลือดและ/หรอื สวนประกอบของเลอื ด สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

16 หนวยบรกิ ารพยาบาล ขอมูลท่ีจดั เก็บ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศทไ่ี ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICจำนวนอบุ ตั ิการณจากการปฏบิ ตั งิ านจำนวนอบุ ตั ิการณจากการตายท่ีสามารถปอ งกันไดจำนวนอุบัติการณการบาดเจบ็ จากการจดั ทา และผูกยดึ /เคล่ือนยา ยจำนวนอุบตั ิการณการยายผปู ว ยกลับเขา หอผูปวยหนักอยา งไมค าดคดิภายใน 3 วันจำนวนอุบตั ิการณการกลบั มารกั ษาซำ้ภายใน 48 ช่วั โมงดวยอาการรนุ แรงจากสาเหตุความไมร ูวธิ ีการเฝา สังเกตอาการผิดปกตหิ รอืการดูแลสขุ ภาพตนเองจำนวนอุบัติการณทารกบาดเจ็บจากกระบวนการคลอด

หนวยบริการพยาบาล 17ขอมูลทจ่ี ัดเกบ็ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศทไี่ ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICจำนวนอุบตั กิ ารณ รายงานสรปุ ผลระบุเพศทารกผดิ กาวิเคราะหจ ำนวนและ/สง ใหมารดา ขอ รองเรยี นตามผดิ คน ประเภทจำนวนอบุ ัตกิ ารณการเกดิ ภาวะ อตั ราการตดิ เชื้อในขาดออกซเิ จนจาก ทางเดินปสสาวะBirth Asphyxia จากการคาสายขอรองเรียน สวนปส สาวะจำนวนขอ รอ งเรยี นเร่ืองละเมดิ สิทธผิ ูปว ยจำนวนขอ รอ งเรยี นเร่ืองพฤติกรรมบรกิ ารจำนวนขอ รองเรยี นเกย่ี วกับการกำจดั ขยะการตดิ เชื้อจำนวนครั้งการติดเชือ้ทางเดนิ ปส สาวะจากการคาสายสวนจำนวนวนั นอนรวมของผูป ว ยที่เฝาระวงัทัง้ หมด สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

18 หนวยบริการพยาบาล ขอมลู ท่จี ดั เกบ็ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศท่ไี ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICจำนวนครงั้ การเกิด อัตราการตดิ เชอื้ปอดอกั เสบ ท่ปี อด จากการใชจำนวนวนั นอนรวม เคร่ืองชว ยหายใจทใี่ ชเ ครื่องชวยหายใจจำนวนครงั้ การเกิด อตั ราการเกดิ แผลแผลกดทบั ระดับ กดทบั ของผูปว ย2-4 ท่ีนอนรักษาในจำนวนวันนอนรวม โรงพยาบาลผปู วยกลมุ เส่ยี งจำนวนผคู ลอด อัตราการติดเชอ้ืทตี่ ิดเชื้อแผลฝเ ย็บ จากแผลฝเย็บจำนวนผูค ลอดทีม่ ีแผลฝเ ย็บท้งั หมด อัตราการตดิ เชอ้ืจำนวนครัง้ การตดิ เชอ้ื แผลผาตัดสะอาดแผลผาตดั สะอาดจำนวนแผลผาตดั อตั ราการกลับสะอาดท้งั หมด เขา รบั การรกั ษาซ้ำการบริการพยาบาล ในโรงพยาบาลจำนวนผูปวยกลบั เขา ภายใน 28 วนัรักษาซำ้ ดว ยโรค/ โดยไมไดวางแผนอาการเดมิ ภายใน ลวงหนา28 วนั หลังจำหนายโดยไมไดว างแผน

หนวยบริการพยาบาล 19ขอ มลู ท่ีจดั เก็บ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศทไ่ี ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICจำนวนผูป วยที่มี รอ ยละผปู วยท่มี ีความรูในการดแู ล ความรใู นการดูแลสขุ ภาพ สขุ ภาพตนเองจำนวนผูปว ย รอ ยละของผูป วยโรคเรอ้ื รงั ทไี่ ดร บั โรคเรอ้ื รงั ไดรบัการสง ตอ การสงตอ เพื่อการจำนวนผูปวยเร้อื รงั ดูแลตอ เนือ่ งทงั้ หมดจำนวนผใู ชบ รกิ าร รอยละของท่กี ลบั มาตรวจรกั ษา ผใู ชบ รกิ ารท่ีกอ นกำหนดวนั นัด กลับมาตรวจรักษาจากการปฏบิ ัตติ วั กอ นกำหนดวนั นดัไมถ ูกตอ ง จากการปฏิบตั ติ ัวจำนวนผใู ชบ รกิ าร ไมถ ูกตองท่ีถกู นดั ทง้ั หมดจำนวนผปู ว ยท่สี งตอ รอยละผปู วยไดร บั การดแู ล ทส่ี ง ตอ ไดรบั การตอเนอื่ งทนั ทที ีถ่ งึ ดูแลตอ เนอื่ งทันทีโรงพยาบาล ทถี่ ึงโรงพยาบาลจำนวนผปู วยท่ีสงตอท้ังหมด สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

20 หนวยบริการพยาบาล ขอมลู ทจี่ ัดเกบ็ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศท่ไี ด งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICจำนวนผูป วย รอยละของผูป วยElective case ท่ี ที่นัดผาตดัไดรบั การประเมิน (Elective case)ปญหา ไดรบั การประเมนิจำนวนผปู วย ปญ หาและเตรยี มElective case ความพรอมตามทง้ั หมด มาตรฐานกอน วนั ผา ตัดจำนวนหญิงตั้งครรภ รอ ยละหญงิท่ผี าน ANC ไดร ับ ต้ังครรภท่ีผาน ANCบรกิ ารตามเกณฑ ไดรบั บรกิ ารตามมาตรฐานการดแู ล เกณฑมาตรฐานหญงิ ตง้ั ครรภ การดแู ลหญิงจำนวนหญงิ ต้ังครรภ ต้งั ครรภท่ีผา น ANC ท้ังหมดจำนวนผูปว ย รอยละของผปู วยElective case ทไ่ี ด ที่นัดผา ตัดรับการประเมินปญหา (Elective case)และเตรยี มความพรอ ม ไดรับการประเมนิกอ นรบั บริการวิสัญญี ปญหาและเตรยี มจำนวนผปู ว ย ความพรอมกอนรับElective case บริการทางวิสัญญีทง้ั หมด

หนวยบรกิ ารพยาบาล 21ขอมูลที่จดั เก็บ ก ุลมการพยาบาล สารสนเทศที่ได งาน ูผ ปวยบุติเหตุและ ุฉกเฉิน งาน ูผปวยนอก งาน ูผ ปวยใน งานป ึรกษา ุสขภาพ งาน ูผปวยหนัก งาน หองคลอด งานฝากครร ภ งาน หองผา ัตด งาน ิว ัสญ ีญ งาน ปอง ักนและควบ ุคมการ ิตดเช้ือในโรงพยาบาล NSO ER OPD IPD Csg ICU LR ANC OR AN ICจำนวนผปู วยท่มี ี รอยละผูปวยท่ีความพรอ มตามเกณฑ ยายออกจากหองกอ นยา ยออกจาก พักฟน มคี วามพรอมหอ งพักฟน ตามเกณฑบง ชี้จำนวนผูปว ยที่ใชบรกิ ารในหองพกั ฟน รอ ยละ ผใู ชบริการท้งั หมด ปรึกษาท่มี าตามนัดผูใชบ ริการปรึกษาทมี่ าตามนดั รอยละของผูใ ชจำนวนผูใชบ ริการ บริการทม่ี ีความปรกึ ษาทีน่ ดั หมาย วิตกกงั วล ลดลงทง้ั หมด ภายหลังรับบรกิ ารจำนวนผใู ชบ ริการ ปรกึ ษาแตละคร้ังทม่ี คี วามวติ กกังวลลดลง ภายหลงัรบั บริการปรึกษาแตละครัง้หมายเหตุ หมายถึง ขอมูลทีแ่ ตล ะหนวยบรกิ ารตอ งเกบ็สญั ลกั ษณ หมายถึง ขอ มลู ทีเ่ ปน ชุดเดยี วกนัสัญลกั ษณ หมายถึง ขอ มลู ภาพรวมของกลมุ การพยาบาลสญั ลักษณสรุปขอมูล/สารสนเทศทจี่ ดั เกบ็ ของหนวยบริการพยาบาล ดังแสดงในตารางที่ 2-12 สำนักการพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

22 ตารางท่ี 2 ขอ มลู /สารสนเทศทจี่ ัดเก็บของกลุมการพยาบาล ขอมลู ท่ตี องเก็บ สารสนเทศท่ีได ฐานขอ มลู ทัว่ ไป 1. จำนวนผูปว ยแตละงาน - จำนวนผูปวยแตละงานเฉล่ยี /วนั 2. ช่วั โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ภาระงาน/ผลติ ภาพ 3. คะแนนความพงึ พอใจของผใู ชบรกิ าร - ความพงึ พอใจของผใู ชบ รกิ าร 4. คะแนนเตม็ ของแบบสอบถามของผใู ชบ ริการ 5. คะแนนความพงึ พอใจของบคุ ลากรทางการพยาบาล - ความพึงพอใจของบุคลากร 6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล 7. จำนวนวันนอนของผูปวย - จำนวนวนั นอนเฉลยี่ 8. จำนวนเตียงตามกรอบ - อตั ราครองเตียง 9. จำนวนเตยี งทีเ่ ปดใหบริการจริงของแตละหนว ยงาน 10. ระดับคุณภาพ (HA) - ระดับคณุ ภาพ (HA) 11. สาขาและระดบั ของ Excellent Center - สาขาและระดับของ Excellent Center ฐานขอมลู บคุ ลากร 1. จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN,TN) ของแตละ - จำนวนบคุ ลากรทางการ พยาบาล หนว ยงาน (RN, TN) ท้ังหมดและแบงตามงาน 2. วุฒิการศึกษาของแตล ะหนว ยงาน - จำนวนผจู บการศกึ ษาปริญญาโท และ 2.1 จำนวนผทู จี่ บปริญญาโทและปริญญาเอก ปรญิ ญาเอก สาขาการพยาบาล ทางการพยาบาลและสาขาอื่น ๆ และสาขาอื่น ๆ 2.2 จำนวน APN - จำนวน APN 3. ตำแหนง พยาบาลของแตล ะหนวยงานแบงเปน ระดับ - จำนวนพยาบาลแตล ะตำแหนง ดังนี้ ระดบั ปฎบิ ัตกิ าร/ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ/ เชยี่ วชาญ 4. สถานะการปฏิบตั งิ านของแตละหนวยงาน ไดแ ก - จำนวนพยาบาลทล่ี าออก/โอนยา ย/ จำนวนรบั ใหม/จำนวนปฏบิ ัติงาน/จำนวนรับโอน/ ลาศึกษา/เกษียณ ยา ย/จำนวนลาศกึ ษา/จำนวนเกษยี ณ/จำนวนออก/ - อัตราการสญู เสยี จำนวนเสยี ชีวิต

23ตารางที่ 2 ขอ มลู /สารสนเทศทีจ่ ดั เกบ็ ของกลมุ การพยาบาล (ตอ ) ขอมลู ทตี่ องเก็บ สารสนเทศทไ่ี ด ฐานขอมลู คุณภาพ1. อุบัตกิ ารณของทกุ หนวยงาน1.1 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารพลัดตกหกลม - อุบตั ิการณท่เี กิดขน้ึ ทั้งหมด1.2 จำนวนอุบัตกิ ารณการระบุตวั ผูใ ชบริการผิดคน แยกรายขอของอบุ ัตกิ ารณ1.3 จำนวนอุบตั กิ ารณการรักษาพยาบาลผปู ว ยผิดคน1.4 จำนวนอุบัตกิ ารณค วามผิดพลาดในการบรหิ ารยา1.5 จำนวนอบุ ัตกิ ารณการใหเลือดและ/หรือสวนประกอบของเลอื ด1.6 จำนวนอุบตั กิ ารณจากการปฏบิ ัติงาน1.7 จำนวนอุบัติการณการบาดเจ็บจากการจัดทาและผกู ยึด1.8 จำนวนอบุ ตั กิ ารณจ ากการตายทส่ี ามารถปอ งกนั ได1.9 จำนวนอบุ ตั กิ ารการยา ยผปู ว ยกลบั เขา หอผปู ว ยหนกัอยา งไมคาดคดิ ภายใน 3 วัน1.10 จำนวนอบุ ัติการณก ารกลบั มารักษาซ้ำภายใน48 ช่ัวโมง ดวยอาการรนุ แรง จากสาเหตุความไมร ูวิธกี ารเฝา สงั เกตอาการผดิ ปกตหิ รอืการดแู ลสุขภาพตนเอง1.11 จำนวนอบุ ตั กิ ารณทารกบาดเจ็บจากกระบวนการคลอด1.12 จำนวนอุบตั กิ ารณร ะบเุ พศทารกผิดและ/สง ใหมารดาผิดคน1.13 จำนวนอบุ ัตกิ ารณก ารเกิดภาวะขาดออกซิเจนจาก Birth Asphyxia1.14 จำนวนอบุ ตั ิการณการมีสิง่ ของหรอื อุปกรณตกคา งในรางกายผปู ว ย1.15 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารสงผปู วยผาตัดผดิ คน/ผา ตัดผิดขาง สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

24 ตารางท่ี 2 ขอ มูล/สารสนเทศที่จดั เกบ็ ของกลุมการพยาบาล (ตอ) ขอมูลที่ตอ งเก็บ สารสนเทศทไ่ี ด 2. ขอรอ งเรยี นของทกุ หนวยงาน - จำนวนขอ รองเรียนเร่ืองละเมดิ สิทธิ 2.1 จำนวนขอ รอ งเรียนเรือ่ งละเมิดสทิ ธิผปู วย ผปู วยและพฤติกรรมบริการ 2.2 จำนวนขอรอ งเรียนเรอื่ งพฤตกิ รรมบริการ 2.3 จำนวนขอ รอ งเรยี นเกี่ยวกบั การกำจัดขยะ - จำนวนขอรองเรยี นเกยี่ วกับการ กำจดั ขยะ 3. การติดเชื้อ 3.1 จำนวนคร้ังการตดิ เช้ือในทางเดินปสสาวะจาก - อตั ราการติดเช้อื ในทางเดินปสสาวะ การคาสายสวนฯ ของทุกหนว ยงาน จากการคาสายสวนปส สาวะ 3.2 จำนวนวันนอนรวมของผูป วยท่เี ฝาระวงั ทัง้ หมด ของทกุ หนวยงาน - อตั ราการติดเชื้อที่ปอดจากการใช 3.3 จำนวนครัง้ การเกดิ ปอดอักเสบจากการใช เคร่อื งชว ยหายใจ เคร่อื งชวยหายใจ 3.4 จำนวนวนั นอนรวมที่ผปู ว ยใชเครอ่ื งชว ยหายใจ - อตั ราการเกดิ แผลกดทบั ของ 3.5 จำนวนคร้ังการเกิดแผลกดทบั ระดบั 2-4 ผปู วยทน่ี อนรักษาในโรงพยาบาล 3.6 จำนวนวนั นอนรวมผูปวยกลุมเสี่ยง 3.7 จำนวนผูคลอดท่ีติดเชอื้ ทแ่ี ผลฝเย็บ - อัตราการติดเช้ือจากแผลฝเ ย็บ 3.8 จำนวนผูค ลอดทีม่ แี ผลฝเ ยบ็ ทัง้ หมด 3.9 จำนวนคร้งั การติดเชือ้ แผลผาตดั สะอาด - อัตราการตดิ เช้อื แผลผาตดั สะอาด 3.10 จำนวนแผลผา ตดั สะอาดท้งั หมด - อัตราการกลบั เขา รบั การ รกั ษาซ้ำ 4. การบรกิ ารพยาบาลของทุกหนว ยงาน ในโรงพยาบาลภายใน 28 วนั 4.1 จำนวนผูปวยที่กลับเขารับการรักษาซ้ำดวยโรค โดยไมไดว างแผนลางหนา หรืออาการเดมิ ภายใน 28 วันหลงั จำหนา ย โดยไมไดวางแผน - รอ ยละผูปวยท่มี ีความรูในการดแู ล 4.2 จำนวนผูป ว ยท่ีมคี วามรใู นการดูแลสุขภาพ สขุ ภาพตนเอง 4.3 จำนวนผูปวยเรื้อรงั ท้ังหมด - รอ ยละของผูปวยโรคเรอื้ รังไดร ับ 4.4 จำนวนผูปว ยโรคเรือ้ รังทไ่ี ดร บั การสงตอ การสงตอเพ่อื การดแู ลตอ เนือ่ ง

25ตารางท่ี 2 ขอมลู /สารสนเทศที่จัดเก็บของกลมุ การพยาบาล (ตอ)ขอ มูลทตี่ อ งเก็บ สารสนเทศทไี่ ด4.5 จำนวนผูใ ชบรกิ ารท่กี ลับมาตรวจรักษา - รอ ยละของผใู ชบรกิ ารท่กี ลับมากอ นกำหนดวันนดั จากการปฏบิ ตั ติ วั ไมถกู ตอง ตรวจรกั ษากอ น กำหนดวันนดั4.6 จำนวนผใู ชบรกิ ารท่ถี ูกนัดทง้ั หมด จากการปฏบิ ัติตวั ไมถกู ตอง4.7 จำนวนผูป วยท่สี ง ตอไดรบั การดูแลตอเนอ่ื งทนั ที - รอ ยละผูปวยทส่ี ง ตอ ไดร บั การดแู ลทถ่ี งึ โรงพยาบาล ตอ เนอื่ งทันทีท่ีถึงโรงพยาบาล4.8 จำนวนผูป ว ยที่สงตอ ท้งั หมด4.9 จำนวนผปู วย Elective case ทไี่ ดรับ - รอยละของผูป ว ยที่นดั ผา ตดั (Elective การประเมินปญ หา case) ไดร ับการประเมนิ ปญ หาและ เตรยี มความพรอ มตามมาตรฐาน4.10 จำนวนผูปว ย Elective case ทัง้ หมด กอ นวนั ผาตัด4.11 จำนวนหญงิ ต้งั ครรภท ่ีผาน ANC ไดรับบรกิ าร - รอ ยละหญงิ ตั้งครรภทีผ่ า น ANCตามเกณฑมาตรฐานการดแู ลหญงิ ตงั้ ครรภ ไดร บั บริการตามเกณฑม าตรฐาน4.12 จำนวนหญิงตง้ั ครรภท ผี่ าน ANC ท้ังหมด การดแู ลหญงิ ต้งั ครรภ4.13 จำนวนผูปวย Elective case ท่ไี ดรับการ - รอ ยละของผปู วยทน่ี ดั ผาตัด ประเมนิ ปญ หาและเตรยี มความพรอ ม (Elective case) ไดรบั การประเมนิ กอ นรับบริการวิสัญญี ปญหาและเตรียมความพรอม4.14 จำนวนผปู ว ย Elective case ท้ังหมด กอ นรับบรกิ ารทางวิสญั ญี4.15 จำนวนผูปว ยท่มี ีความพรอมตามเกณฑกอนยา ย - รอยละผปู ว ยท่ียา ยออกจากหองพักฟนออกจากหอ งพกั ฟน มคี วามพรอ มตามเกณฑบ ง ชี้4.16 จำนวนผปู ว ยท่ใี ชบ รกิ ารในหอ งพกั ฟนทง้ั หมด4.17 ผูใชบริการปรกึ ษาทมี่ าตามนดั - รอ ยละผูใชบ ริการปรึกษาทีม่ าตามนดั4.18 จำนวนผใู ชบริการปรกึ ษาท่นี ดั หมายท้ังหมด - รอยละของผใู ชบ ริการทม่ี ีความ4.19 จำนวนผูใชบ ริการที่มีความวติ กกังวลลดลงภายหลงั รบั บรกิ ารปรึกษาแตละคร้ัง วติ กกงั วล ลดลงภายหลังรบั บริการ ปรึกษาแตละคร้ัง สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

26 ตารางท่ี 3 ขอมูล/สารสนเทศทจี่ ัดเก็บของงานผปู วยนอก ขอ มลู ที่ตองเกบ็ สารสนเทศทไ่ี ด ฐานขอมลู ทัว่ ไป 1. จำนวนผปู ว ยนอก - จำนวนผปู วยนอกเฉลยี่ /วัน 2. ชวั่ โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity) 3. คะแนนความพึงพอใจของผใู ชบริการ - ความพึงพอใจของผใู ชบริการ 4. คะแนนเต็มของแบบสอบถามของผใู ชบ รกิ าร 5. คะแนนความพงึ พอใจของบคุ ลากรทางการพยาบาล - ความพึงพอใจของบคุ ลากร 6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอมลู บคุ ลากร 1. จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) 2. วฒุ ิการศกึ ษา - จำนวนผูจบการศกึ ษาปริญญาโท, ปริญญาเอก 3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตละตำแหนง 4. สถานะการปฏิบัตงิ าน - จำนวนการออก โอน ยาย ลาศกึ ษา ฐานขอ มูลคุณภาพ 1. อุบตั ิการณ - อุบัตกิ ารณทีเ่ กดิ ขึ้นในหนวยงาน 1.1 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารพลดั ตกหกลม ผูปวยนอก 1.2 จำนวนอุบัติการณการระบุตวั ผใู ชบ ริการผดิ คน 1.3 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารรกั ษาพยาบาลผปู ว ยผดิ คน 1.4 จำนวนอบุ ตั กิ ารณค วามผดิ พลาดในการบรหิ ารยา 1.5 จำนวนอบุ ัตกิ ารณการใหเ ลอื ดและ/หรอื สว นประกอบของเลอื ด 1.6 จำนวนอบุ ตั กิ ารณจ ากการปฏบิ ตั ิงาน 1.7 อบุ ัตกิ ารณการบาดเจบ็ จากการเคล่ือนยา ย 2. ขอรอ งเรยี น 2.1 จำนวนขอ รอ งเรียนเรอ่ื งละเมิดสิทธผิ ูปวย - ขอรอ งเรยี นเร่อื งละเมดิ สทิ ธผิ ปู วย 2.2 จำนวนขอ รองเรียนเรอื่ งพฤตกิ รรมบรกิ าร และพฤตกิ รรมบรกิ าร

27ตารางท่ี 3 ขอ มูล/สารสนเทศท่จี ดั เก็บของงานผปู วยนอก (ตอ) ขอ มูลท่ีตอ งเกบ็ สารสนเทศทไี่ ด3. การบริการพยาบาล - รอยละของผูปว ยโรคเรอ้ื รงั ไดรับ 3.1 จำนวนผปู วยเร้ือรังท้ังหมด การสง ตอเพอ่ื การดแู ลตอ เน่ือง 3.2 จำนวนผปู วยโรคเร้ือรังท่ไี ดรบั การสง ตอ 3.3 จำนวนผใู ชบริการท่ีกลบั มาตรวจรกั ษา - รอ ยละของผใู ชบรกิ ารที่กลับมา กอ นกำหนดวนั นดั จากการปฏิบัติตวั ไมถกู ตอ ง ตรวจรักษากอนกำหนดวนั นัด 3.4 จำนวนผูใชบ รกิ ารที่ถกู นดั ท้ังหมด จากการปฏิบตั ติ วั ไมถ ูกตอ งตารางท่ี 4 ขอ มูล/สารสนเทศทจ่ี ดั เก็บของงานอุบตั เิ หตุและฉกุ เฉิน ขอ มลู ทีต่ อ งเกบ็ สารสนเทศทไ่ี ด ฐานขอมูลทัว่ ไป1. จำนวนผปู ว ยอุบตั เิ หตฉุ ุกเฉนิ - จำนวนผปู วยอบุ ตั เิ หตฉุ กุ เฉนิ เฉล่ีย/วัน2. ชว่ั โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity)3. คะแนนความพงึ พอใจของผใู ชบ ริการ - ความพึงพอใจของผใู ชบ รกิ าร4. คะแนนเต็มของแบบสอบถามของผใู ชบริการ5. คะแนนความพงึ พอใจของบคุ ลากรทางการพยาบาล - ความพงึ พอใจของบุคลากร6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอมลู บุคลากร1. จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบุคลากรทางการ พยาบาล (RN, TN)2. วฒุ ิการศึกษา - จำนวนผูจ บการศึกษาปริญญาโท, ปรญิ ญาเอก3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตละตำแหนง4. สถานะการปฏิบัตงิ าน - จำนวนการออก โอน ยาย ลาศกึ ษา สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

28 ตารางที่ 4 ขอ มลู /สารสนเทศที่จัดเก็บของงานอุบตั ิเหตแุ ละฉุกเฉิน (ตอ) ขอมลู ทตี่ อ งเกบ็ สารสนเทศทไี่ ด ฐานขอมลู คณุ ภาพ 1. อุบัติการณ 1.1 จำนวนอบุ ัติการณการพลดั ตกหกลม - อุบตั กิ ารณทีเ่ กิดขน้ึ ในหนวยงาน 1.2 จำนวนอบุ ตั กิ ารณการระบุตวั ผูใชบ รกิ ารผิดคน อบุ ัตเิ หตุฉุกเฉิน 1.3 จำนวนอุบัตกิ ารณการรักษาพยาบาลผูปว ยผดิ คน 1.4 จำนวนอุบัตกิ ารณความผิดพลาดในการบริหารยา 1.5 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารใหเ ลอื ดและ/หรือ สว นประกอบของเลอื ด 1.6 จำนวนอบุ ตั ิการณจากการปฏบิ ัติงาน 1.7 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารบาดเจบ็ จากการ เคล่ือนยาย 1.8 จำนวนอบุ ตั กิ ารณจากการตายท่ีสามารถ ปองกันได 1.9 จำนวนอุบตั กิ ารณการกลับมารักษาซ้ำ ภายใน 48 ชวั่ โมง ดว ยอาการรุนแรง จากสาเหตุ ความไมรวู ิธกี ารเฝาสังเกตอาการผิดปกติหรือ การดแู ลสุขภาพตนเอง 2. ขอรอ งเรยี น 2.1 จำนวนขอรองเรียนเรอื่ งละเมิดสิทธิผปู วย - ขอรอ งเรียนเรอื่ งละเมดิ สทิ ธผิ ปู วย 2.2 จำนวนขอ รองเรยี นเรอื่ งพฤติกรรมบรกิ าร และพฤตกิ รรมบริการ 3. การบรกิ ารพยาบาล 3.1 จำนวนผปู วยทส่ี ง ตอไดรบั การดแู ลตอเนอ่ื งทันที - รอ ยละผูปวยท่ีสง ตอ ไดร ับการดแู ล ทีถ่ ึงโรงพยาบาล ตอเนอื่ งทันทีที่ถงึ โรงพยาบาล 3.2 จำนวนผูปวยทส่ี ง ตอ ท้ังหมด

29ตารางที่ 5 ขอมูล/สารสนเทศทจ่ี ัดเก็บของงานผปู ว ยใน ขอ มลู ทต่ี องเก็บ สารสนเทศทีไ่ ด ฐานขอมูลทวั่ ไป1. จำนวนผูปว ยใน - จำนวนผปู วยในเฉล่ีย/วัน2. ช่ัวโมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity)3. คะแนนความพึงพอใจของผูใชบ รกิ าร - ความพงึ พอใจของผูใชบริการ4. คะแนนเตม็ ของแบบสอบถามของผูใชบ รกิ าร5. คะแนนความพึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาล - ความพงึ พอใจของบุคลากร6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล7. จำนวนวนั นอนผูปวย - จำนวนวนั นอนเฉลยี่8. จำนวนเตยี งทีเ่ ปด ใหบริการ - อตั ราครองเตยี ง ฐานขอ มลู บุคลากร1. จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN)2. วุฒกิ ารศกึ ษา - จำนวนผจู บการศกึ ษาปริญญาโท, ปรญิ ญาเอก3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตละตำแหนง4. สถานะการปฏิบัตงิ าน - จำนวนการออก โอน ยาย ลาศกึ ษา ฐานขอมลู คณุ ภาพ1. อุบตั ิการณ1.1 จำนวนอบุ ัติการณก ารพลดั ตกหกลม - อุบัติการณทีเ่ กิดข้นึ ในหนวยงาน1.2 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารระบุตวั ผูใชบริการผดิ คน ผูปว ยใน1.3 จำนวนอบุ ัติการณก ารรักษาพยาบาลผปู วยผิดคน1.4 จำนวนอบุ ตั กิ ารณค วามผดิ พลาดในการบรหิ ารยา1.5 จำนวนอุบตั ิการณการใหเ ลือดและ/หรอืสวนประกอบของเลือด1.6 จำนวนอบุ ัตกิ ารณจ ากการปฏบิ ัติงาน1.7 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารบาดเจบ็ จากการจัดทาและผูกยดึ1.8 จำนวนอบุ ตั กิ ารณจ ากการตายทส่ี ามารถปอ งกนั ได สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

30 ตารางที่ 5 ขอมลู /สารสนเทศทจี่ ัดเกบ็ ของงานผปู วยใน (ตอ ) ขอมูลท่ีตองเก็บ สารสนเทศท่ไี ด 2. ขอ รอ งเรียน 2.1 จำนวนขอ รองเรยี นเร่อื งละเมดิ สิทธผิ ปู วย - ขอ รองเรยี นเรอ่ื งละเมิดสิทธผิ ูป วย 2.2 จำนวนขอรอ งเรียนเรือ่ งพฤตกิ รรมบริการ และพฤติกรรมบริการ 3. การติดเชื้อ 3.1 จำนวนครงั้ การติดเชือ้ ในทางเดินปสสาวะจากการ - อัตราการติดเชอื้ ทางเดินปส สาวะ คาสายสวนฯ จากการคาสายสวนปสสาวะ 3.2 จำนวนวนั นอนรวมของผูปว ยทเ่ี ฝา ระวังทงั้ หมด 3.3 จำนวนครัง้ การเกิดปอดอักเสบ - อตั ราการตดิ เช้ือท่ีปอดจากการใช 3.4 จำนวนวันนอนรวมทีใ่ ชเคร่อื งชว ยหายใจ เคร่อื งชว ยหายใจ 3.5 จำนวนครงั้ การเกิดแผลกดทับระดับ 2-4 - อัตราการเกิดแผลกดทับของผปู ว ย 3.6 จำนวนวันนอนรวมผปู วยกลมุ เสี่ยง ที่นอนรกั ษาในโรงพยาบาล 3.7 จำนวนผคู ลอดท่ีตดิ เชอ้ื ท่แี ผลฝเ ย็บ - อตั ราการตดิ เชอ้ื จากแผลฝเย็บ 3.8 จำนวนผคู ลอดท่มี แี ผลฝเ ยบ็ ทง้ั หมด 3.9 จำนวนคร้งั การติดเชอื้ แผลผา ตดั สะอาด - อตั ราการตดิ เช้ือแผลผาตัดสะอาด 3.10 จำนวนแผลผาตัดสะอาดทง้ั หมด 4. การบริการพยาบาล 4.1 จำนวนผปู ว ยที่กลบั เขา รบั การรักษาซ้ำดวยโรค - อัตราการกลบั เขา รับการ รกั ษาซำ้ หรอื อาการเดมิ ภายใน 28 วันหลงั จำหนา ย ในโรงพยาบาล ภายใน 28 วนั โดยไมไดว างแผน โดยไมไดว างแผนลว งหนา 4.2 จำนวนผปู วยท่มี ีความรูใ นการดูแลสุขภาพ - รอยละผูป ว ยมคี วามรูใ นการดแู ล สขุ ภาพตนเอง

31ตารางท่ี 6 ขอมูล/สารสนเทศที่จดั เกบ็ ของงานผปู ว ยหนัก ขอ มลู ทีต่ องเก็บ สารสนเทศท่ีได ฐานขอมูลท่ัวไป1. จำนวนผปู วยหนกั - จำนวนผปู ว ยหนกั เฉล่ีย/วัน2. ชวั่ โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลติ ภาพ (Productivity)3. คะแนนความพึงพอใจของผใู ชบริการ - ความพึงพอใจของผูใชบริการ4. คะแนนเตม็ ของแบบสอบถามของผูใชบ รกิ าร5. คะแนนความพงึ พอใจของบุคลากรทางการพยาบาล - ความพงึ พอใจของบคุ ลากร6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล7. จำนวนวนั นอนผูป ว ย - จำนวนวันนอนเฉล่ยี8. จำนวนเตยี งท่ีเปด ใหบริการ - อตั ราครองเตยี ง ฐานขอมูลบุคลากร1. จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN)2. วฒุ กิ ารศกึ ษา - จำนวนผจู บการศกึ ษาปรญิ ญาโท, ปริญญาเอก3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตล ะตำแหนง4. สถานะการปฏิบัติงาน - จำนวนการออก โอน ยา ย ลาศกึ ษา ฐานขอมูลคุณภาพ1. อบุ ตั กิ ารณ - อุบัตกิ ารณทเี่ กดิ ข้ึนในหนวยงาน1.1 จำนวนอบุ ตั ิการณการพลัดตกหกลม ผปู ว ยหนกั1.2 จำนวนอุบตั กิ ารณการระบุตวั ผใู ชบรกิ ารผดิ คน1.3 จำนวนอบุ ตั กิ ารณการรกั ษาพยาบาลผปู ว ยผดิ คน1.4 จำนวนอุบตั กิ ารณความผิดพลาดในการบริหารยา1.5 จำนวนอบุ ัติการณก ารใหเลอื ดและ/หรอืสว นประกอบของเลือด1.6 จำนวนอบุ ัติการณจากการปฏบิ ัติงาน1.7 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารบาดเจ็บจากการจัดทา และผูกยึด สำนักการพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

32 ตารางท่ี 6 ขอมลู /สารสนเทศทจ่ี ดั เก็บของงานผูปว ยหนกั (ตอ ) ขอ มลู ที่ตองเก็บ สารสนเทศท่ีได 1.8 จำนวนอุบตั กิ ารณจากการตายทีส่ ามารถ ปองกนั ได 1.9 จำนวนอุบัติการการยายผูป วยกลับเขา หอ ผปู วยหนักอยางไมค าดคิดภายใน 3 วัน 2. ขอ รองเรยี น 2.1 จำนวนขอ รองเรยี นเรือ่ งละเมิดสทิ ธผิ ปู วย - ขอรองเรียนเรือ่ งละเมดิ สิทธผิ ปู วย 2.2 จำนวนขอ รองเรียนเรอื่ งพฤตกิ รรมบรกิ าร และพฤตกิ รรมบริการ 3. การติดเชือ้ 3.1 จำนวนคร้งั การติดเช้อื ในทางเดินปส สาวะจากการ - อัตราการตดิ เช้ือในทางเดินปสสาวะ คาสายสวนฯ จากการคาสายสวนปส สาวะ 3.2 จำนวนวันนอนรวมของผปู วยที่เฝา ระวงั ท้งั หมด 3.3 จำนวนครงั้ การเกดิ ปอดอักเสบ - อัตราการตดิ เชอ้ื ทป่ี อดจากการใช 3.4 จำนวนวนั นอนรวมทใ่ี ชเ ครอ่ื งชวยหายใจ เครื่องชวยหายใจ 3.5 จำนวนคร้งั การเกดิ แผลกดทบั ระดบั 2-4 - อตั ราการเกดิ แผลกดทบั ของผูป ว ย 3.6 จำนวนวนั นอนรวมผูปว ยกลมุ เสีย่ ง ทน่ี อนรักษาในโรงพยาบาล

33ตารางที่ 7 ขอ มลู /สารสนเทศทจ่ี ดั เก็บของงานหองคลอด ขอมลู ทีต่ องเก็บ สารสนเทศทีไ่ ด ฐานขอ มูลทวั่ ไป1. จำนวนผคู ลอด - จำนวนผูค ลอดเฉลีย่ /วนั2. ชวั่ โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลติ ภาพ (Productivity)3. คะแนนความพึงพอใจของผูใชบ ริการ - ความพงึ พอใจของผูใ ชบรกิ าร4. คะแนนเต็มของแบบสอบถามของผใู ชบรกิ าร5. คะแนนความพึงพอใจของบคุ ลากรทางการพยาบาล - ความพงึ พอใจของบคุ ลากร6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอมูลบคุ ลากร1. จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN)2. วุฒิการศกึ ษา - จำนวนผจู บการศึกษาปริญญาโท/ ปริญญาเอก3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตละตำแหนง4. สถานะการปฏบิ ตั ิงาน - จำนวนการออก โอน ยาย ลาศึกษา ฐานขอมลู คณุ ภาพ1. อุบตั กิ ารณ - อบุ ัติการณท เี่ กดิ ขนึ้ ในหนวยงาน1.1 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารพลดั ตกหกลม หองคลอด1.2 จำนวนอบุ ัตกิ ารณการระบตุ ัวผูใชบรกิ ารผดิ คน1.3 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารรกั ษาพยาบาลผปู ว ยผดิ คน1.4 จำนวนอบุ ตั กิ ารณค วามผดิ พลาดในการบรหิ ารยา1.5 จำนวนอบุ ตั กิ ารณการใหเลือดและ/หรือสว นประกอบของเลือด1.6 จำนวนอบุ ตั ิการณจากการปฏบิ ัตงิ าน1.7 จำนวนอบุ ัติการณการบาดเจ็บจากการจดั ทา1.8 จำนวนอบุ ตั ิการณท ารกบาดเจบ็ จากกระบวนการคลอด1.9 จำนวนอบุ ัตกิ ารณร ะบเุ พศทารกผิดและ/สงใหมารดาผิดคน สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

34 ตารางที่ 7 ขอ มูล/สารสนเทศทจ่ี ดั เก็บของงานหองคลอด (ตอ ) ขอมลู ทตี่ อ งเกบ็ สารสนเทศที่ได 1.10 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารเกิดภาวะขาดออกซิเจน - ขอ รองเรียนเรอ่ื งละเมดิ สิทธผิ ปู วย และ จาก Birth Asphyxia พฤตกิ รรมบรกิ าร 2. ขอรองเรยี น - อัตราการตดิ เชอื้ จากแผลฝเ ย็บ 2.1 จำนวนขอรอ งเรยี นเร่ืองละเมิดสิทธิผูปว ย 2.2 จำนวนขอรองเรียนเร่ืองพฤติกรรมบรกิ าร 3. การติดเช้อื 3.1 จำนวนผูคลอดที่ติดเชือ้ แผลฝเ ย็บ 3.2 จำนวนผูคลอดทมี่ ีแผลฝเยบ็ ทง้ั หมด ตารางท่ี 8 ขอมูล/สารสนเทศที่จัดเก็บของงานฝากครรภ ขอ มูลทตี่ องเกบ็ สารสนเทศทไี่ ด ฐานขอ มูลทวั่ ไป 1. จำนวนผฝู ากครรภ - จำนวนผูฝากครรภเ ฉลย่ี /วนั 2. ชัว่ โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity) 3. คะแนนความพงึ พอใจของผใู ชบ ริการ - ความพงึ พอใจของผใู ชบ ริการ 4. คะแนนเตม็ ของแบบสอบถามของผใู ชบรกิ าร 5. คะแนนความพงึ พอใจของบุคลากรทางการพยาบาล - ความพึงพอใจของบุคลากร 6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอ มูลบคุ ลากร 1. จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) 2. วฒุ กิ ารศกึ ษา - จำนวนผูจบการศึกษาปรญิ ญาโท, ปรญิ ญาเอก 3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตล ะตำแหนง 4. สถานะการปฏบิ ัติงาน - จำนวนการออก โอน ยา ย ลาศกึ ษา

35ตารางท่ี 8 ขอมูล/สารสนเทศที่จัดเกบ็ ของงานฝากครรภ (ตอ ) ขอ มูลท่ตี อ งเก็บ สารสนเทศท่ไี ด ฐานขอ มูลคณุ ภาพ1. อบุ ัติการณ - อุบัตกิ ารณท ี่เกดิ ขนึ้ ในหนวยงาน1.1 จำนวนอุบตั กิ ารณการพลัดตกหกลม อุบัตเิ หตุฉกุ เฉิน1.2 จำนวนอบุ ตั ิการณการระบุตัวผูใชบรกิ ารผดิ คน1.3 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารรักษาพยาบาลผูปว ยผิดคน1.4 จำนวนอบุ ัตกิ ารณค วามผดิ พลาดในการบรหิ ารยา1.5 จำนวนอุบตั กิ ารณก ารใหเลือดและ/หรือสวนประกอบของเลือด1.6 จำนวนอบุ ัติการณจ ากการปฏบิ ตั ิงาน2. ขอ รอ งเรียน2.1 จำนวนขอรอ งเรียนเร่อื งละเมดิ สทิ ธผิ ปู ว ย - ขอ รอ งเรียนเร่ืองละเมดิ สทิ ธิผูปว ย2.2 จำนวนขอ รอ งเรยี นเรอื่ งพฤติกรรมบรกิ าร และพฤติกรรมบริการ3. การบริการพยาบาล3.1 จำนวนหญงิ ต้ังครรภท ีผ่ าน ANC ไดร บั บริการ - รอ ยละหญิงตั้งครรภทผ่ี าน ANCตามเกณฑมาตรฐานการดแู ลหญิงตั้งครรภ ไดรับบริการตามเกณฑม าตรฐาน3.2 จำนวนหญงิ ตั้งครรภที่ผาน ANC ทง้ั หมด การดูแลหญิงต้ังครรภ สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

36 ตารางท่ี 9 ขอมลู /สารสนเทศทจ่ี ดั เกบ็ ของงานหองผาตดั ขอ มลู ที่ตอ งเกบ็ สารสนเทศทไ่ี ด ฐานขอ มูลท่ัวไป 1. จำนวนผผู าตัด - จำนวนผูปว ยผาตัดเฉลยี่ /วัน 2. ชั่วโมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity) 3. คะแนนความพึงพอใจของผูใชบ รกิ าร - ความพึงพอใจของผูใชบ ริการ 4. คะแนนเต็มของแบบสอบถามของผูใชบริการ 5. คะแนนความพึงพอใจของบคุ ลากรทางการพยาบาล - ความพึงพอใจของบคุ ลากร 6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอ มลู บคุ ลากร 1. จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN) 2. วุฒกิ ารศกึ ษา - จำนวนผจู บการศกึ ษาปรญิ ญาโท, ปริญญาเอก 3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตละตำแหนง 4. สถานะการปฏิบัติงาน - จำนวนการออก โอน ยา ย ลาศึกษา ฐานขอ มูลคุณภาพ 1. อบุ ัตกิ ารณ - อุบัติการณท่ีเกิดขึ้นในหนวยงาน 1.1 จำนวนอุบัตกิ ารณการพลัดตกหกลม หอ งผา ตดั 1.2 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารระบุตวั ผใู ชบรกิ ารผดิ คน 1.3 จำนวนอบุ ัตกิ ารณก ารสงผูปวยผาตดั ผิดคน/ ผา ตดั ผิดขา ง 1.4 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารมสี ่ิงของหรอื อปุ กรณ ตกคางในรางกายผูปวย 1.5 จำนวนอบุ ตั กิ ารณการใหเลอื ดและ/หรือ สว นประกอบของเลือด 1.6 จำนวนอุบัติการณจ ากการปฏิบัตงิ าน 1.7 จำนวนอุบัตกิ ารณการบาดเจ็บจากการจดั ทา

37ตารางท่ี 9 ขอ มลู /สารสนเทศที่จดั เกบ็ ของงานหองผา ตัด (ตอ ) ขอมลู ท่ีตองเกบ็ สารสนเทศท่ีได - ขอ รอ งเรยี นเร่อื งละเมดิ สทิ ธิผปู วย และ2. ขอรอ งเรียน 2.1 จำนวนขอรองเรียนเร่ืองละเมิดสิทธผิ ูป วย พฤตกิ รรมบริการ 2.2 จำนวนขอรองเรียนเรือ่ งพฤตกิ รรมบรกิ าร - อัตราการติดเชือ้ แผลผาตัดสะอาด3. การติดเชือ้ 3.1 จำนวนครัง้ การตดิ เชื้อแผลผาตดั สะอาด - รอยละของผูป วยท่นี ัดผาตัด (Elective 3.2 จำนวนแผลผาตัดสะอาดทงั้ หมด case) ไดรับการประเมินปญหาและ เตรียมความพรอมตามมาตรฐาน4. การบรกิ ารพยาบาล กอนวนั ผา ตัด 4.1 จำนวนผูปว ย Elective case ท่ไี ดร บั การ ประเมนิ ปญหา 4.2 จำนวนผูปว ย Elective case ทั้งหมดตารางท่ี 10 ขอมูล/สารสนเทศที่จัดเกบ็ ของงานวสิ ัญญี ขอ มลู ท่ีตองเกบ็ สารสนเทศทีไ่ ด ฐานขอ มลู ท่วั ไป1. จำนวนผูไ ดร บั บริการทางวิสัญญี - จำนวนผไู ดร บั บรกิ ารทางวสิ ญั ญเี ฉลย่ี /วนั2. ชั่วโมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity)3. คะแนนความพงึ พอใจของผใู ชบ ริการ - ความพึงพอใจของผใู ชบ ริการ4. คะแนนเต็มของแบบสอบถามของ ผใู ชบริการ5. คะแนนความพึงพอใจของบคุ ลากรทางการพยาบาล - ความพงึ พอใจของบุคลากร6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอ มลู บคุ ลากร1. จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบุคลากรทางการพยาบาล (RN, TN)2. วฒุ ิการศึกษา - จำนวนผูจบการศกึ ษาปรญิ ญาโท, ปริญญาเอก3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตล ะตำแหนง4. สถานะการปฏิบตั ิงาน - จำนวนการออกโอน ยาย ลาศกึ ษา สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

38 ตารางท่ี 10 ขอมูล/สารสนเทศที่จดั เก็บของงานวิสญั ญี (ตอ) ขอ มูลทตี่ องเกบ็ สารสนเทศทีไ่ ด ฐานขอมูลคุณภาพ 1. อุบัติการณ - อบุ ัตกิ ารณท่เี กดิ ขนึ้ ในหนว ยงาน 1.1 จำนวนอุบตั ิการณก ารพลดั ตกหกลม วสิ ญั ญี 1.2 จำนวนอุบัติการณการระบุตัวผใู ชบริการผดิ คน 1.3 จำนวนอบุ ตั กิ ารณการรกั ษาพยาบาลผูป วยผิดคน 1.4 จำนวนอุบตั ิการณความผิดพลาดในการบรหิ ารยา 1.5 จำนวนอบุ ตั ิการณก ารใหเลอื ดและ/หรอื สวนประกอบของเลือด 1.6 จำนวนอบุ ตั ิการณจากการปฏิบัตงิ าน 1.7 จำนวนอบุ ัตกิ ารณการบาดเจบ็ จากการจดั ทา 2. ขอรอ งเรียน 2.1 จำนวนขอรอ งเรียนเรื่องละเมดิ สิทธผิ ปู ว ย - ขอรอ งเรียนเรอ่ื งละเมดิ สทิ ธผิ ูปวย 2.2 จำนวนขอ รอ งเรยี นเร่อื งพฤตกิ รรมบริการ และพฤติกรรมบรกิ าร 3. การบริการพยาบาล 3.1 จำนวนผปู ว ย Elective case ทไ่ี ดรับการ - รอยละของผูปว ยท่นี ัดผาตดั ประเมินปญ หาและเตรยี มความพรอม (Elective case) ไดรบั การประเมิน กอ นรบั บริการวิสญั ญี ปญ หาและเตรียมความพรอม 3.2 จำนวนผูปวย Elective case ท้ังหมด กอนรับบริการทางวิสัญญี 3.3 จำนวนผูปว ยทมี่ ีความพรอมตามเกณฑกอ นยา ย - รอ ยละของผูปว ยทย่ี ายออกจาก ออกจากหอ งพักฟน หองพกั ฟน มีความพรอ มตาม 3.4 จำนวนผปู วยที่ใชบ รกิ ารในหอ งพักฟนทงั้ หมด เกณฑบ ง ชี้

39ตารางที่ 11 ขอ มลู /สารสนเทศท่จี ดั เกบ็ ของงานการปรกึ ษาสขุ ภาพ ขอ มูลทีต่ อ งเกบ็ สารสนเทศทไี่ ด ฐานขอ มูลทวั่ ไป1. จำนวนผไู ดร บั บริการปรกึ ษา - จำนวนผไู ดร บั บรกิ ารทางปรกึ ษาเฉลยี่ /วนั2. ชวั่ โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity)3. คะแนนความพึงพอใจของผใู ชบริการ - ความพงึ พอใจของผูใ ชบรกิ าร4. คะแนนเตม็ ของแบบสอบถามของ ผูใชบ ริการ5. คะแนนความพึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาล - ความพงึ พอใจของบคุ ลากร6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอ มูลบุคลากร1. จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN)2. วฒุ ิการศกึ ษา - จำนวนผูจ บการศกึ ษาปริญญาโท, ปริญญาเอก3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตล ะตำแหนง4. สถานะการปฏิบัติงาน - จำนวนการออก โอน ยา ย ลาศกึ ษา ฐานขอมูลคุณภาพ1. อุบัตกิ ารณ - อบุ ัติการณท ีเ่ กดิ ขึ้นในหนวยงาน1.1 จำนวนอุบัตกิ ารณการพลดั ตกหกลม อุบตั เิ หตุฉุกเฉิน1.2 จำนวนอุบตั กิ ารณก ารระบตุ ัวผูใ ชบรกิ ารผดิ คน1.3 จำนวนอบุ ตั กิ ารณก ารรกั ษาพยาบาลผปู ว ยผดิ คน1.4 จำนวนอบุ ตั กิ ารณค วามผดิ พลาดในการบรหิ ารยา1.5 จำนวนอบุ ัตกิ ารณจากการปฏิบัติงาน2. ขอรอ งเรยี น2.1 จำนวนขอรอ งเรียนเรอ่ื งละเมดิ สทิ ธผิ ูปวย - ขอ รอ งเรยี นเรือ่ งละเมิดสิทธผิ ปู วย และ2.2 จำนวนขอรองเรยี นเร่อื งพฤตกิ รรมบริการ พฤตกิ รรมบรกิ าร3. การบริการพยาบาล3.1 จำนวนผูใ ชบรกิ ารทมี่ คี วามวติ กกงั วลลดลง - รอ ยละของผใู ชบ รกิ ารทมี่ คี วามวติ กกงั วลภายหลงั รับบรกิ ารปรกึ ษาแตล ะคร้งั ลดลง ภายหลงั รบั บรกิ ารปรกึ ษาแตล ะครง้ั3.2 จำนวนผูใชบ ริการปรึกษาทม่ี าตามนัด - รอยละของผูใชบ ริการปรกึ ษาท่ีมา3.3 จำนวนผใู ชบ ริการปรกึ ษาทน่ี ดั หมายทง้ั หมด ตามนัด สำนกั การพยาบาล สำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

40 ตารางที่ 12 ขอ มลู /สารสนเทศที่จดั เกบ็ ของงานปอ งกนั และควบคมุ การตดิ เชื้อในโรงพยาบาล ขอมูลทีต่ อ งเกบ็ สารสนเทศทไ่ี ด ฐานขอ มลู ทัว่ ไป 1. จำนวนผูป ว ยแตล ะงาน - จำนวนผปู ว ยในเฉลี่ย 2. ช่วั โมงการพยาบาล (ตามมาตรฐานสภาฯ) - ผลิตภาพ (Productivity) 3. คะแนนความพงึ พอใจของผใู ชบ ริการ - ความพึงพอใจของผใู ชบริการ 4. คะแนนเต็มของแบบสอบถามของผใู ชบรกิ าร 5. คะแนนความพึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาล - ความพึงพอใจของบุคลากร 6. คะแนนเตม็ แบบสอบถามของบคุ ลากรทางการพยาบาล ฐานขอมูลบุคลากร 1. จำนวนบคุ ลากรทางการพยาบาล (RN, TN) - จำนวนบคุ ลากรทางการ พยาบาล (RN, TN) 2. วฒุ ิการศึกษา - จำนวนผูจบการศึกษาปริญญาโท, ปริญญาเอก 3. ตำแหนง - จำนวนพยาบาลแตละตำแหนง 4. สถานะการปฏบิ ัติงาน - จำนวนการออก โอน ยา ย ลาศกึ ษา ฐานขอมูลคุณภาพ 1. อุบัติการณ 1.1 จำนวนอบุ ตั กิ ารณจ ากการปฏิบตั ิงานในแตละ - อบุ ัติการณจ ากการปฏิบตั งิ าน หนวยงาน ทงั้ หมด 2. ขอ รองเรยี น 2.1 จำนวนขอรอ งเรยี นเกี่ยวกับการกำจัดขยะ - ขอ รองเรยี นเกยี่ วกับการกำจดั ขยะ 3. การตดิ เช้อื - อัตราการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล 3.1 จำนวนครง้ั การตดิ เชือ้ ในทางเดนิ ปสสาวะ - อัตราการติดเชอื้ ทางเดนิ ปส สาวะ จากการคาสายสวนฯ ของทกุ หนวยงาน จากการคาสายสวนปส สาวะ 3.2 จำนวนวันนอนรวมของผูปวยทเี่ ฝาระวังทงั้ หมด ของทกุ หนว ยงาน

41ตารางท่ี 12 ขอมลู /สารสนเทศทจ่ี ดั เก็บของงานปอ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล (ตอ ) ขอมลู ท่ตี องเก็บ สารสนเทศทไี่ ด - อัตราการตดิ เช้อื ทปี่ อดจากการใช3.3 จำนวนครงั้ การเกิดปอดอักเสบ3.4 จำนวนวันนอนรวมท่ใี ชเคร่ืองชวยหายใจ เครอ่ื งชวยหายใจ3.5 จำนวนคร้ังการเกิดแผลกดทบั ระดบั 2-4 - อัตราการเกิดแผลกดทับของผปู วย3.6 จำนวนวันนอนรวมผูปว ยกลุมเสยี่ ง3.7 จำนวนผูคลอดทตี่ ิดเชอื้ ท่แี ผลฝเ ย็บ ท่นี อนรกั ษาในโรงพยาบาล3.8 จำนวนผคู ลอดทม่ี แี ผลฝเ ย็บทงั้ หมด - อตั ราการติดเชอ้ื จากแผลฝเ ยบ็3.9 จำนวนครงั้ การติดเชื้อแผลผา ตดั สะอาด3.10 จำนวนแผลผาตดั สะอาดท้งั หมด - อัตราการติดเชื้อแผลผา ตดั สะอาด 3. การรวบรวมและประมวลผล องคกรพยาบาล/กลุมการพยาบาลกำหนดแบบเก็บขอมลู และการประมวลผลขอ มลู ดำเนนิ การดงั น้ี 1) มีการกำหนดขอมูลที่เปนตัวช้ีวัดเดียวกันรวมกันทุกหนวยงาน ตัวช้ีวัดเฉพาะของแตละหนวยงาน 2) กำหนดรูปแบบในการบันทึกขอมูลท่ีเขาใจตรงกัน เชน การบันทึกเปนตัวเลขทศนิยมไมเกิน 2 ตำแหนง วนั เดือน ป พ.ศ. รปู แบบขอความ (Text) ทีเ่ ปนลักษณะตวั เลือก 3) กำหนดการวิเคราะหขอมูลและแสดงผลรายงานเปนรายเดือน และสงขอมูลปอนกลับใหทุกหนวยงาน และกำหนดรายงานการแสดงผลการวิเคราะหภาพรวมของกลุมการพยาบาล สามารถแสดงตัวอยางหนาจอแบบเก็บขอมูล แบบรายงานขอมูล และแบบประเมินผลขอ มูล ดงั ในแผนภาพที่ 3-5สำนักการพยาบาล สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ

42 แผนภาพท่ี 3 แสดงตัวอยางหนาจอแบบเก็บขอมูล แผนภาพที่ 4 แสดงตัวอยางหนาจอแบบรายงานขอมูล

43แผนภาพท่ี 5 แสดงตวั อยางหนาจอการประมวลผลขอ มลู สำนกั การพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook