Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดาวเทียม

ดาวเทียม

Published by นพคุณ แถวบุญตา, 2019-07-03 00:53:54

Description: ดาวเทียม

Search

Read the Text Version

ดาวเทยี ม ดาวเทียม คือ ส่ิงประดิษฐช์ นิดหน่ึงท่ีมนุษยเ์ ป็นผสู้ ร้างข้ึนมา สามารถโคจรไปรอบโลกไดด้ ว้ ยการอาศยั แรง ดึงดูดของโลก นนั่ ทาใหด้ าวเทียมสามารถโคจรไดใ้ นลกั ษณะแบบเดียวกบั ดวงจนั ทร์ที่โคจรรอบโลก และโลก โคจรรอดวงอาทิตยน์ น่ั เอง จุดประสงคข์ องการใชง้ าน ดาวเทียม คือ เอาไวเ้ พอื่ การทหาร, การสื่อสาร, อุตุนิยมวทิ ยา, การวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เช่น การสารวจทางธรณีวิทยา, การสงั เกตสภาพของอวกาศ โลก ดวง จนั ทร์ ดวงอาทิตย์ และดาวดวงอื่นๆ วตั ถุแปลกปลอมในอวกาศ อุกกาบาต ฯลฯ โดยดาวเทียมไดถ้ กู ส่งข้ึนไปบน อวกาศเป็นคร้ังแรกเม่อื ปี 2500 มีช่ือว่า สปุตนิก ประเทศท่ีส่งข้ึนไปตอนน้นั คือสหภาพโซเวียตหรือรัสเซีย ในปัจจุบนั หนา้ ที่หลกั ของสปุตนิกคือการตรวจสอบการแผร่ ังสีของช้นั บรรยากาศโลกในช้นั ไอโอโนสเฟี ย อีก 1 ปี ถดั มา สหรัฐฯ ไดส้ ่งดาวเทียมข้ึนไปสารวจจากนอกโลกบา้ งใชช้ ื่อวา่ Explorer นน่ั จึงเป็นที่มาวา่ 2 ประเทศผนู้ าดา้ นววิ ฒั นาการการสารวจทางอวกาศไดม้ กี ารแข่งขนั ระหวา่ งกนั วา่ ใครจะคน้ พบหรือทาสิ่งต่างๆ ในโลกของอวกาศไดด้ กี ว่ากนั นน่ั เอง ต่อมาประเทศอืน่ ๆ กไ็ ดท้ ยอยส่งดาวเทียมข้ึนไป เช่น ญ่ีป่ ุน ช่ือ ดาวเทียม โอซูมิ, จีน ช่ือดาวเทียม ตงฟังหง 1, ฝรั่งเศส ดาวเทียม Asterix 1 และอ่ืนๆ อกี มากมาย ส่วนของประเทศ ไทยดาวเทียมดวงแรกคือ ไทยคม 1 ส่วนประกอบของ ดาวเทยี ม คือ ดาวเทียมเป็นอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีมคี วามซบั ซอ้ นมาก ส่วนประกอบต่างๆ เยอะแต่เมือ่ ทุกอยา่ งเขา้ กนั ไดจ้ ะ ทางานแบบอตั โนมตั ิ โคจรรอบโลกดว้ ยความเร็วสูงเพียงพอกบั การหนีแรงดึงดูดของโลก พน้ื ฐานการสร้าง ดาวเทียมมีความพยายามออกแบบเพ่ือใหช้ ิ้นส่วนต่างๆ ทางานเตม็ ความสามารถมากท่ีสุด งบประมาณท่ีใชไ้ ม่ แพงเกินไป แต่ละส่วนประกอบของดาวเทียมจะแยกระบบการทางานต่างกนั ไป แต่มีอปุ กรณ์สาหรับการควบคุม ระบบต่างๆ ใหท้ างานร่วมกนั ได้ ดงั น้นั ส่วนประกอบของ ดาวเทียม คือ ส่ิงเหลา่ น้ีที่เป็นหวั ใจหลกั โครงสร้างของดาวเทยี ม น่ีถือเป็นส่วนประกอบสาคญั สุดๆ มนี ้าหนกั ราว 15-25% ของน้าหนกั รวม เมอ่ื เป็นเช่นน้ีวสั ดุท่ีเลอื ก มาทาตอ้ งมนี ้าหนกั เบา ไม่มกี ารสน่ั เกินกาหนดเมือ่ ไดร้ ับสญั ญาณความถี่หรือความสูงคลน่ื มากๆ ระบบของเครื่องยนต์ เรียกกนั วา่ aerospike หลกั การทางานจะแบบเดียวกบั เครื่องอดั อากาศแลว้ ปล่อยออกไปทางปลาย

ท่อ ระบบน้ีจะทางานไดด้ ีมากกบั สภาพสุญญากาศ แต่อยา่ ลมื พิจารณาน้าหนกั บรรทุกของตวั ดาวเทียมดว้ ย เหมือนกนั ระบบของพลงั งาน หนา้ ที่หลกั คือการผลติ พลงั งานพร้อมกกั เกบ็ เอาไวเ้ พ่อื จ่ายต่อไปยงั ระบบไฟฟ้าของตวั ดาวเทียม มีแผงโซ ลา่ เซลลห์ รือแผงรับพลงั งานแสงอาทิตยไ์ วเ้ พ่ือรับพลงั งานจากดวงอาทิตยแ์ ลว้ เปลีย่ นเป็นพลงั งานไฟฟ้า เพอื่ ใชก้ บั ดาวเทียม แต่บางคร้ังอาจมกี ารใชพ้ ลงั งานนิวเคลยี ร์แทน ระบบด้านการควบคุมและการบงั คบั จะประกอบไปดว้ ยคอมพิวเตอร์ที่มีขอ้ มูลเกบ็ เอาไวพ้ ร้อมประมวลผลในคาสงั่ ต่างๆ ท่ีไดร้ ับมาจากส่วน ควบคุมบนพ้ืนโลก มอี ปุ กรณ์รับส่งสญั ญาณ ใชส้ าหรับการติดต่อส่ือสาร ระบบการสื่อสารและนาทาง จะมีอปุ กรณ์การตรวจจบั ความร้อนทางานผา่ นแผงวงจรควบคุมอตั โนมตั ิ อุปกรณ์ควบคมุ ระดบั ความสูง เป็นการรักษาระดบั ความสูงเพื่อใหส้ มั พนั ธก์ นั ระหวา่ งพ้ืนโลกกบั ดวงอาทิตย์ เป็นการรกั ษาระดบั ให้ ดาวเทียมยงั คงโคจรอยไู่ ด้ เครื่องมือช่วยบอกตาแหน่ง มเี อาไวส้ าหรับกาหนดการเคลื่อนท่ี มีส่วนยอ่ ยบางชนิดทที่ างานหลงั จากไดร้ ับการกระตุน้ อะไรบางอย่าง เช่น จะทางานเม่อื ไดร้ ับสญั ญาณสะทอ้ นจากวตั ถบุ างชนิด, ทางานเมอ่ื ไดร้ ับลาแสงท่ีเป็นรังสี ฯลฯ ทุกช้ินส่วนของดาวเทียมจะตอ้ งไดร้ ับการทดสอบอยา่ งละเอยี ดก่อนใชง้ านเสมอ อุปกรณ์ทกุ ชิ้นจะถกู สร้าง พร้อมทดสอบการใชง้ านอยา่ งอิสระแลว้ จึงนามาประกอบเขา้ ดว้ ยกนั พร้อมทดสอบอย่างละเอียดภายใตส้ ภาวะท่ี เหมอื นอยใู่ นอวกาศก่อนถกู ปลอ่ ยข้นึ ไปบนวงโคจร มดี าวเทียมจานวนมากตอ้ งปรับปรุงนิดๆ หน่อยๆ ก่อนใช้ งานจริงเนื่องจากเมื่อปล่อยมนั ข้ึนไปบนวงโคจรแลว้ จะแกไ้ ขอะไรไม่ไดอ้ กี เลย ตวั ดาวเทียมเองตอ้ งทางานไป อีกนาน ส่วนใหญ่แลว้ การส่งดาวเทียมข้ึนไปจะส่งพร้อมจรวด ตวั จรวดจะตกลงมาในมหาสมทุ รเม่ือเช้ือเพลิง หมดลง

ประเภทของดาวเทียม ดาวเทยี มส่ือสาร วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ในการใชง้ านเพ่ือการศกึ ษาและดา้ นโทรคมนาคม ถกู ส่งเขา้ ไปในช่วงของอวกาศเขา้ สู่วง โคจรที่ห่างจากพ้นื โลกราว 35.786. กม. ดาวเทยี มสารวจ ใชเ้ พอ่ื สารวจทรัพยากร สารวจสภาพแวดลอ้ มต่างๆ ของโลก ถกู ผสมผสานกบั เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพและ โทรคมนาคมเขา้ ดว้ ยกนั ใชห้ ลกั การสารวจขอ้ มลู จากระยะไกล ดาวเทยี มพยากรณ์อากาศ วงโคจรต่าแบบใกลข้ ้วั โลกระยะสูงราว 800 กม. รายละเอยี ดจึงไม่สูงเหมือนดาวเทียมท่ีถา่ ยทาแผนที่ ดาวเทยี มทางทหาร ส่วนใหญ่แต่ละประเทศจะส่งข้ึนไปเพอื่ เอาไวส้ อดแนม ดาวเทยี มทาแผนท่ี วงโคจรต่า ระดบั ความสูงไมเ่ กิน 800 กม. ภาพมคี วามละเอียดสูง ดาวเทยี มอื่นๆ เช่น ใชเ้ พ่ือการนาร่อง, วทิ ยาศาสตร์, ภารกิจพเิ ศษอื่นๆ ประวตั ิดาวเทียม ดาวเทียมไดถ้ ูกส่งข้ึนไปโคจรรอบโลกคร้ังแรกเม่ือปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียมดงั กล่าวมชี ่ือว่า \"สปุตนิก (Sputnik)\" โดยรัสเซียเป็นผสู้ ่งข้ึนไปโคจร สปุตนิกทาหนา้ ท่ีตรวจสอบการแผร่ ังสีของช้นั บรรยากาศช้นั ไอ โอโนสเฟี ย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐไดส้ ่งดาวเทียมข้ึนไปโคจรบา้ งมชี ่ือว่า \"Explorer\" ทาใหร้ ัสเซียและ สหรัฐเป็น 2 ประเทศผนู้ าทางดา้ นการสารวจทางอวกาศ และการแข่งข้นั กนั ระหวา่ งท้งั คู่ไดเ้ ริ่มข้ึนในเวลาต่อมา

Sputnik Sputnik Program คือ โครงการส่งยานอวกาศไร้คนขบั ข้ึนสู่วงโคจรของโลก ของสหภาพโซเวียต ซ่ึง สปุตนิกหน่ึง (Sputnik 1) คือ สุดยอดความสาเร็จในการแข่งขนั ในการเป็นผนู้ าทางดา้ นอวกาศของสหภาพ โซเวียตของ รัสเซีย รายละเอยี ดเกี่ยวกบั ดาวเทียม ดวงแรกของโลก สปุตนิก 1 ถอื เป็นส่ิงประดษิ ฐ์ ที่ มนุษยป์ ระดิษฐข์ ้ึน ช้นิ แรกท่ีถกู ส่งข้ึนสู่วงโคจรของโลกสาเร็จ สปุตนิก 1 ถกู ส่งข้ึนสู่วงโคจรของโลกเมอ่ื วนั ที่ 4 ตุลาคม 1957 โดยใชจ้ รวด R-7 สปุตนิก 1 มีรูปทรงเป็น ทรงกลมขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 58 เซ็นติเมตร มนี ้าหนกั ประมาณ 83.6 กโิ ลกรัม ดาวเทียมมเี สารับ-ส่งสญั ญาณ ทาหนา้ ท่ีสารวจพ้ืนผวิ ของโลกและช้นั บรรยากาศ มนั โคจรรอบโลกโดยใชเ้ วลาประมาณ 96.2 นาที การควบคุม และการติดต่อกบั ดาวเทียมสปุตนิกใชส้ ญั ญาณวทิ ยทุ ี่ส่งจาก Jodrell Bank Observatory ความสาเร็จน้ีทาใหอ้ เมริกาตอ้ งขวญั ผวา เนื่องจากดาวเทียมสปุตนิกโคจร ผา่ นสหรัฐอเมริกา 7 รอบ ในแต่ละ คร้ังอเมริกตอ้ งหวาดกลวั ว่าทางโซเวียตจะมีการท้ิงระเบิดนิวเคลียร์ ลงมาหรือไม่

สปุตนิก 1 ปฏบิ ตั ืิภาระกิจอยู่ 3 สปั ดาห์ และเริ่มโคจรต่าลงเร่ือยๆ จนหลุดเขา้ สู่ช้นั บรรยากาศ และลุกไหมเ้ ป็นจุล เมอ่ื วนั ท่ี 3 มกราคม 1958 Explorer 1 ดาวเทียม Explorer 1 เป็นดาวเทียมดวงแรกของอเมริกา ส่งข้ึนสู่วงโคจรโดยจรวด Juno-1 (เดิมชื่อ ABMA-JPL Jupiter-C) จากแหลมคานาเวอรัล อปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ของ เจมส์ เอ แวน อลั เลน (James A. Van Allen) ท่ีนาข้ึนไปดว้ ย ตรวจพบ วงแหวนรังสีของโลก (Earth's radiation belt) Explorer 1 มชี ื่อเรียกอกี ชื่อหน่ึงวา่ Satellite 1958 Alpha สร้างโดย JPL - Jet Propulsion Laboratory วงโคจรของดาวเทียม การออกแบบวงโคจรของดาวเทียมข้ึนอยกู่ บั วตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ านดาวเทียม ระดบั ความสูง ของดาวเทียมมคี วามสมั พนั ธก์ บั คาบเวลาในวงโคจรตามกฎของเคปเลอร์ขอ้ ที่ 3 (กาลงั สองของคาบวง โคจรของดาวเทียม แปรผนั ตาม กาลงั สามของระยะห่างจากโลก) ดงั น้นั ณ ระดบั ความสูงจากผวิ โลก ระดบั หน่ึง ดาวเทียมจะตอ้ งมคี วามเร็วในวงโคจรค่าหน่ึง มฉิ ะน้นั ดาวเทียมอาจตกสู่โลกหรือหลุดจากวง โคจรรอบโลก ดาวเทียมวงโคจรต่าเคล่อื นท่ีเร็ว ดาวเทียมวงโคจรสูงเคลื่อนที่ชา้

นกั วิทยาศาสตร์คานวณหาค่าความเร็วในวงโคจรไดโ้ ดยใช้ “กฎความโนม้ ถว่ งแห่งเอกภพของ นิวตนั ” (Newton's Law of Universal Gravitation) “วตั ถุสองช้ินดึงดูดกนั ดว้ ย แรงซ่ึงแปรผนั ตามมวลของวตั ถุ แต่แปรผกผนั กบั ระยะทางระหวา่ งวตั ถุยกกาลงั สอง” ดงั น้ี แรงสู่ศนู ยก์ ลาง = แรงโนม้ ถว่ งของโลก mv2/r = G (Mm/r2) v = (GM/r)1/2 โดยท่ี v = ความเร็วของดาวเทียม M = มวลของโลก m = มวลของดาวเทียม r = ระยะทางระหวา่ งศนู ยก์ ลางของโลกกบั ดาวเทียม G = ค่าคงท่ีของแรงโนม้ ถว่ ง = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2 ตวั อยา่ งที่ 1 ถา้ ตอ้ งการส่งดาวเทียมใหโ้ คจรรอบโลกท่ีระดบั สูง 35,780 กิโลเมตร ดาวเทียมจะตอ้ งมี ความเร็วในวงโคจรเท่าไร r = 6,380 km (รัศมโี ลก) + 35,786 km (ระยะ สูงของวงโคจร) = 4.23 x 107 km v = (GM/r)1/2 = {(6.67 x 10-11 Nm2/kg2)(5.98 x 1028 kg)/(4.23 x 107)} 1/2 = 11,052 กโิ ลเมตร

ตารางท่ี 1 ความสัมพนั ธ์ระหว่างระดบั สูงของดาวเทยี มกบั คาบวงโคจรรอบโลก ความสูงจากผวิ โลก ความเร็วในวงโคจร คาบเวลาในการโคจร (กิโลเมตร) (กิโลเมตรต่อช่ัวโมง) รอบโลก 1 รอบ 160 28,102 1 ชั่วโมง 27.7 นาที 1,609 25,416 1 ช่ัวโมง 57.5 นาที 35,786 11,052 24 ชั่วโมง ขอ้ มูลในตารางที่ 1 แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระดบั ความสูงของดาวเทียมและ ความเร็วในวงโคจร กฎแปรผกผนั ยกกาลงั สองของนิวตนั กล่าวว่า ยงิ่ ใกลศ้ ูนยก์ ลางของแรงโนม้ ถว่ ง (ศนู ยก์ ลางของโลก) แรงโนม้ ถว่ งจะเพมิ่ ข้ึน ดงั น้นั ถา้ ตอ้ งการใหด้ าวเทียมมวี งโคจรต่า ดาวเทียมจะตอ้ งเคล่อื นท่ีเร็วมาก เพ่ือเอาชนะแรงโนม้ ถว่ ง ของโลก ดาวเทียมวงโคจร ดาวเทียมวงโคจรต่าจึงโคจรรอบโลกใชเ้ วลานอ้ ยท่ีสุด ดาวเทียมวงโคจรสูงมคี วามเร็วในวงโคจรชา้ กว่าวงโคจรต่า ท้งั น้ีเนื่องจากสูงข้ึนไป ยงิ่ อยหู่ ่างจาก ศนู ยก์ ลางแรงโนม้ ถ่วง ดาวเทียมวงโคจรสูงจึงโคจรรอบโลกใชเ้ วลามากกว่าดาวเทียมวงโคจรต่า ถา้ ตอ้ งการใหด้ าวเทียมโคจรไปพร้อมๆ กบั ท่ีโลกหมนุ รอบตวั เอง ดาวเทียมจะลอยคา้ งอยเู่ หนือ พกิ ดั ภูมศิ าสตร์ท่ีระบุบนพ้นื ผวิ โลกตลอดเวลา จะตอ้ งส่งดาวเทียมใหอ้ ยทู่ ี่ความสูง 35,786 กิโลเมตร เหนือพ้นื ผวิ โลก วงโคจรระดบั น้ีเรียกวา่ \"วงโคจรคา้ งฟ้า\" (Geo-Stationary orbit) ซ่ึงเหมาะสาหรับใชใ้ นการสะทอ้ นสญั ญาณโทรคมนาคม และการถ่ายภาพที่ครอบคลุม บริเวณกวา้ ง

ภาพที่ 1 วงโคจรประเภทต่างๆ ในการออกแบบวงโคจรของดาวเทียม นอกจากความสูงของวงโคจรแลว้ ยงั ตอ้ งคานึงถงึ ทิศทาง ของวงโคจร เนื่องโลกหมนุ รอบตวั เอง นกั วิทยาศาสตร์จะตอ้ งคานึงถึงพ้ืนท่ีบนพ้นื ผวิ โลกที่ตอ้ งการให้ ดาวเทียมเคลือ่ นท่ีผา่ น เราสามารถจาแนกประเภทของวงโคจร ตามระยะสูงของวงโคจรไดด้ งั น้ี วงโคจรระยะตา่ (Low Earth Orbit \"LEO\") อยสู่ ูงจากพน้ื โลกไม่ เกิน 1,000 กม. เหมาะสาหรับการถ่ายภาพรายละเอียดสูง ติดตามสงั เกตการณ์อยา่ ง ใกลช้ ิด แต่เนื่องจากวงโคจรประเภทน้ีอยใู่ กลพ้ ้นื ผวิ โลกมาก ภาพถา่ ยที่ไดจ้ ึงครอบคลมุ พ้ืนท่ีเป็น บริเวณแคบ และไมส่ ามารถครอบคลมุ บริเวณใดบริเวณหน่ึงไดน้ าน เน่ืองจากดาวเทียมตอ้ ง เคลอ่ื นท่ีดว้ ยความเร็วสูงมาก ดาวเทียมวงโคจรต่าจึงนิยมใชว้ งโคจรข้วั โลก (Polar Orbit) หรือใกลข้ ้วั โลก (Near Polar Orbit) ดาวเทียมจะโคจรในแนว เหนือ-ใต้ ขณะท่ีโลกหมนุ รอบตวั เอง ดาวเทียมจึงเคลอ่ื นท่ผี า่ นเกือบทุกส่วนของพ้นื ผวิ โลก ดงั ที่ แสดงในภาพท่ี 2

ภาพท่ี 2 การสแกนถ่ายภาพของดาวเทียมวงโคจรข้วั โลก วงโคจรระยะปานกลาง (Medium Earth Orbit \"MEO\") อยทู่ ี่ระยะความสูง ต้งั แต่ 1,000 กิโลเมตร จนถงึ 35,000 กิโลเมตร สามารถถ่ายภาพและส่งสญั ญาณวิทยุ ไดค้ รอบคลุมพ้ืนที่ไดเ้ ป็นบริเวณกวา้ งกว่าดาวเทียมวงโคจรต่า แต่หากตอ้ งการสญั ญาณให้ ครอบคลมุ ท้งั โลกจะตอ้ งใชด้ าวเทียมหลายดวงทางานร่วมกนั เป็นเครือข่ายและมที ิศทางของวง โคจรรอบโลกทามมุ เฉียงหลายๆ ทิศทาง ดาวเทียมที่มวี งโคจรระยะปานกลางส่วนมากเป็น ดาวเทียมนาร่อง เช่น เครือข่ายดาวเทียม GPS ประกอบดว้ ยดาวเทียมจานวน 24 ดวง ทางานร่วมกนั ดงั ภาพที่ 3 โดยส่งสญั ญาณวิทยอุ อกมาพร้อมๆ กนั ใหเ้ ครื่องรับท่ีอยบู่ น พ้ืนผวิ โลกเปรียบเทียบสญั ญาณจากดาวเทียมแต่ละดวง เพอ่ื คานวณหาตาแหน่งพิกดั ที่ต้งั ของ เครื่องรับ ภาพที่ 3 เครือข่ายดาวเทียม GPS วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit \"GEO\") อยสู่ ูงจากพ้นื โลกประมาณ 35,786 กม. มีเสน้ ทางโคจรอยใู่ นแนวเสน้ ศูนยส์ ูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมนุ รอบโลกดว้ ยความเร็วเชิงมมุ เทา่ กบั โลกหมุนรอบตวั เองทาใหด้ ู เหมือนลอยน่ิงอยเู่ หนือพ้ืนผวิ โลกตาแหน่งเดิมอยตู่ ลอดเวลา จึงถูกเรียกวา่ \"ดาวเทียมวงโคจร สถติ หรือ วงโคจรคา้ งฟ้า\" เน่ืองจากดาวเทียมวงโคจรชนิดน้ีอยหู่ ่างไกลจากโลกและสามารถ ลอยอยเู่ หนือพ้ืนโลกตลอดเวลา จึงนิยมใชส้ าหรับการถ่ายภาพโลกท้งั ดวง เฝ้าสงั เกตการณ์ เปลย่ี นแปลงของบรรยากาศ และใชใ้ นการโทรคมนาคมขา้ มทวปี อยา่ งไรกต็ ามดาวเทียมวง

โคจรคา้ งฟ้าจะตอ้ งลอยอยทู่ ่ีระดบั สูง 35,786 กิโลเมตรเท่าน้นั วงโคจรแบบน้ีจึงมดี าวเทียม อยหู่ นาแน่น และกาลงั จะมปี ัญหาการแยง่ พ้่ืนที่ในอวกาศ ภาพท่ี 4 ดาวเทียมวงโคจรประจาท่ี วงโคจรูปวงรี (Highly Elliptical Orbit \"HEO\") เป็นวงโคจรออกแบบ สาหรับดาวเทียมที่ปฏบิ ตั ิภารกิจพเิ ศษเฉพาะกิจ เน่ืองจากดาวเทียมความเร็วในวงโคจรไม่ คงที่ เมอื่ อยใู่ กลโ้ ลกดาวเทียมจะเคลื่อนท่ีใกลโ้ ลกมาก และเคลื่อนท่ีชา้ ลงเมื่อออกห่างจากโลก ตามกฎขอ้ ที่ 2 ของเคปเลอร์ ดาวเทียมวงโคจรรูปวงรี ส่วนมากเป็นดาวเทียมที่ปฏิบตั ิงานดา้ น วทิ ยาศาสตร์ เช่น ศกึ ษาสนามแม่เหลก็ โลก เนื่องจากสามารถมีระยะห่างจากโลกไดห้ ลายระยะดงั ภาพท่ี 5 หรือเป็นดาวเทียมจารกรรมซ่ึงสามารถบินโฉบเขา้ มาถ่ายภาพพ้ืนผวิ โลกดว้ ยระยะต่า มากและปรับวงโคจรได้ ภาพท่ี 5 วงโคจรรูปวงรีของดาวเทียมสารวจสนามแม่เหลก็ โลก

ดาวเทยี มในประเทศไทย สาหรับบทความในวนั น้ีจะเป็นบทความใหค้ วามรู้ในเรื่องของดาวเทียมในประเทศไทยประเทศเรามีและเคย ดาวเทียมใดบา้ งท่ีเป็นของเรา ในที่น้ีอาจจะใชค้ าวา่ ท่ีเราใชห้ รือเคยใชก้ ็ไดค้ รับ ดาวเทียมดวงแรกของประเทศ ไทยน้นั ช่ือว่าไทยคมหน่ึงและเกิดเป็นไทยคมสองสามสี่และหา้ ตามลาดบั ซ่ึงดาวเทียมของประเทศไทยดวงแรก หรือไทยคนหน่ึงน้นั เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 ส่งข้ึนวงโคจรเม่ือปี 2536 และหลงั จากการถกู ยา้ ย ตาแหน่งก็ถูกเรียกใหม่จากไทยคมหน่ึงเป็นไทยคมหน่ึงเอ ถือวา่ เป็นดาวเทียมในประเทศไทยเป็นดวงแรก ดาวเทยี มในประเทศไทย หลงั จากเรารู้จกั ดาวเทียมดวงเเรกกนั ไปเเลว้ เรามารู้จกั กบั ดาวเทียมอกี 4 ตวั ท่ีเหลือกนั เลย ดวงท่ีสองเป็นดาวเทียมรุ่นเดียวกบั รุ่นแรกส่งข้นึ วงโคจรเมอื่ ปี 2537 สามารถใชง้ านไดถ้ ึง 15 ปี ดาวเทียมในประเทศไทยดวงต่อมาหรือไทยคมสามน้นั ชื่อเป้นคนละรุ่นกบั สองดวงแรกโดยเป็นรุ่นที่มีชื่อ ว่า AEROSAPTIALE SPACEBUS 3000A ซ่ึงดาวเทียมดวงน้ีใชว้ งโคจรเดียวกบั ไทยคมสองโดยดาวเทียมไทยคมสี่มชี ่ือรุ่นว่า AEROSAPTIALE SPACEBUS 3000A สามารถใหบ้ ริการครอบคลุมพ้นื ที่มากวา่ 4 ภาคพ้นื ทวีป และสามารถใชง้ านสญั ญาณการ ถ่ายทอดสดไดโ้ ดยตรงถึงที่พกั อาศยั Direct To Home ในประเทศไทยและเพ่ือนบา้ นข้ึนสู่วง โคจร 2540 แต่ปลดระวางเม่ือปี 2549 เหตุผลมาจากไฟฟ้าไม่เพียงพอ ต่อมาเป็นดาวเทียมในประเทศไทยดวงท่ี 4 มีช่ือวา่ LS-1300SX เป็นดาวเทียมดวงแรกของ ประเทศไทยท่ีเร่ิมมกี ารใหบ้ ริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงมาเก่ียวขอ้ งซ่ึงเป็นดาวเทียมท่ีถูกออกแบบมาเพื่อ บริการทางดา้ นอนิ เทอร์เน็ตโดยเฉพาะความเร็วอยทู่ ่ี 45Gbp ซ่ึงเป็นดาวเทียมลกั ษณะการส่ือสารเชิง พาณิชย์ มนี ้าหนกั เยอะและมคี วามทนั สมยั มากที่สุดในยคุ น้นั ดวงต่อไปเป็นดาวเทียมไทยคมหา้ ซ่ึงดาวเทียมรุ่นน้ีเป็นรุ่นเดียวกบั ไทยคมสามคือ AEROSAPTIALE SPACEBUS 3000A เป็นดาวเทียมท่ีทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการ ถา่ ยทอดสญั ญาณภาพโดยตรง Direct to Home และการถ่ายทอดทีวีดิจิตอลความละเอยี ดสูง ซ่ึงดาวเทียมท้งั หมดที่กล่าวมาน้นั เป็นดาวเทียมในประเทศไทยที่ประเทศไทยกาลงั ใชง้ านหรือแมก้ ระทงั่ หมดอายกุ ารใชง้ านไปแลว้ ซ่ึงจากท่ีกลา่ วมาน้นั ดาวเทียมแต่ละรุ่นต่างก็มี หนา้ ท่ีความสาคญั ต่างกนั นอกจาก

หนา้ ท่ีต่างกนั แลว้ ประโยชน์ของดาวเทียมในประเทศไทยหรือที่ประเทศไทยใชก้ ็ยงั มีหลายประเภทอกี ดว้ ยซ่ึงเรา จะมาดูกนั วา่ ประโยชนข์ องการใชด้ าวเทียมในประเทศไทยมีอะไรบา้ ง ประโยชน์ของดาวเทยี มและการใช้งาน อยา่ งแรกคือการใชด้ าวเทียมในการถ่ายภาพเพือ่ ทาในเรื่องของทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศการดูใน เรื่องของภูมปิ ระเทศลกั ษณะของพ้นื ที่อากาศชายฝั่งทะเลเพ่ือเพ่ือที่จะสามารถวางแผนการใชท้ รัพยากร หรือดูแลทรัพยากรไดอ้ ยา่ ถกู ตอ้ งและมปี ระสิทธิภาพ ใชด้ าวเทียมในการดกู ารเคลอ่ื นตวั ของกลุ่มเมฆท่ีเคลื่อนไหวเพือ่ จะใชใ้ นการดูความเร็วลมและนาไป วเิ คราะหอ์ อกมาเป็นการพยากรณ์อากาศไดซ้ ่ึงเราสามารถนาขอ้ มลู พวกน้ีไปทาการวิเคราะห์และจดั การใน เร่ืองของการป้องกนั ภยั ธรรมชาตจิ ากพายุ คล่ืนสูงได้ โดยดาวเทียมดงั กลา่ วน้นั ทางประเทศไทยไดใ้ ชง้ าน ดาวเทียมที่ช่ือวา่ Theos ซ่ึงบอกไดเ้ ลยวา่ เป็นดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติ ใชใ้ นการวางผงั เมืองเพราะการถา่ ยภาพจากดาวเทียมมคี วามละเอียดทาใหส้ ามารถรู้จุดสูงต่าของสภาพ พ้ืนผวิ ได้ ทาใหง้ ่ายต่อการวางผงั เม่ืองในหรือบริการหารจดั การก่อนสร้างเมอื งได้ ใชใ้ นการสารวจเสน้ ทางต่างๆ ยกตวั อยา่ งเช่นการใชด้ าวเทยี มในประเทศไทยเพอ่ื ที่จะจดั การการเสน้ ทาง การเดินทางต่างๆ ดูท้งั เร่ืองของจุดแวะพกั จุดที่ตอ้ งเติมน้ามนั และแมก้ ระทงั่ จดุ หมายในการเดินทาง เพราะ ภาพถ่ายแผนท่ีดาวเทียมเม่อื นามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ธุรกิจประเภทขนส่งไม่ว่าจะเป็นทางบก ในท่ีน้ีคือการ ขนส่งจากยานพาหนะบนบก หรือจากทางอากาศแมก้ ระทง่ั ทางเรือ แผนท่ีดาวเทียมกจ็ ะสามารถช่วยในการ กาหนดจุดต่าง ๆไดด้ ี ใชใ้ นการสื่อโทรคมนาคม ท้งั ทางใกลแ้ ละไกลระหว่างประเทศหรือทวีป การใช้งานดาวเทยี มในประเทศไทยและส่ิงทป่ี ระเทศไทยได้รับจากการใช้ดาวเทยี ม การใชด้ าวเทียมในประเทศไทยในการปลอ่ ยสญั ญาณต่าง ๆเช่นสญั ญาณการถา่ ยทอดสดต่าง ๆการใชง้ านใน เร่ืองของอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงรวมถึงการใชง้ านเรื่องของGPS ท่ีใชใ้ นการกาหนดเสน้ ทางการเดินรถ ต่างๆทาใหง้ ่ายต่อระบบโลจิสติกภายในประเทศ เม่ือเปรียบเทียบจากอดีตก่อนท่ีจะมกี ารใชง้ านระบบดาวเทียม ในการช่วยในเร่ืองของการขนส่งน้นั มคี วามยากลาบากในเร่ืองของการคาณวนระยะทางอยา่ งมากเพราะตอ้ งดู

เสน้ ทางที่ใกลท้ ่ีสุดในการส่งไหนจะอปุ สรรคจากสภาพอากาศทาใหเ้ กิดความล่าชา้ แต่เมือ่ มีการใชด้ าวเทียมใน ประเทศไทยเกิดข้ึนการคาณวนหาระยะทางในการขนส่งการหลีกเลยี่ งอุปสรรคท่ีเป็นปัญหากห็ มดไป นอกจาการใชใ้ นการคาณวนหาเสน้ ทางแลว้ การใชด้ าวเทียมในประเทศไทยในการเชื่อมต่อกบั ตาแหน่งของรถท่ี ใชข้ นส่งสินคา้ เพ่ือใชใ้ นการติดตามหรือแมก้ ระทง่ั ใชใ้ นการดูสถานะของสินคา้ กส็ ามารถทาไดเ้ น่ืองจาก เทคโนโลยดี งั กลา่ วจะตอ้ งมสี ญั ญาณจากตวั ดาวเทียมส่งมายงั Software ที่กาลงั ทาการmonitorในเรื่อง ของตาแหน่งท่ีอยขู่ องยานพาหนะหรือสินคา้ ที่ถกู ติดตามได้ การใชด้ าวเทียมในเร่ืองของการส่ือสารต่างๆ ใหม้ คี วามรวดเร็วและทนั สมยั ทนั เหตุการณ์ยกตวั อยา่ งเช่นการใช้ ดาวเทียมถา่ ยทอดสญั ญาณสดการแข่งบอลโลกปี 2018 นี่คืออีกประโยชน์หน่ึงของการใชง้ านดาวเทียมส่ง สญั ญาณภาพจากท่ีหน่ึงมายงั อกี ที่หน่ึงดว้ ยค่าท่ีมดี ีเลยน์ อ้ ยท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ หรือแมก้ ระทงั่ การใชด้ าวเทียม ส่ือสารกนั ในระยะทางไกลผา่ นสญั ญาณดงั กลา่ วกส็ ามารถทาไดเ้ ช่นกนั ซ่ึงเป็นประโยชนใ์ นหลายๆดา้ นใหก้ บั การพฒั นาประเทศเลยกว็ า่ ได้ ระบบ MATV MATV คืออะไร อาจจะเป็นคาถามที่คนอยอู่ พาร์ทเมน้ ทห์ รือคอนโดอยากรู้ เพราะว่าทุกหอ้ งคงตอ้ งการดูทวี ี อยแู่ ลว้ MATV น้นั ยอ่ มาจากคาวา่ Master Antenna Television อนั หมายถึงการกระจาย สญั ญาณทีวไี ปยงั หอ้ งต่างๆภายในอาคารเดียวกนั หรือในกลุ่มอาคารบริเวณใกลเ้ คียงกนั โดยใชส้ ายอากาศเพยี ง ชุดเดียว ระบบน้ีจึงเป็นท่นี ิยมใชต้ าม หอพกั อพาร์ทเมน้ รีสอร์ท คอนโดมิเนียม โรงแรมเป็นตน้ เหตุท่ีไดร้ ับความนิยมในกลุม่ หอ้ งพกั แบบน้ีกต็ อ้ งลองจินตนาการดูวา่ คอนโดหน่ึงๆมีจานวนหอ้ งซกั 50 หอ้ ง จะใหแ้ ต่ละหอ้ งติดต้งั สายอากาศหรือจานดาวเทียมของตนเองกค็ งรกหูรกตาน่าดู เห็นไดจ้ ากอาคารชุด สมยั ก่อนๆ ที่ไมม่ รี ะบบเหลา่ น้ี เราจะเห็นเสากา้ งปลาเตม็ หลงั คา หรือจานดาวเทียมเตม็ หลงั หอ้ ง การใชเ้ สารวม จึงเป็นแนวทางท่ีดีในการบริหารจดั การเรื่องการเดินสาย การติดต้งั ของแต่ละหอ้ งใหม้ ีปัญหานอ้ ยลง การติดต้งั สายอากาศแบบกา้ งปลาบนหลงั คาอนั เดียวแลว้ ต่อสายธรรมดาๆ ลงมาทุกหอ้ งจะเกิดปัญหาว่าหอ้ งที่อยู่ ไกลๆจะดูไดไ้ มช่ ดั หรือแทบไม่มีสญั ญาณเลย เกิดสญั ญาณรบกวนจากการเปิ ดปิ ดไฟหรืออปุ กรณ์ไฟฟ้าในหอ้ ง ต่างๆเขา้ มาในระบบสายส่ง การสูญเสียสญั ญาณเมื่อตอ้ งต่อสายระยะไกล ปัญหาเหล่าน้ีจึงตอ้ งมกี ารออกแบบ

และคานวนจากผทู้ ่ีมคี วามเช่ียวชาญและมปี ระสบการณ์เฉพาะ เราจึงควรมาทาความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ กบั ระบบ MATV ดงั น้ีคือ MATV ประกอบด้วยส่วนหลกั ๆ 3 ส่วนคือ 1 ส่วนรับสญั ญาณทีวีเขา้ ระบบ ส่วนรับสญั ญาณทวี ีท่ีเป็นสายอากาศจะทาหนา้ ที่รับสญั ญาณทีวีที่ส่งออกมาจากเสาส่งในระบบภาคพ้ืนดิน แนวคิดคือการนาแผงกา้ งปลาหนั ไปตามเสาส่งต่างๆแลว้ รวมสญั ญาณส่งลงไปตามอาคารตามสายส่ง แต่ปัญหา ของทีวใี นระบบอนาลอกก็คือ คุณภาพของสญั ญาณจะไมด่ ี เน่ืองจากเกิดการสะทอ้ นของคลนื่ สญั ญาณกบั อาคาร ขา้ งเคียง ทาใหเ้ กิดเงา การจูนสญั ญาณอาจเกดิ ภาวะเสียงชดั ภาพไม่ชดั แต่พอภาพชดั เสียงจะไมช่ ดั เป็นตน้ สมยั น้ี ก่อนทีวดี ิจิตอลภาคพ้นื ดินจะเกิดข้ึนจึงนิยมทาวิธีที่สอง น้นั คือส่วนรับสญั ญาณเป็นจานดาวเทียม โดยการมีจานดาวเทียมน้ีจะทาใหค้ ณุ ภาพของสญั ญาณดีมาก คมชดั ทุก ช่อง ไมเ่ ป็นเงา ไมม่ ีปัญหาเรื่องเสียงและภาพ เราสามารถต้งั จานหลกั ๆ เพยี งจานเดียวกร็ ับสญั ญาณไดห้ ลายๆ ข่อง แต่จะตอ้ งมกี ารติดต้งั เครื่องรับหรือ Receiver จานวนมากเพ่ือแปลงสญั ญาณดาวเทียมใหเ้ ป็น สญั ญาณทีวีเพือ่ ส่งไปยงั ระบบสายสญั ญาณของอาคารต่อไป ตวั อยา่ งเข่นหากมีช่องดาวเทียมท้งั หมด 100 ช่อง และเราตอ้ งการช่องท่ีน่าสนใจส่งผา่ นระบบ MATV เพยี ง 10 ช่อง เรากจ็ ะเดินสายสญั ญาณมาจากจานดาวเทียมแลว้ แยกสญั ญาณ 10 เสน้ เขา้ ตวั รับสญั ญาณ 10

ตวั โดยแต่ละตวั จะจูนเฉพาะช่องที่เราตอ้ งการ จากน้นั สญั ญาณจากจูนเนอร์สิบตวั น้ีจะถูกนาไปแปลง (Modulate) เพอื่ แปลงเป็นคลืน่ วิทยใุ หท้ ีวีสามารถรับสญั ญาณได้ เสมอื นทาหนา้ ที่เป็นเครื่องส่งขนาดเลก็ 10 เครื่องนนั่ เอง จากน้นั สญั ญาณเหลา่ น้ีกจ็ ะถกู รวม (Combiner) เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อส่งต่อไปยงั ภาคขยาย สญั ญาณและกระจายไปตามระบบสายส่งลงสู่แต่ละหอ้ งต่อไป การออกแบบระบบ MATV แบบน้ี กเ็ พ่อื ใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ ทุกจุดทกุ หอ้ งจะสามารถรับชมทีวไี ดท้ ้งั 10 ช่องท่ี เลือกแลว้ ดว้ ยความคมชดั ไม่มีสญั ญาณสะทอ้ นต่างๆเหมอื นที่รับมาจากสายอากาศโดยตรง หากตอ้ งการเพม่ิ ช่องก็แค่เพ่มิ Receiver และ Modulator เพ่มิ เท่าน้นั ซ่ึงอุปกรณ์เหล่าน้ีจะมีขนาดเลก็ ถกู ออกแบบมา โดยเฉพาะเป็นโมดูล เพอื่ งานในลกั ษณะน้ี เพราะแต่ละตวั จะทางานแบบคงที่ มีแหลง่ จ่ายไฟรวม ไมต่ อ้ งมี หนา้ จอแสดงผล ไมต่ อ้ งมตี วั รับสญั ญาณจากรีโมทในแต่ละช่อง (Channel) จึงทาใหร้ าคาถูกกว่าไปซ้ือ กล่องดาวเทียมธรรมดามาวางเรียงกนั 2 ภาคขยายสญั ญาณทีวี เน่ืองจากโดยทว่ั ไปแลว้ ทีวแี ต่ละเคร่ืองจะรับสญั ญาณไดด้ ที ี่ความแรงของสญั ญาณ 60 – 80 dB หากนอ้ ย กวา่ 60 dB ภาพจะมกี ารรบกวนมากจะเป็นเมด็ ๆ หรือเรียกตามระบบทีวอี นาลอกว่าเป็นหิมะ (Snow) หากมากเกิน 80 dB ภาพจะหยาบสีเขม้ เกนิ ไป เกดิ การเหลอื่ มของสีมาก โดยทว่ั ไปแลว้ จะมกี ารออกแบบให้ มคี วามแรงสญั ญาณอยปู่ ระมาณ 70 dB

การขยายสญั ญาณก่อนส่งผา่ นไปยงั ระบบสายส่ง มกั จะมกี ารขยายสญั ญาณข้ึนไปถงึ 90 – 110 dB ซ่ึง ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบ เพอ่ื ชดเชยการสูญเสียสญั ญาณตามจุดต่างๆ ใหเ้ หลอื ที่ปลายทางทุกจุดอยใู่ นช่วง 70 dB ตามทกี่ ลา่ วขา้ งตน้ 3 ส่วนกระจายสญั ญาณทีวีไปตามจุดต่างๆ ส่วนกระจายสญั ญาณจะทาหนา้ ที่หลกั ๆ กระจายสญั ญาณทีวีใหเ้ หมาะสมในแต่ละจุด และทาหนา้ ที่กาหนด ความตา้ นทานรวมท่ี 75 โอห์ม

ในการกระจายสญั ญาณไปในแต่ละจุดน้นั จะตอ้ งมีการออกแบบใหท้ ุกจุดไดร้ ับสญั ญาณในช่วง 60 – 80 dB นนั่ หมายถึงวา่ ภาคขยายสญั ญาณในขอ้ 2 จะตอ้ งขยายสญั ญาณใหส้ ูงกว่าน้ีเพอ่ื ชดเชยการสูญเสียสญั ญาณ ในจุดต่างๆ ส่วนการทาหนา้ ทก่ี าหนดความตา้ นทานรวมหรือ Matching Impedance น้นั ก็เพ่อื ให้ กาลงั ขยายท่ีออกมาจากภาคขยายน้นั สูงสุด ไม่ง้นั คล่ืนจะสะทอ้ นไปมาระหว่างในสายและจะทาใหเ้ กิดเงาของ ภาพข้ึนมาได้ อุปกรณ์ท่ีสาคญั ในระบบกระจายสญั ญาณมดี งั ต่อไปน้ี – Tap-off เป็นการแยกสญั ญาณจากสายส่งหลกั ไปยงั ตวั กระจายสญั ญาณไปตามหอ้ งอกี ที ซ่ึงอาจจะมที ้งั แบบ 2 ทางไปจนถงึ 4 ทาง การสูญเสียสญั ญาณท่ีน่ี (Tap loss) จะมีตวั เลขสูงเนื่องจากเป็นตวั แบ่ง สญั ญาณหลกั ๆ สายสญั ญาณท่ีใชใ้ นช่วงน้ีจะเป็นแบบ RG-11 – Splitter ตวั แยกสญั ญาณไปยงั แต่ละหอ้ งอีกทอดหน่ึง สญั ญาณท่ีมาจาก Tap-off จะผา่ นตวั Splitter อกี ทีอนั เป็นด่านสุดทา้ ยท่ีจะแยกไปตามหอ้ งต่างๆ ยงิ่ มีการแยกสญั ญาณเยอะ การสูญเสียสญั ญาณ (Insertion loss) กจ็ ะเยอะตามไปดว้ ย สายสญั ญาณที่ใชใ้ นช่วงน้ีจะเป็นแบบ RG-6 แต่จะว่าไปแลว้ ช่างอาจจะเรียกท้งั หมดว่าเป็น Tap off หรือเรียกท้งั หมดว่าเป็น Splitter กไ็ ด้ เป็นอนั เขา้ ใจกนั วา่ มีระบบกระจายสญั ญาณสองช่วงนนั่ เอง การออกแบบบางกรณีอาจจะใชเ้ ทคนิคการ Tap สญั ญาณ ไปเร่ือยๆก็ได้ หรือเร่ิมจาก Splitter ก่อนแลว้ ค่อย Tap ออกไปตามหอ้ งต่างๆ หรือผสมผสานกนั กไ็ ด้ แต่ ส่วนใหญ่แลว้ ช่างจะเริ่มจากการ Split สญั ญาณแลว้ ค่อย Tap ไปตามหอ้ งมากกว่า

โดยรวมแลว้ เรากจ็ ะเลือกช่องท่ีมี Tap loss สูงไวใ้ นบริเวณตน้ ทาง เช่นตึกช่วงบนๆ ส่วน Tap loss ต่าๆ กจ็ ะเลือกส่งไปบริเวณช้นั ล่างๆ เน่ืองจากสายสญั ญาณที่ยาวข้ึนมกี ารสูญเสียในสายเพิ่มข้ึนเพ่อื ใหค้ ่าเฉล่ยี โดยรวมเท่าๆกนั จากน้นั กต็ ่อไปยงั Splitter เพอ่ื แยกไปตามแต่ละหอ้ งอีกที

สรุป หลกั การเบ้ืองตน้ ของ MATV ที่กลา่ วมาน้นั เป็นของระบบทีวที ี่ตวั ทวี ีมจี ูนเนอร์แบบอนาลอก เน่ืองจากเรา ห่วงเร่ืองการเกดิ เงาของคลน่ื มาก การส่งผา่ นสญั ญาณในสายสญั ญาณท่ีฝาหอ้ งจะเป็น RF แบบอนาลอกที่ทีวี ตอ้ งมจี ูนเนอร์แบบ อนาลอก แต่การออกอากาศทีวรี ะบบดิจิตอล ท่ีมกี ารออกอากาศแบบความคมชดั สูงหรือ HD ดว้ ย การออกแบบใน ลกั ษณะดงั กล่าวจึงไม่สามารถรองรับทีวดี ิจิตอลได้ ดงั น้นั การออกแบบระบบ MATV สาหรับการรับชมทวี ี ดิจิตอลภาคพ้นื ดินจึงอาจจะตอ้ งเปล่ยี นแนวคิดใหม่ นน่ั คือการส่งผา่ นสญั ญาณจากสายอากาศ ขยายสญั ญาณ แลว้ กระจายสญั ญาณโดยตรงลงมาตามหอ้ งต่างๆ โดยแต่ละหอ้ งกจ็ ะมี Set top box หรือทีวที ่ีมีดิจิตอล จูนเนอร์ในตวั นนั่ หมายความว่าตอ้ งส่งผา่ นความถท่ี กุ ช่วง ต้งั แต่ 470 – 862 MHz นน่ั เอง

ระบบเคเบลิ (CATV) เคเบลิ้ ทีวี คือ บริการใหส้ ญั ญาณทีวี ในการเผยแพร่ช่องรายการต่างางโทรทศั นจ์ ากหลายๆแหลง่ หลายๆสถานี เช่น ระบบฟรีทีวี ระบบรับสญั ญาณจานดาวเทียม ท้งั ระบบ C-Band และ KU-Band ,ระบบ Computer, ระบบVideo,VCD,DVD และอน่ื ๆ รวมไวด้ ว้ ยกนั และส่งกระจายสญั ญาณไปทาง สาย หรือ ทางคลน่ื ไปยงั โทรทศั นข์ องคุณ

เคเบลิ้ ทวี ที ้องถิ่น ส่ือโทรทศั น์อีกรูปแบบหน่ึงท่ีจะใหบ้ ริการประชาชน ในการเผยแพร่ภาพ และ เสียง โดยส่งสญั ญาณไปทางสายเคเบิลใยแกว้ (Fiber Obtic) ในรูปแบบบอกรับสมาชิก คือตอ้ งสมคั ร สมาชิก เลอื กรับแพก็ เกจ ชาระเงิน กบั ทางผใู้ หบ้ ริการบริษทั ต่างๆท่ีไดร้ ับการอนุญาตจากสานกั งาน คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กจิ การโทรทศั น์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ใยแก้วนาแสง เป็นเทคโนโลยกี ารสื่อสารท่ีทนั สมยั และเขา้ มามบี ทบาทมากในปัจจุบนั เพราะเป็นเทคโลยกี าร ส่งขม้ ลู ผา่ นสาย Fiber Obtic ท่ีจะเป็นการส่งขอ้ มลู ในรูปของลาแสง ที่มปี ระสิทธิภาพสูง เพราะสามารถ รองรับปริมาณขอ้ มูลไดเ้ ป็นมหาศาล และรวดเร็วทนั ใจ แมจ้ ะเป็นระยะทางไกลๆ คุณภาพของสัญญาณมคี วาม คมชดั สูง เนื่องจากการส่งขอ้ มลู ผา่ นสายใยแกว้ น้นั เป็นระบบปิ ด ช่วยใหป้ ลอดภยั จากสิ่งรบกวนภานนอก เช่น กระแสไฟฟ้าแรงสูง, สภาพอากาศที่แปรปรวน, คลน่ื แมเ่ หลก็ จากเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าใกลเ้ คียง และยงั มคี วาม ปลอดภยั สูง เพราะใยแกว้ นาแสงทนต่อความร้อน ไมน่ าไฟฟ้า มีอายกุ ารใชง้ านยาวนานกว่าสายทองแดงแบบเก่า มาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook