Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดความรู้ นางสาวผกายวรรณ สิกขฤทธิ์ 60E101019

สมุดความรู้ นางสาวผกายวรรณ สิกขฤทธิ์ 60E101019

Published by Anawin090641, 2022-02-19 11:27:45

Description: สมุดความรู้ นางสาวผกายวรรณ สิกขฤทธิ์ 60E101019

Search

Read the Text Version

สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ นางสาวผกายวรรณ สิกขฤทธิ์

สารบญั หนา้ เรือ่ ง ๑ ๒ สาระการอา่ น ๑๑ การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว ๑๔ การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง การอักษรย่อ ๑๗ การอ่านขา่ วสารทางราชการ ๒๐ ๒๒ สาระการเขยี น ๒๔ การคดั ลายมอื ๒๖ แผนภาพโครงเรอ่ื ง ๒๙ การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ ๓๐ การเขยี นยอ่ ความ ๓๒ การจดหมายถงึ ญาตผิ ้ใู หญ่ ๓๓ การเขยี นคำขวัญ การเขยี นคำอวยพร ๓๕ การกรอกแบบรายการ ๓๗ การเขียนโครงงาน ๓๙ สาระการฟัง การดู การพดู ๔๔ การตง้ั คำถามและ การตอบคำถาม ๔๖ มารยาทการฟงั ดู และพดู ๔๗ ๔๙ สาระหลักการใชภ้ าษา คำราชาศพั ท์ ๕๑ ภาษาพูด ภาษาเขยี น ๕๔ การใช้พจนานกุ รม ประโยคเพื่อการส่อื สาร โวหารการเขียน สาระวรรณคดแี ละวรรณกรรม นิทานพืน้ บา้ น บทอาขยาน

สาระการอ่ าน

การอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว ร้อยแก้ว เป็นรูปแบบการเขียนชนิดหนึ่งของภาษาไทย โดยทั่วไปมักใช้ภาษาเรียบง่าย และไม่มี รูปแบบกำหนดตายตัวในการเขียน มีเพียงการคำนึงถึงความถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาเท่านั้นโดยสำคัญ จะ มงุ่ เนน้ ที่จุดมุง่ หมายในการเขยี นมากกว่าการคำนงึ ถึงรปู แบบการเขียน การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ถือว่าเป็นการอ่านออกเสียงงานเขียนประเภทร้อยแก้วโดยการเปล่งเสียง นั้นจะต้องอ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีทางภาษาไทย คำนึงถึงวรรคตอนและความหมายของคำเป็นหลักเพ่ือ ป้องกันความเข้าใจคลาดเคลื่อนของผู้ฟังและเกิดความกำกวมทางภาษาได้ นอกจากนี้ยังใช้น้ำเสียงหรือจังหวะ เหมือนกับการพูดปกติ แต่ในบางกรณีอาจจะใช้การถ่ายทอดอารมณ์ผ่านน้ำเสียงหรือจังหวะในการอ่าน เพิ่ม มากขึ้น เพื่อให้ผอู้ า่ นเกิดอารมณ์คล้อยตามเรอ่ื งราวทีไ่ ด้รบั ฟงั ได้ หลกั การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว ๑. ทําความเข้าใจบทอ่าน ความหมายของคํา สํานวน ความคิดสำคัญของเรื่องที่อ่าน แล้วใช้น้ำเสียง ใหไ้ พเราะนา่ ฟงั เนน้ ถ้อยคําอยา่ งถูกตอ้ งสมั พันธก์ ับเนื้อเรื่อง ๒. อา่ นให้ถกู ตอ้ งตามอกั ขรวธิ หี รืออ่านให้ถกู ตอ้ งตาม ความนิยม ผู้อา่ นจะทราบหลักเกณฑ์การอา่ นได้ โดยการศึกษาวา่ คาํ ใดอา่ นอย่างไร และใชพ้ จนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถานช่วย ๓. อา่ นออกเสยี งพยญั ชนะ สระ ออกเสยี งคาํ ทม่ี ี ร ล เปน็ พยัญชนะตน้ หรือคําควบกลำ้ ๔. อ่านโดยแบง่ จงั หวะ วรรคตอนใหถ้ กู ตอ้ ง ผอู้ ่านอาจ ฝกึ ฝนดว้ ยการทาํ เครือ่ งหมาย / คั่นขอ้ ความที่ เว้นวรรค เพราะหาก อา่ นเวน้ วรรคผดิ ความหมายกผ็ ดิ ๕. อา่ นให้คลอ่ งแคลว่ ไม่อ่านตะกุกตะกกั โดยตอ้ งฝึกอา่ น ข้อคำนงึ ในการอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ๑. เขา้ ใจสาระสำคญั ของเร่อื ง อารมณ์ และวตั ถปุ ระสงคข์ องผ้เู ขยี นทต่ี อ้ งการสือ่ ถึงผอู้ า่ น ๒. อา่ นคำภาษาไทยให้ถูกต้องตามอักขระวิธี ชดั วรรค ชัดถ้อย ชัดคำ ๓. แบ่งวรรคตอนในการอ่าน และอา่ นเครื่องหมายวรรคตอนให้ถูกต้อง ๔. มสี มาธใิ นการอา่ น ไมอ่ ่านผดิ อ่านตก อ่านเพม่ิ หรืออ่านผดิ บรรทัด ๕. อา่ นดว้ ยน้ำเสียงท่ีเปน็ ธรรมชาติ เหมือนเสยี งพูด มลี ลี าและอารมณ์ตามเนอื้ เรอ่ื งทีอ่ ่าน ๖. อ่านออกเสียงดังพอประมาณ ไม่ตะโกน หรือเสียงเบาเกินไป ถ้าอ่านออกเสียงผ่านไมโครโฟน ควรยนื ให้สงา่ งาม ปากหา่ งจากไมโครโฟนพอเหมาะ เพอ่ื มใิ ห้เสียงหายใจเขา้ ไมโครโฟน ๗. ในระหว่างที่อ่านควรกวาดสายตาตามตัวอักษร สลับกับการเงยหน้าขึ้นสบตาผู้ฟัง อย่างเหมาะสม และเป็นธรรมชาติ 1 สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง รอ้ ยกรอง เป็นงานเขยี นรปู แบบหนึง่ ของไทย โดยอาจจะใชค้ ำเรยี กวา่ “บทประพันธ”์ ก็ได้ ซึ่งเป็น การเขียนทีม่ รี ปู แบบกำหนดแน่ชดั มีฉันทลกั ษณท์ ี่แตกต่างกนั ออกไปตามแต่ละประเภท มีการคำนึงการใชค้ ำ และความไพเราะมากกวา่ งานเขียนประเภทรอ้ ยแกว้ โดยปกตกิ ารอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง สามารถอ่านได้ ๒ ลักษณะคือ การอา่ นทำนองธรรมดา และการอ่านทำนองเสนาะ การอ่านทำนองธรรมดา เป็นการอ่านโดยใช้เสียงตามปกติ แต่จะต้องคำนึง จังหวะในการแบ่ง วรรคตอนการอ่านตามรปู แบบของฉนั ทลกั ษณ์เท่านนั้ โดยไม่ จำเปน็ จะต้องใส่อารมณ์หรือลลี าในการอา่ น การอ่านทำนองเสนาะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ได้ให้ ความหมายว่า “วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรอง ปรคะำเภททมี่ โอี คกั ลษงรฉสันูงนทำ์ กอาักพษยร์ตก่ำลเดอี่ยนว” ตวั อย่าง การอา่ นร้อยกรองใหม้ ีความไพเราะและไดอ้ รรถรสนั้น ผอู้ า่ นต้องออกเสียงเป็นทำนองใหม้ เี สียงสงู เสียงกลาง เสียงต่ำ สัน้ ยาว หนัก เบาตามถ้อยคำและจงั หวะของคำประพันธแ์ ตล่ ะประเภท ตอ้ งใช้ทั้งศาสตร์ และศลิ ป์ เพอื่ สือ่ ถ้อยคำ ทำนองและลีลาอารมณ์ใหไ้ ด้สนุ ทรยี รสอย่างแทจ้ รงิ หลักการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ ๑. อา่ นให้ถกู จงั หวะตามฉันทลักษณ์ของคาํ ประพนั เรอ่ื งราว/แต่ละชนิด ๒. อา่ นใหเ้ ออ้ื สมั ผสั และคำคลอ้ งจอง เชน่ ขา้ ขอเคารพอภวิ าท บรมนาถบพิตรอดศิ ร คำท่พี มิ พ์ตัวหนาอ่านใหเ้ อือ้ สมั ผัส ดงั นี้ เพอ่ื ให้เอื้อสมั ผสั กบั คำวา่ เคารพ อภิวาท อา่ นว่า อบ-พิ-วาด เพ่อื ให้สมั ผัสกบั คำว่า บพิตร อดศิ ร อา่ นวา่ อะ-ดดิ -สอน สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ 2

๓. การอา่ นเนน้ เสยี งสมั ผัส โดยอา่ นทอดเสียงคำทร่ี ับสง่ สมั ผสั ระหวา่ งวรรคให้ยาวกวา่ ธรรมดา เช่น หมูบ่ ้านยา่ นชายคลอง ตะวนั สอ่ งสวา่ งใส นกรอ้ งมาไกลไกล เสียงไกข่ ันทกุ บ้านเรอื น เปน็ สขุ ทุกบา้ นช่อง ล้วนพี่น้องพวกพ้องเพ่อื น ใคร ๆ ไมแ่ ชเชอื น อกี ไมช่ า้ ช่วยหากนิ ตาอนิ กะตานา : เนาวรัตน์ พงษไ์ พบูลย์ คําที่พิมพต์ ัวหนานี้จะต้องอา่ นออกเสยี งใหช้ ัดเจน และ ทอดเสียงใหย้ าวกว่าปกติ ๔. อ่านรวบคําในวรรคที่มจี ํานวนพยางค์เกิน โดยอา่ น พยางค์หนา้ เรว็ และเน้นเสียงท่ีพยางค์หลัง ๔. การออกเสยี งคําแตล่ ะคําตอ้ งชดั เจน และเนบิ นาบกว่า เสยี งพดู ปกติธรรมดา แต่จะตอ้ งอ่านให้ พอเหมาะ ไม่เนิบนาบหรือ เร็วจนเกินไป และเมอ่ื จะจบ จะตอ้ งทอดเสยี งหรอื จงั หวะให้ชา้ ลง กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ คอื คำประพนั ธ์ชนิดหนึ่งซ่งึ มกี ำหนดคณะ พยางค์ และสมั ผสั มีลกั ษณะคล้ายกบั ฉันท์ แตไ่ ม่ นยิ ม ครุ ลหุ เหมือนกบั ฉันท์ กาพย์ แปลตามรปู ศัพทว์ ่า เหลา่ กอแหง่ กวี หรือ ประกอบด้วย คณุ แห่งกวี หรือ คำท่กี วี ไดร้ ้อยกรอง ไว้ กาพยม์ าจากคำวา่ กาวฺย หรือ กาพฺย และคำ กาวฺย หรือ กาพฺย มาจากคำ กวี กวอี อกมาจากคำเดิม ใน ภาษาบาลี และสนั สกฤต กวิ แปลว่า ผ้คู งแกเ่ รยี น ผ้เู ฉลยี วฉลาด ผมู้ ีปญั ญาเปรอื่ งปราด ผูป้ ระพนั ธ์กาพย์ กลอน และแปลอยา่ งอ่ืน ได้อีก กาพยท์ น่ี ยิ มใช้อยู่ในภาษาไทย มี ๕ ชนดิ คือ ๑. กาพยย์ านี ๒. กาพย์ฉบัง ๓. กาพย์สรุ างคนางค์ ๔. กาพยห์ อ่ โคลง ๕. กาพย์ขบั ไม้หอ่ โคลง 3 สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

ฉันทลกั ษณ์ของกาพยย์ านี ๑๑ ใน ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คำ (คำในที่นี้หมายถึงพยางค์) วรรคหลังมี ๖ คำ รวมเป็น ๑๑ คำ ใน ๑ บท มี ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค รวมเป็น ๔ วรรค สัมผัสระหว่างวรรค มีสัมผัส ๒ คู่ คือ คำสุดท้ายของวรรคที่หนึ่ง สัมผัสกับ คำที่สาม (หรือคำที่หนึ่ง) ของวรรคสองคำสุดท้ายของวรรคที่สอง สัมผัสกับ คำสุดท้ายของวรรคที่สามสัมผสั ระหว่างบท มี ๑ คู่ คือคำสุดท้ายของแต่ละบท สัมผัสกับ คำสุดท้าย ของวรรคทส่ี องของบทถดั ไป หลักการอา่ นกาพย์ยานี ๑๑ การอ่านกาพย์ยานี ๑๑ มีจังหวะการอ่านวรรคละ ๒ จังหวะ คือ วรรคหน้า ๕ คำ อ่าน ๒/๓ // วรรคหลัง 6 คำ อา่ น ๓/๓ // เชน่ วชิ า/เหมือนสนิ ค้า// อนั มีคา่ /อยูเ่ มืองไกล// ตอ้ งยาก/ลำบากไป// จงึ จะได/้ สินค้ามา// จงตัง้ /เอากายเจา้ // เป็นสำเภา/อนั โสภา// ความเพียร/เป็นโยธา// แขนซา้ ยขวา/เปน็ เสาใบ// เครอ่ื งหมายกำกับจงั หวะในการอ่านบทรอ้ ยกรอง สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ 4 เครือ่ งหมายขีดทบั หน่งึ ขดี ( / ) ใช้กำกบั จังหวะหยดุ เสียงอ่านภายในวรรค เครื่องหมายขีดทบั สองขีด ( // ) ใช้กำกับ จงั หวะหยดุ เสยี งอ่านเม่ือจบวรรคเปน็ ช่วงยาวกว่า จงั หวะเสริม

กลอนสุภาพ (กลอนแปด) กลอนสภุ าพ มชี อ่ื เรียกอีกช่อื หนงึ่ วา่ กลอนแปด คอื กลอนประเภทหน่งึ ท่เี รียบเรียงเขา้ เปน็ คณะ ใช้ ถ้อยคำและทำนองเรียบ ๆ โดยกลอนหน่ึงบทมีสองบาท หนึ่งบาทมีสองวรรค หน่ึงวรรคมีแปดคำ เปน็ ทีม่ าของ ช่อื เรียกกลอนแปดเพราะหน่ึงวรรคมแี ปดคำ ซ่ึงนับไดว้ า่ กลอนสภุ าพเปน็ กลอนหลักของกลอนท้งั หมด เพราะ เปน็ พ้ืนฐานในการเริ่มแตง่ กลอน หากเข้าใจกลอนสภุ าพ กส็ ามารถเข้าใจกลอนอื่นๆ ไดง้ ่ายขึน้ สมั ผสั แบ่งออกเปน็ สมั ผสั นอกและสัมผัสใน สมั ผสั นอก คำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำทสี่ ามของวรรคหลงั ของทุกบาท เป็นการสัมผสั ระหว่างวรรค คำ สุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม เป็นการสัมผัสระหว่างบาท ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคท่ีสองของบทถัดไป สัมผัสนอกเป็นส่วนที่สำคัญมาก หากขาดสมั ผัสนอก กลอนบทนั้นๆก็จะไมส่ มบูรณ์ สัมผัสใน ไม่บังคับเรื่องสัมผัส แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำภายในวรรค การ สัมผัสคำที่สามกับคำที่สี่ เรียกว่าสัมผัสหน้า การสัมผัสระหว่างคำที่ห้ากับคำที่หกหรือคำที่เจ็ด เรียกว่าสัมผัส หลังในแต่ละวรรคของสัมผัสใน การมีสัมผัสหน้าทำให้กลอนไพเราะ สัมผัสหลังทำให้กลอนไพเราะมาก หากมี ท้ังสัมผสั หน้าและสัมผสั หลังจะทำให้กลอนมีความไพเราะมากที่สดุ 5 สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

กำหนดเสยี งวรรณยกุ ต์ คำสุดท้ายของวรรคท่ี ๑ ใชเ้ สียง สามญั เอก โท ตรี จตั วา แตไ่ มน่ ิยมเสียงสามัญ คำสดุ ทา้ ยของวรรคที่ ๒ หา้ มใช้เสยี ง สามญั หรือ ตรี และนิยมใชเ้ สียง จตั วา เป็นสว่ นมาก คำสุดท้ายของวรรคท่ี ๓ ห้ามใชเ้ สียง เอก โท จตั วา และนยิ มใชเ้ สยี ง สามญั หรอื ตรี คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ หา้ มใช้เสยี ง เอก โท จตั วา และนยิ มใชเ้ สียง สามญั หรือ ตรี โคลงส่ีสุภาพ ข้อบังคบั ของโคลงสส่ี ภุ าพ (สงั เกตจากแผนผัง) ๑. บทหน่งึ มี ๔ บรรทัด ๒. วรรคหนา้ ของทุกบรรทัด มี ๕ พยางค์ วรรคหลงั ของบรรทดั ที่ ๑ - ๓ มี ๒ พยางค์ บรรทัดท่ี ๔ มี ๔ พยางค์ สามารถทอ่ งจำนวนพยางค์ได้ดังน้ี หา้ -สอง (สรอ้ ย ๒ พยางค์ มักลงท้ายดว้ ย นา แฮ เฮย เพอ่ื รับคำ ต่อคำ เชอ่ื มคำ) หา้ - สอง หา้ - สอง (สร้อย ๒ พยางค์ มกั ลงทา้ ยดว้ ย นา แฮ เฮย เพ่ือรบั คำ ต่อคำ เชื่อมคำ) หา้ - สี่ (หากจะให้เกิดความไพเราะในการอ่านนิยมลงเสียงจตั วา) ๓. มตี ำแหน่งสมั ผสั ตามเส้นโยง ๔. บงั คบั รปู วรรณยกุ ต์ เอก ๗ โท ๔ ตามตำแหน่งในแผนผงั หลกั การจำตำแหนง่ วรรณยกุ ต์ แบบฉบบั ลงุ อ่ำ กากากากา่ กา้ กากา (00) กาก่ากากากา ก่ากา้ กากากา่ กากา กากา (00) กากา่ กากากา้ กา่ กา้ กากา ๕. กรณที ไ่ี ม่สามารถหาพยางค์ท่มี รี ูปวรรณยุกต์ตามต้องการไดใ้ หใ้ ช้เอกโทษ และโทโทษ เอกโทษ และโท โทษ คืออะไร? สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ 6

๕. กรณที ไ่ี มส่ ามารถหาพยางค์ทีม่ รี ปู วรรณยุกต์ตามต้องการได้ใหใ้ ชเ้ อกโทษ และโทโทษ เอกโทษ และโท โทษ คอื อะไร? คำเอกคำโท หมายถงึ พยางคท์ ่ีบังคบั ด้วยรปู วรรณยกุ ต์เอก และรูปวรรณยตุ โ์ ท กำกับอยู่ในคำนัน้ โดยมีลักษณะ บังคบั ไว้ดังนี้ คำเอก ไดแ้ ก่ พยางคท์ ่ีมีรปู วรรณยกุ ตเ์ อกบงั คับ เชน่ ลา่ เก่า กอ่ น น่า ว่าย ไม่ ฯลฯ และให้รวมถงึ คำตายทั้งหมดไม่ วา่ จะมเี สยี งวรรณยกุ ตใ์ ดก็ตาม เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชดิ (ในโคลงและร่ายใช้ คำตาย แทนคำเอกได้) คำตาย คือ 1. คำทปี่ ระสมสระเสียงสั้นแม่ ก กา (ไมม่ ีตัวสะกด) เชน่ กะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรย๊ี ะ เลอะ โปีะ ฯลฯ 2. คำท่ีสะกดด้วยแม่ กก กบ กด เชน่ เลข วดั สารท โจทย์ วิทย์ ศษิ ย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ คำโท ไดแ้ ก่ พยางค์ท่มี รี ูปวรรณยุกต์โทบงั คบั ไมว่ ่าจะเป็นเสยี งวรรณยุกต์ใดกต็ าม เช่น ขา้ ลม้ เศรา้ ค้าน คำเอกคำโท ใช้ในการแต่งคำประพันธป์ ระเภท \"โคลง\" และ \"รา่ ย\" และถอื ว่าเป็นข้อบงั คบั ของฉันทลักษณ์ที่ สำคญั มาก ถึงกับยอมใหเ้ อาคำที่ไมเ่ คยใช้รปู เอก รูปโท แปลงมาใช้เอกและโทได้ เช่น \"เลน่ \" นำมาเขยี นใช้เปน็ \"เห ช่วลย้น\" ได้ เรยี กว่า โทโทษ \"หา้ ม\" \"๓ข้อ. นอ\"่านนอำอมกาเขสยี นงพเปย็นัญช\"ฮน่าะม\"ส\"รคะ่ออนอ\"กเรเสยี ียกงวค่าําเทอี่มกีโรทษล เป็นพยญั ชนะต้นหรือ คาํ ควบกล้ำ ๔. อ่านโดยแบ่งจังหวะ วรรคตอนให้ถูกต้อง ผู้อ่านอาจ ฝึกฝนด้วยการทํา เคร่ืองหมาย / คั่นข้อความที่เวน้ วรรค เพราะหาก อา่ นเวน้ วรรคผดิ ความหมายก็ผดิ ๕. อ่านใหค้ ลอ่ งแคล่ว ไม่อา่ นตะกกุ ตะกัก โดยตอ้ งฝกึ อา่ น 7 สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

โคลงโลกนติ ิ โคลงโลกนิติเป็นสุภาษติ เกา่ แก่ มมี าตัง้ แต่ครงั้ กรุงศรีอยุธยาเปน็ ราชธานี นักปราชญใ์ นครั้ง นั้นได้สรรหาคำสุภาษิตที่เป็นภาษาบาลีและสันสกฤต ที่มีอยู่ในคัมภีร์ต่าง ๆ คือ คัมภีร์โลกนิติ คัมภีร์โลกนัย ตลอดจนคัมภีร์พระธรรมบท แล้วนำมาแปลเป็นภาษาไทย โดยแต่งเป็นคำประพันธ์ คำโคลงทุกคาถา รวมเรียกว่าโคลงโลกนิติ เป็นสุภาษิตที่บรรพบุรุษของไทยนับถือ นำไปเล่าเรียน สัง่ สอน และประพฤตปิ ฏบิ ัตกิ นั อยา่ งกวา้ งขวาง เปน็ ทร่ี ูจ้ กั กนั ดี ในหมปู่ ระชาชนคนไทยทุกหมู่เหลา่ ทกุ สถานะอาชพี ตอ่ เน่อื งกันมาช้านานจนถงึ ปจั จุบัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๔ ทรงมีพระราชประสงค์จะให้ จารึกโคลงโลกนิตลิ งในแผ่นศิลาในวัดพระเชตุพนฯ เป็นธรรมทาน จึง ได้โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร รวบรวมโคลงโลกนิติของเก่ามา ชำระแก้ไขใหม่ ให้เรียบร้อยปราณีตและไพเราะ เพราะของเก่าที่คัดลอกต่อ ๆ กันมา ปรากฎว่ามี ถ้อยคำที่ วปิ ลาศคลาดเคล่ือนไปมาก สภุ าษติ ทป่ี รากฎในโคลงโลกนติ ิ ลว้ นเป็นภาษติ ท่ีนยิ มนับถือ กันว่า เปน็ ภาษิตท่ีเหมาะสม ท่จี ะใชเ้ ปน็ หลกั ประพฤติปฏิบตั ิ และนำไปส่งั สอนกนั ตอ่ ไป สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ 8

ตัวอยา่ งโคลงโลกนติ ิ 9 สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

ใน ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คำ (คำในที่นี้หมายถึงพยางค์) วรรคหลังมี ๖ คำ รวมเป็น ๑๑ คำ ใน ๑ บท มี ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค รวมเป็น ๔ วรรค สัมผัสระหว่างวรรค มีสัมผัส ๒ คู่ ฃ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ 10

อักษรย่อ อักษรย่อ คือ อักษรที่ใช้แทนคำเต็ม ซึ่งมักจะเป็นคำหรือศัพท์เฉพาะที่ยาวเพื่อการสื่อสารที่รวดเร็ว และกระชับ อาจใช้ทั้งในการพูดและการเขียน ทั้งนี้ควรใช้ในกลุ่มผู้รับสารที่เข้าใจอักษรย่อนั้น เมื่อใช้อักษรย่อ แทนคำเต็มให้เขียนกำกบั ดว้ ยเคร่อื งหมายมหพั ภาค ( . ) การอ่านอักษรยอ่ ต้องอา่ นเตม็ ทุกคำ ๑1 สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย

สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๑๒

๑๓ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

การอ่านข่าวสารทางราชการ เปน็ เอกสารทแ่ี จง้ ขอ้ มลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ ของหนว่ ยงานราชการใหป้ ระชาชนทั่วไป ทราบ เพื่อจะได้ปฏบิ ัตติ นใหเ้ หมาะสม เช่น เอกสารของโรงเรยี น ทีแ่ จ้งขอ้ มูลต่าง ๆ ของ โรงเรียนใหน้ ักเรียนครู ผู้ปกครอง หรอื บคุ คลทเ่ี ก่ยี วขอ้ งทราบและปฏบิ ัตติ นตามเอกสารที่ แจ้งไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เนต้น ตวั อย่าง สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ 14

การเลือกอ่านหนงั สือ ง การเลือกหนงั สืออา่ น การเลือกหนังสืออ่านมีความจำเป็นมาก นักอ่านที่ดีจะต้องเป็นผู้ที่รู้จักวิธีเลือกหนังสือ อ่าน ใหไ้ ด้ประโยชนส์ ูงสุดแก่การอา่ น โดยพิจารณาวธิ ีเลอื ก ต่อไปน้ี 1. เลือกหนังสอื ทีม่ ีสาระเร่ืองราวตรงกับความตอ้ งการหรือความจำเปน็ ทต่ี อ้ งอ่าน 2. เลือกหนังสือทด่ี ีมีคณุ ลกั ษณะ ดงั นี้ 2.1 หนงั สือท่ีเปน็ ทย่ี อมรบั กันโดยทัว่ ไปแลว้ ว่าดี 2.2 หนงั สอื ท่มี ีกระแสวิพากษ์วจิ ารณอ์ ย่างกวา้ งขวางว่าดี 2.3 หนงั สือที่ไดร้ ับรางวัลสำคัญ ๆ ในการประกวดขององคก์ รทมี่ คี ุณภาพ 2.4 หนังสอื ซ่งึ เขยี นโดยนกั เขยี นทีม่ คี ณุ ภาพเป็นทีย่ อมรับของแวดวงนักอา่ น 2.5 หนังสือที่มีคุณค่าดีพร้อมทุกด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านความคิด ด้าน กลวิธี ด้านทางภาษา ดา้ นรูปแบบและการนำเสนอ 2.6 หนังสอื ที่ไดร้ ับการยอมรบั ศกึ ษาสบื ทอดกันมาทกุ ยุคทุกสมัย 2.7 เลอื กหนังสือที่จะไม่โน้มนำไปในทางเส่ือมทั้งปวง วิธีการอ่านหนงั สอื ประเภทตา่ ง ๆ 1. หนังสือพิมพ์ เป็นเคร่อื งมือสือ่ สารประเภทขา่ ว เหตุการณท์ เี่ กิดข้ึนแต่ละวัน ควรอ่าน ดงั นี้ 1.1การอา่ นหนังสอื พมิ พ์รายวนั ควรอ่านเรว็ ๆ ถา้ ติดใจบทความเร่ืองใดเรอ่ื งหนง่ึ 1.2 ควรตัดเก็บไว้ (หากเป็นหนังสือพิมพ์ส่วนตัว) หรือจดไว้แล้วเก็บเป็นระบบเพ่ือค้นง่าย ควรอ่าน ทกุ หน้า เพราะแต่ละหนา้ มีความรแู้ ละขา่ วทไ่ี มซ่ ้ำกนั ถ้าอา่ นไม่ทว่ั จะพลาดขา่ วสำคัญ 1.3 ควรใชว้ จิ ารณญาณในการอ่านหนงั สอื พมิ พ์ เพราะผูผ้ ลิตหนังสอื พิมพ์รายวนั ตอ้ งทำงานแข่งกับ เวลาอาจจะมีความบกพร่องคลาดเคลื่อนได้ การเสนอข่าวจะโน้มเอียงไปตาม ที่คนส่วนมากสนใจ และบางคร้งั ใช้ภาษาไมถ่ กู ตอ้ ง 2. นิตยสาร และวารสาร เป็นเครื่องมือสื่อสารประเภทหนึ่งที่มีกำหนดออกแน่นอน มีลักษณะเป็น รายงานข่าวที่ค่อนข้างจะแน่นอน เพราะมีเวลาในการรวบรวม แต่จะไม่ทันเหตุการณ์ เท่าหนังสือพิมพ์ ควร อา่ น ดงั นี้ 2.1 ไม่จำเป็นต้องอ่านท้ังฉบบั 2.2 อา่ นเฉพาะเรอ่ื งทส่ี นใจ โดยดจู ากสารบญั ทำให้ค้นหาเรอ่ื งท่ีตอ้ งการไดเ้ รว็ ขนึ้ 15 สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

3. หนังสือสารคดี การอ่านหนังสือประเภทนี้ เป็นการอ่านเพื่อความรู้ เพื่อการค้นคว้าเพื่อประกอบการเรียน หนงั สือสารคดีมีมากมายหลายประเภท แต่ละประเภทควรอา่ น ดังน้ี 3.1 การอา่ นหนังสอื ประเภทปรชั ญาจติ วทิ ยาและศาสนา ทังสองประเภทนม้ี คี วามสัมพันธก์ นั มที ้ัง ระดับง่ายและระดบั ยาก การอ่านจึงขึน้ อยกู่ ับความมุ่งหมายของผอู้ ่าน ดังน้ี 3.2 การอา่ นหนงั สอื ประเภทสงั คมศาสตร์ เปน็ การอา่ นเรอ่ื งราวเกีย่ วกบั พฤติกรรมมนษุ ย์ เช่น รฐั ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย การศึกษา ขนบธรรมเนียมประเพณี เปน็ ตน้ ขอบเขตเน้ือหากวา้ งขวาง ผ้อู ่านต้องมีความรแู้ ละประสบการณ์ ต้องอาศัยการศึกษาค้นควา้ หาความรูเ้ พ่มิ เติม เพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ความรู้มาก ยิ่งขึ้น 3.3 การอ่านหนังสอื ประเภทประวัตศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์ การอา่ นหนงั สอื ประเภทนี้ ควรอ่านดงั นี้ 3.3.1 ตอ้ งอา่ นอยา่ งพนิ ิจพจิ ารณาอา่ นให้เรื่องตอ่ เนือ่ งกัน และเปรยี บเทียบเหตุการณ์ คล้ายคลงึ กัน กับที่เกดิ ขน้ึ ตา่ งยคุ ตา่ งสมัยกนั และพยายามหาสาเหตุของเหตุการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ กลัน่ กรอง หา เหตผุ ลของเหตุการณน์ ัน้ ๆ 3.3.2 ควรเปรียบเทยี บหลาย ๆ เลม่ เลือกอ่านหนงั สือเล่มทผี่ เู้ ขยี นทรงคุณวฒุ ดิ า้ น ประวัติศาสตร์ 4. หนงั สือนวนยิ ายหรือบนั เทงิ คดี ควรอ่าน ดงั นี้ 4.1 ควรอา่ นในเวลาว่าง และอ่านติดตอ่ กันไปเพื่อใหไ้ ด้อรรถรส 4.2 เมือ่ อ่านจบแลว้ ลองสรุปดูว่าได้อะไรจากการอา่ นบา้ ง เช่น คตสิ อนใจ คำพดู สอนใจ วฒั นธรรม ปรัชญา 5. หนงั สือเกยี่ วกบั สถติ ิ มีวิธีการอ่านตามขอ้ มลู ทนี่ ำเสนอด้วยการดภู าพ ตาราง สญั ลักษณ์ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ 16

สาระการเขียน

การคัดลายมือ ตัวอักษรไทยมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยและ มีการเปลี่ยนแปลงมา เรื่อย ๆ จนเป็นตัวอักษรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ตัวอักษรไทยเป็นมรดกที่บรรพบุรุษสร้างไว้เพื่อแสดงถึง เอกลักษณข์ องชาติไทย การใช้ ตัวอกั ษรไทยโดยการคัดลายมอื ใหส้ วยงามและเขยี นให้ถกู ตอ้ งตามหลัก จงึ เปน็ การชว่ ยกันอนุรกั ษ์เอกลักษณข์ องชาตไิ ทยวธิ หี นง่ึ ดว้ ย ข้อควรปฏบิ ัตใิ นการคัดลายมอื ๑. วางทา่ ในการเขยี นให้ถกู ต้อง จะทําใหเ้ ขียนสวย เขียนไดน้ าน และไมเ่ สียสขุ ภาพ ดงั น้ี ๑.๑ การจับดนิ สอ ๑.๑.๑ ใช้นิ้วชี้กับหัวแม่มือ จับดินสอหรือปากกาให้วางอยู่บน นิ้วกลาง ส่วนนิ้วนาง และนิ้วก้อยงออยู่ ใตน้ ว้ิ กลาง ๑.๑.๒ จับดินสอหรือปากกา หลวม ๆ ปลายนิ้วห่างจากปลายดินสอหรือปากกาประมาณ ๙ นว้ิ ๑.๑.๓ ไม่เกรง็ นว้ิ เวลาเขยี น ๑.๒ ทา่ นง่ั ๑.๒.๑ นัง่ ตัวตรงหลังไม่งอ หรือกม้ หนา้ มากเกินไป ๑.๒.๒ ฝ่าเท้าแตะพื้นหรือที่วางเท้า โต๊ะและเก้าอี้ควรมีขนาดเหมาะกับร่างกายของนักเรียน โต๊ะควรมขี นาดกวา้ งพอที่จะวางมือ และแขนได้ ๑.๓ การวางแขน ๑.๓.๑ วางแขนเกอื บแนบลําตวั ให้ข้อศอกหา่ งลาํ ตวั ๖ นว้ิ ๑.๓.๒ ช่วงแขนตงั้ แต่ขอ้ ศอกลงไปควรวางอยบู่ นโตะ๊ และวาง เปน็ มมุ ฉากกับขอบกระดาษ ๑.๔ การวางกระดาษ ๑.๔.๑ การวางกระดาษตอ้ งสมั พนั ธก์ ับการนั่ง การจบั ดินสอ และการวางมือใหอ้ ย่ใู นท่าสบาย เพอ่ื เขยี นได้สะดวกไม่เมื่อยง่าย ซง่ึ จะช่วยใหเ้ ขียนไดส้ วยและเร็ว ๑.๔.๒ ควรวางกระดาษอยตู่ รงหนา้ พอดี ใหก้ ระดาษห่างจาก สายตาประมาณ ๑ ฟุต ๑.๔.๓ วางกระดาษเอียงมาทางซ้าย ทํามมุ กบั ขอบล่างของ โต๊ะประมาณ ๓๐-๓๕ องศา ๑๗ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

๒. เขียนตัวอักษรให้ถูกต้องตามหลักวิธี ตัวอักษรไทยมีหลายรูปแบบ การเขียนตัวอักษรแต่ละรูปแบบ มหี ลกั การเขียนเหมือนกนั คอื ๒.๑ อกั ษรทีม่ ีหัว ตอ้ งเขยี นหวั ก่อน และเขียนใหเ้ หน็ หวั ชัด ๆ ๒.๓ เขียนเสน้ ต่อเน่ืองกนั ไมย่ กดินสอ นอกจากยกเพ่ือเขยี น หางหรอื เชิง ๒.๓ ฝกึ คัดทัง้ ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ระยะแรกควรตีเส้น แบ่งครึ่งบรรทัด เมื่อชํานาญแล้วจึงเขียนโดยไม่ต้อง ตีเสน้ แบ่ง ประโยชน์ของการคัดลายมอื ๑. สบื สานมรดกไทยไวค้ ู่ชาติสืบไป ๒. ฝึกสมาธิ และความแนว่ แนข่ องจติ ๓. เปน็ พ้นื ฐานในการประดิษฐอ์ ักษรไทยตอ่ ไป ๔. การคดั ลายมือเกิดความประทบั ใจกวา่ การพิมพ์ในโอกาสสำคัญตา่ ง ๆ ๕. บคุ คลทีล่ ายมืองามเป็นบุคคลพิเศษท่มี กั จะไดร้ ับความชืน่ ชม ๖. มีความแม่นยำในคำ และข้อความ การจับดนิ สอ ควรจับดินสอหรือปากกาตามแบบ ในภาพ โดยไมค่ วรเกรง็ มากเกินไป เพราะจะทำให้ เมือ่ ยมอื ไดง้ ่าย และทำใหค้ ัดลายมือไดไ้ ม่สวยงาม สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๑๘

แบบอกั ษรท่ีใช้ฝึกคดั ลายมอื การคัดลายมือมีแบบการคัดตัวอักษรไทยหลายแบบ ที่พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากหน่วยงาน ทางการศึกษา จากหน่วยงานทางราชการ หรือจากสำนักพิมพ์ต่าง ๆ ในการคัดลายมือนักเรียนระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษาท่ีสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ จะใช้ฝึกรปู แบบตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ การคดั ลายมือแบบกระทรวงศกึ ษาธิการนี้ เรียกตามโครงสรา้ งของตวั อกั ษรวา่ “หัวกลม ตัวมน” ๑๙ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง แผนภาพโครงเรื่อง มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น แผนภาพความคิด แผนภาพความหมาย เป็นการแสดงความรู้โดยใช้ภาพ คือ การนําข้อมูลความรู้ ข้อเท็จจริง มาจัดเป็นระบบ สร้างเป็นแผน ความคิด หรือ จดั ความคดิ โดยนาํ หวั ขอ้ เรอื่ งใดเร่ืองหนง่ึ มาแยกเปน็ หวั ขอ้ ยอ่ ย แลว้ น้ามาจัดลาํ ดับเปน็ แผน ข้นั คตวอานมกคาิดรซสึ่งรจา้ งะแสผานมภาารพถพโคัฒรงนเรา่ือทงักษะการอ่าน การเขียน ทําให้ รู้จักรวบรวมความรู้ที่ได้จากการอ่าน เป็นระบบซ่ึงจะจดจาํ ได้ง่าย และแม่นยาํ ย่ิงขึ้น ใชจ้ ดั ขอบเขตความรู้ ความคดิ เพือ่ กาํ หนดทิศทางของเร่ือง ๑.ทกีจ่ ําะหเขนยี ดนช่ือทเาํรใื่อหง้งาหนรเอื ขียคนวามมีปคริดะรเวดบ็นยทอช่ี ดดั 6เจ.นระแดลมะสไดม้คอวงคามิดคถรึงบส่งิถท้วเี่นกส่ียมวบขรู้อณงก์ บั ชอื่ เรื่อง หรอื ความคิดรวบยอด สําคัญน้ันแล้ว ข้นั ตอนการสร้างแผนภาพโครงเรือ่ ง ๑. กาํ หนดชื่อเรือ่ ง หรือ ความคิดรวบยอด ๒. ระดมสมองคิดถึงสง่ิ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับช่ือเรื่อง หรือความคดิ รวบยอดสาํ คญั นัน้ แลว้ จดบนั ทึกไวเ้ ปน็ คาํ หรือกลมุ่ คําส้นั ๆ ๓. นําคําหรือกลมุ่ คาํ ทจ่ี ดบนั ทึกไวซ้ ึง่ มคี วามเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั มาจัดกล่มุ ต้ังชือ่ กลุ่มคาํ เป็นหัวข้อ ย่อย แล้วเรียงลําดับกลุ่มคําตามความสาํ คัญ ๔. เลือกรปู แบบแผนภาพความคิด ให้เหมาะสมกับการนําไปใช้ประโยชน์และเนอ้ื หาของเรอ่ื ง รปู แบบแผนภาพโครงเร่อื ง แผนภาพโครงเรอ่ื งมีหลายแบบ ในท่นี ี้จะขอเสนอรูปแบบทนี่ ยิ มใช้ ๓ แบบ คอื ๑. แผนภาพกงิ่ ๒. แผนภาพการจดั ความคดิ ๓. แผนภาพความคิด สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๒๐

ตัวอยา่ งการเขียน แผนภาพโครงเรอื่ ง เรอ่ื ง ลูกแกะกบั จระเข้ ลูกแกะตัวหน่ึงกระหายน้าํ จัด มันจงึ เดินไปที่ริมฝงั่ น้ําเพอ่ื ทจี่ ะดม่ื นาํ้ ดับกระหาย แตเ่ ม่ือไป ถึงรมิ ฝงั่ แม่น้ํา ได้เหน็ จระเข้ตัวหนง่ึ นอนกบดานอยู่ใกลก้ บั รมิ ฝั่ง ลกู แกะจึง ลม้ เลิกความคิดที่จะกิน น้ํา มันรีบหันหลังกลับทันที จระเข้จึงร้องถามว่า “อ้าว! เจ้าแกะน้อย เจ้าจะมากินน้ําไม่ใช่หรือ ทําไมรีบด่วนกลับเสียล่ะ ลูกแกะเดินพลาง ตอบพลางไม่เหลียวหลังว่า ช่างเถอะ การกินน้ําของข้า ไมส่ าํ คญั เท่ากับการรอกิน ลกู แกะของท่านดอก” นิทานอสี ป ฉบับสอนเด็ก เรือ่ ง ลูกแกะกบั จระเข้ ตัวละคร/ใคร/อะไร : ลูกแกะ, จระเข้ เรอ่ื งเกดิ ขึน้ ทไี่ หน : รมิ ฝั่งแมน่ ำ้ แห่งหนง่ึ เหตุการณ์ : ลูกแกะกระหายนำ้ แต่เมอื่ ไปถึงแม่น้ำพบจระเข้นอนรอ เหยื่ออยจู่ งึ ยอมอดนำ้ เพอื่ รักษา ชีวิตของตนไว้ ผลของการกระทํา : ลกู แกะรอดชวี ิตจากการเปน็ อาหารของจระเข้ ข้อคดิ คตสิ อนใจ : คนทม่ี คี วามฉลาดรอบคอบ ยอ่ มรู้จักพาตนใหพ้ น้ ภยั ได้ ๒๑ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

การเขียนเรือ่ งตามจินตนาการ การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ คือ การเขียนเรื่องที่มาจากความคิด ความรูส้ ึก ความใฝ่ฝนั ของผู้เขียน เอง เปน็ การเขียนแบบอสิ ระ ผเู้ ขียนควรมีความคิดสรา้ งสรรค์และชา่ งสงั เกต สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๒๒

๒๓ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

การเขียนย่อความ การย่อความ คือ การเก็บใจความสำคัญของเรื่องจากข้อความที่อ่านหรือฟัง แล้วนำสาระสำคัญ มาเรียบเรียงใหม่ให้สั้นด้วยภาษาที่กระชับ เข้าใจง่าย ได้ความถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์มากหรือน้อย แล้วแต่ต้องการ เช่น ย่อเรื่องจากหนังสือทั้งเล่มให้เหลือเพียง 1-2 หน้า ย่อบทความที่มีความยาว 5 หน้า เหลอื เพยี งครง่ึ หน้า เป็นตน้ ในการย่อความ ผ้อู ่านตอ้ งจับประเด็นสำคัญใหไ้ ด้ครบถ้วน งานเขียนแตล่ ะเร่ืองประกอบด้วยย่อหน้า หลายๆ ย่อหนา้ แต่ละย่อหนา้ ประกอบดว้ ยประโยคหลายประโยค ตามปรกติยอ่ หน้าแตล่ ะยอ่ หนา้ จะมที ้ัง ใจความ และพลความ ใจความ คอื ประโยคหรือข้อความสำคัญของยอ่ หนา้ ถ้าตัดออกจะเสียความหรือความเปล่ยี นไป ทำให้ผู้อา่ นผฟู้ งั ไม่เขา้ ใจหรอื เข้าใจเร่ืองผดิ ได้ ประโยคใจความสำคญั อาจอยูต่ น้ ยอ่ หน้า กลางย่อหน้า ทา้ ยย่อ หนา้ หรืออยทู่ ง้ั ตอนต้น และตอนท้ายย่อหน้าก็ได้ พลความ คอื ประโยคหรอื ข้อความทเ่ี ปน็ ส่วนขยายความ ทำหนา้ ท่ขี ยายใจความใหแ้ จ่มชัดยิง่ ขนึ้ หากตัดส่วนประกอบสว่ นน้ี ก็ยังเข้าใจเนื้อความสำคญั อยู่ ข้อความทข่ี ยายใจความสำคญั มหี ลายลักษณะ วธิ กี ารเขยี นย่อ ควา1ม. อา่ นเร่อื งท่จี ะยอ่ ความให้จบอย่างน้อย 2 คร้งั เพอื่ ให้ทราบว่าเร่ืองน้ันกล่าวถึงใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เม่ือไร และผลเปน็ อยา่ งไร 2. บนั ทกึ ใจความสำคัญของเร่อื งทีอ่ า่ น แลว้ นำมาเขียนเรยี บเรยี งใหมด่ ว้ ยสำนวนของตนเอง 3. อา่ นทบทวนใจความสำคญั ที่เขียนเรยี บเรียงแลว้ จากนนั้ แกไ้ ขให้สมบูรณ์ ตัดข้อความทีซ่ ำ้ ซอ้ นกนั ออก เพอ่ื ให้เนื้อหากระชบั 4. เขียนยอ่ ความใหส้ มบูรณ์ โดยเขยี นแบบขึ้นตน้ ของยอ่ ความตามรูปแบบของประเภทข้อความน้ันๆ เช่น การย่อนิทาน การยอ่ บทความ 5. การเขียนยอ่ ความไมน่ ิยมใชส้ รรพนามบรุ ษุ ที่ 1 บรุ ษุ ที่ 2 แตจ่ ะใช้สรรพนามบรุ ษุ ท่ี 3 และไมเ่ ขยี น โดยใชอ้ กั ษรยอ่ นอกจากนี้ หากมีการใชค้ ำราชาศัพทต์ อ้ งเขยี นให้ถกู ต้อง ไม่ตัดทอนแกไ้ ข สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๒๔

รปู แบบของการ เขียนย่อความ สง่ิ ท่นี ำมายอ่ ความนัน้ เปน็ ได้ทง้ั งานเขียนประเภทตา่ งๆ เช่น ขอ้ เขยี นในหนงั สอื อินเทอร์เน็ต ฯลฯ และข้อความทไี่ ด้ฟังมา เช่น ข้อความที่ได้ฟงั จากวิทยุ โทรทศั น์ และการอภิปราย ฯลฯ การยอ่ ความจึงต้องมี คำนำ และทมี่ า เพ่ืออธิบายประเภทของเรอื่ งทน่ี ำมาย่อน้ัน ดังน้นั ย่อความจึงประกอบด้วยสว่ นสำคัญ 2 ส่วน คือ 1. ส่วนท่เี ปน็ คำนำ ใชเ้ ขียนนำเป็นยอ่ หนา้ แรก มจี ดุ มงุ่ หมายให้ทราบรายละเอยี ดวา่ ย่อหน้านี้ ประกอบด้วยส่วนสำคญั ๆ ดังน้ี (ก) ลกั ษณะของเรอ่ื งทน่ี ำมาย่อ (ข) ข้อมลู เก่ยี วกับผู้แต่ง (ค) แหล่งขอ้ มลู 2. ส่วนที่เป็นใจความสำคัญของเรื่อง คอื สว่ นที่เปน็ เน้อื ความท่เี รยี บเรียงแลว้ เขียนติดต่อกันเปน็ ยอ่ หน้าเดียว ไมต่ อ้ งยอ่ หน้าตามเรือ่ งเดมิ แตถ่ า้ เป็นบทรอ้ ยกรองควรถอดความเปน็ ร้อยแก้วแลว้ จงึ ย่อ ๒๕ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

การจดหมายถึงญาติผู้ใหญ่ การเขียนจดหมาย เป็นการสื่อสารชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นความเรียงที่มีรูปแบบโดยเฉพาะ ฉะนั้นสิง่ ทีค่ วรคำนึงถึงในการเขียนจดหมายคือ ผู้เขียนจะต้องเลือกใช้ถ้อยคำอย่างพิถีพิถัน เช่น ใช้ถ้อยคำ ข้นั ทตี่สอั้นนกการระสชรับ้างแตผรนงตภาามพวโคัตรถงุปเรรอื่ ะงสงค์ นอกจากนี้จะต้องคำนึงถึงมารยาท ความสุภาพอ่อนน้อม ความ เหมาะสม ตลอดจนกาลเทศะระหว่างผูส้ ่งสารกับผูร้ บั สาร ๑.กการาํ หเขนยี ดนชจ่ือดเรหือ่ มงาหยจรือะมครี วปู าแมบคบดิ รโวดบยยทอวั่ ดไป6.จรดะหดมมาสยมแอบง่งคอดิ อถกงึ เสปิง่ ็นท่ีเ4ก่ยี ชวนขิด้องดกงับนชี้ ่ือเร่ือง หรือความคดิ รวบยอด สําคัญนั้นแ๑ล.ว้ จดหมายส่วนตัว ได้แก่จดหมายระหว่างบุคคลซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดต่อกัน เช่น พ่อ แม่ ลกู เครอื ญาติ เพ่ือนสนทิ ๒. จดหมายกิจธุระ ได้แก่ จดหมายระหว่างเอกชนกับเอกชน อาจเป็นบุคคลใกล้ชิดหรือบุคคล ท่วั ไปกไ็ ด้ หรือระหว่างเอกชนกับองคก์ ารเอกชน เช่น สมาคม ห้างรา้ น หรือเกีย่ วกบั ธรุ ะการงานทเี่ ป็นสว่ น หนงึ่ ขอ๑งก. ากรําดหำนรดงช่ือวี ิตเรอ่ืโดงยหทรไี่ ือมเ่ คกวยี่ าวมกคบั ิดผรลวกบำยไอรดขาดทนุ เชน่ การลาหยดุ เรียน หรือขอความช่วยเหลือ ๒.๓ร.ะจดดมหสมมอางยคธดิ ุรถกงึ ิจสิ่งไทดีเ่้แกกยี่ ่วจขดอ้ หงกมับาชย่อืรเะรห่ือวง่าหงเรออื กคชวนามกคับดิ เรอวกบชยนอดหสราํือครัญะหนวั้น่าแงลเ้วอจกดชบนนั กทับกึ อไงวค้เป์ก็นาครํา หรเอือกกชลนมุ่ คทาํ ี่สเกน้ั ี่ยๆวกับการค้า การลงทุน มีการได้กำไรหรือขาดทุน เช่น การสั่งซื้อสินค้า การกู้ยืม การขาย สินค้า ๓. นาํ คาํ หรือกลมุ่ คําท่ีจดบันทกึ ไวซ้ งึ่ มคี วามเกี่ยวขอ้ งสมั พันธก์ นั มาจดั กล่มุ ต้ังชื่อกลุ่มคําเป็นหวั ขอ้ ยอ่ อยงคแ์กลาว้ ๔รเเร.๔อยี เก.ลงชจลอื นดาํกดดหรับว้ปู มยกแาเลบยรุ่มือ่บรคงาแรําชผาตกนชาาภมราคพไวดคา้แวมากสม่าํ หคคดินญั ังใสหือเ้ หทมี่สา่วะนสรมากชบักการามรนีถาํึงไสป่วในชรป้ ารชะกโยารชดน้ว์แยลกะันเนห้อื รหือาถขึงอเงอเรกื่อชงน หรือ แผนภาพโครงเรอื่ งมหี ลายแบบ ในท่นี ้จี ะขอเสนอรปู แบบทนี่ ยิ มใช้ ๓ แบบ คอื การเข๑ีย.นแจผดนหภมาาพยกถงิ่ ึงพ่อแม่ญาติผู้ใหญ่หรือผู้ปกครองเป็นการเขียนจดหมายส่วนตัวเพื่อติดตอ่ ส่งข่าวคราว บอ๒ก.เลแ่าผเนรภ่ืองารพากวารสจอัดบคถวาามมทคุกิดขส์ ขุ และเรื่องอ่นื ๆ ใหพ้ อ่ แม่ ญาติผใู้ หญห่ รือผู้ปกครองได้รับรู้ ตามจุดประสงค๓์ใ.นแกผานรภเขาียพนควเราามคควดิ รใช้ถ้อยคำที่สุภาพแสดงถึงความเคารพเขียนให้ถูกต้องตามรูปแบบ ของจดหมาย สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๒๖

๒๗ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

ตวั อย่างรูปแบบของจดหมาย คณุ คา่ ของการเขยี นจดหมาย 1. ได้เขียนหรอื เล่าเรื่องราวที่บางคร้งั ไม่สามารถใชค้ ำพูดได้ แต่สามารถเขียนเป็นจดหมายได้ 2. ภาษาท่ใี ช้เขียนควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกับระดับบคุ คลและเขยี นใหถ้ กู ต้องตามรปู แบบ 3. การเขียนเรยี งลำดบั เรื่องและเหตกุ ารณ์ เปน็ การบนั ทกึ เรื่องราวและประสบการณ์ความทรงจำ 4. ส่ือสารได้ทกุ สถานทแ่ี ละทุกโอกาส ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ 5. ประหยัดค่าใช้จา่ ย สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๒๘

การเขียนคำขวญั คำขวัญ คือ ข้อความที่แต่งขึ้น เพื่อให้ข้อคิดและค่านิยมที่ดีงามเตือนใจให้ระลึกหรือปฏิบัติใน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือแสดงลักษณะพิเศษเฉาะองค์กรใดองค์กรหนึ่งอย่างไรก็ดีพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายที่กระชับไว้ว่า คำขวัญ คือ ถ้อยคำที่แต่งขึ้นเพือ่ เตือนใจ หรือเพ่อื ใหเ้ ป็นสิรมิ งคล หลกั การใชภ้ าษาในการเขยี นคำขวัญ 1. ใช้ถ้อยคำสั้น กะทัดรัด มีความหมายลกึ ซ้ึง ใช้คำตัง้ แต่ 2 คำขึ้นไป แต่ไม่ควรเกนิ 16 คำ แบ่งเปน็ วรรคไดต้ งั้ แต่ 1 - 4 วรรค เชน่ ห้องสมดุ ดุจขมุ คลงั แห่งปัญญา มารยาทงาม น้ำใจดี ทุกชวี ี จะปลอดภยั 2. เขียนให้ตรงจุดมุ่งหมาย แสดงความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเด่นชัด หรือมีใจความสำคัญเพียง อยา่ งเดียว เพ่ือให้จำง่าย เชน่ ขับรถถูกกฎ ช่วยลดอบุ ตั ิเหตุ ทิ้งขยะไม่เลือกที่ หมดราศที งั้ สถาบัน 3. จดั แบ่งจงั หวะคำสมำ่ เสมอ เชน่ ยอมลำบากเมือ่ หนมุ่ ดีกว่ากลมุ้ เม่อื แก่ ประเทศเป็นบา้ น ทหารเปน็ รั้ว 4. เลน่ คำท้ังเสียงและสัมผัสและการซำ้ คำ ชว่ ยให้จำง่าย เช่น เดก็ ดเี ปน็ ศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติเจริญ ขับเร็วชิดขวา ขับช้ำ ชดิ ซำ้ ย 5. เป็นคำตกั เตือนให้ปฏบิ ัติในทางทดี่ ี เช่น จงขยันหมน่ั อ่านเขียน จงพากเพยี รเถิดพวกเรา เมืองไทยจะรุ่งเรือง พลเมืองตอ้ งมีวินยั ๒๙ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ประโยชนข์ องการเขยี นคำขวญั - ช่วยประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรม ดว้ ยขอ้ ความส้นั ๆ - เพอื่ ใหข้ ้อคดิ เตือนสตใิ นการทำงานหรือการเรยี น - เพือ่ รณรงคก์ จิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่ือใหผ้ คู้ นได้ ตระหนกั ถึงกจิ กรรมนน้ั ๆ

การเขียนคำอวยพร คําอวยพร หมายถึง ข้อความแสดงความยินดีหรือความปรารถนาดีต่อผู้อื่นในโอกาสต่างๆ เช่น การถวายพระพร ขึ้นปีใหม่ วันเกิด วันแห่งความรัก สําเร็จการศึกษา เปิดกิจการ เลื่อนตําแหน่ง วันแต่งงาน ข้ึน บ้านใหม่ เกษยี ณอายุ การอวยพรให้หายเจบ็ ป่วย วนั สาํ คัญทางศาสนา เดินทางไกล เป็นต้น หลักการเขยี นคำอวยพร 1. เขียนใหส้ อดคล้องสัมพันธก์ นั ระหว่างผ้อู วยพร ผู้รบั พร โอกาส และสือ่ ที่ใช้อวยพร 2. การกลา่ วถงึ โอกาสท่ีอวยพร 3. การอวยพรผ้อู าวุโสควรการกลา่ วอ้างถึงสิ่งศักดส์ิ ิทธ์ิท่เี ป็นสากลหรอื สง่ิ ท่ผี ู้รบั พรเคารพนับถอื 4. ให้พรทเี่ หมาะสมกับผู้รบั พรและเป็นพรทส่ี รา้ งสรรคใ์ นดา้ นตา่ งๆ เช่น ความสุข หนา้ ที่การงาน การเงิน ความสําเรจ็ ความสมหวงั สุขภาพ อายยุ นื ยาว เป็นตน้ 5. ใช้ภาษาเขยี นทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสมโดยพยายามสรรหาคำท่ีไพเราะและมคี วามหมายดี การเขียนอวยพรผใู้ หญ่ สำหรับการเขียนอวยพรผู้ใหญ่ ซึ่งอาจรวมถงึ ญาติ ครูอาจารย์ เจ้านาย ฯลฯ ต้องใช้ภาษาที่เป็น ทางการสูง อาจมีการอ้างถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่บุคคลนั้นนับถือ และเน้นอวยพรเรื่องสุขภาพ อายุยืนและ ความสขุ ซ่งึ สามารถปรบั เปลย่ี นตามความเหมาะสมได้ ยกตวั อยา่ งเชน่ “ในวารดิถีขึ้นปีใหม่ ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย โปรดดลบันดาลให้คุณปู่ ประสบแตค่ วามสุข สขุ ภาพพลานามัยแขง็ แรง ปราศจากทุกขโ์ ศกโรคภัยท้งั ปวง...” สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๓๐

การเขยี นอวยพรเพอื่ น การเขียนอวยพรเพื่อนอาจไม่ต้องใช้ภาษาที่เป็นทางการหรือศัพท์มากมาย เราสามารถเขียนได้ อย่างอิสระ ไม่ว่าจะเป็นคำอวยพรสั้นๆ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ หรือจะเขียนเป็นข้อความยาวๆ พูด ถึงความทรงจำดีๆ สมัยก่อนก็ได้ การเขียนอวยพรถึงเพื่อนที่สนิทสนมไม่ต้องคำนึงถึงความเป็นทางการ มากนัก โอกาสที่เราสามารถเขียนอวยพรเพื่อนได้ก็เช่น วันจบการศึกษา งานแต่งงาน วันเกิด ฯลฯ ยกตวั อยา่ งเช่น “แฮปปเี้ บิรด์ เดย์เพอื่ นรกั ขอใหแ้ กมคี วามสุขมากๆ เรียนได้เกรดเอสมดังใจหวัง รกั เสมอแล้วไว้เจอกัน” การเขยี นอวยพรในโอกาสต่าง ๆ มีโอกาสสำคัญ ๆ มากมายที่เราสามารถเขียนอวยพรถึงกันได้ เช่น วันเกิด งานแต่งงาน วันขึ้นปี ใหม่ เขียนขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือ ฯลฯ ซึ่งเราเองก็ต้องเขียนข้อความให้เข้ากับโอกาสและบุคคล คนนั้นด้วย โดยเฉพาะคนที่สนิทมาก ๆ ไม่ควรเขียนข้อความอวยพรทั่ว ๆ ไป แต่ควรพูดถึงความรู้สึก และความทรงจำที่มรี ่วมกัน จะสามารถสร้างความประทับใจให้เขาไดม้ ากกว่า การเขียนอวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ มีโอกาสสำคัญ ๆ มากมายที่เราสามารถเขียนอวยพรถึงกันได้ เช่น วันเกิด งานแต่งงาน วันขึ้นปีใหม่ เขียนขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือ ฯลฯ ซึ่งเราเองก็ต้องเขียนข้อความให้เข้ากับโอกาสและบุคคล คนนั้นด้วย โดยเฉพาะคนที่สนิทมาก ๆ ไม่ควรเขียนข้อความอวยพรทั่ว ๆ ไป แต่ควรพูดถึง ความรสู้ ึกและความทรงจำท่มี ีรว่ มกนั จะสามารถสร้างความประทบั ใจให้เขาได้มากกว่า หากมีโอกาสได้เขียนอวยพรก็หวังว่าทุกคนจะนำสิ่งที่ได้ในบทความนี้ไปใช้ประโยชน์ในการเขียนไม่ มากก็น้อย แม้การเขียนคำอวยพรส่งให้แก่กันจะไม่เป็นที่นิยม แต่ถ้าเราได้เขียนด้วยตัวเองรับรองว่า ผู้รบั ก็คงประทับใจไมน่ อ้ ย ๓๑ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

การกรอกแบบรายการ การกรอกแบบรายการ หมายถงึ การเขียนกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ลงในเอกสารแบบรายการ เพื่อให้เอกสารนั้นสมบูรณ์ถูกต้องตรงตามจุดประสงค์ของผู้จัดทำแบบรายการในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน บางกรณีจำเป็นต้องสื่อสารกับผู้อื่นกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยการกรอกแบบ รายการหรือที่เรยี กท่ัวไปว่า การกรอกแบบฟอรม์ เพ่อื ขอใหด้ ำเนินการเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ เช่น การฝากเงนิ การถอนเงนิ การสมคั รเรยี นตอ่ การสมัครงาน เป็นต้น แบบรายการท่ีพบในชวี ิตประจำวนั แบง่ ออกเปน็ ๔ ประเภท ได้แก่ 1. แบบรายการที่ใช้ในการติดต่อกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น ใบสมัครงาน ใบฝากเงิน- ถอนเงิน ๒. แบบรายการท่ีผอู้ นื่ ขอความรว่ มมือให้กรอก เช่น แบบสอบถามความนยิ มของผบู้ รโิ ภค ๓. แบบรายการที่ใช้ภายในองค์กร เช่น ใบสมัครสมาชกิ ห้องสมุด แบบขออนญุ าตออกนอกพน้ื ท่ี ๔. แบบรายการสัญญา สญั ญาเปน็ เอกสารท่มี ีผลผกู พันทางกฎหมาย เชน่ สญั ญาใหเ้ ช่าอาคารสถานท่ี สญั ญาซือ้ ขาย การกรอกแบบรายการมแี นวปฏิบัตดิ ังน้ี 1. อ่านสำรวจเพ่ือทราบวา่ แบบรายการนั้นมีขอ้ มลู ใดทตี่ ้องการกรอกบ้าง 2. เขยี นขอ้ มูลทีละรายการจนครบ 3. สอบถามเจา้ หน้าที่ หากไม่เข้าใจการกรอกบางรายการ 4. อ่านทบทวนอกี ครงั้ วา่ กรอกแบบรายการถกู ตอ้ งครบถ้วนหรือไม่ 5. เม่ือกรอกข้อมูลสำคญั ผิดพลาด เช่น จำนวนเงิน อาจขีดฆ่าและเซน็ ชอ่ื กำกบั 6. ควรเขียนดว้ ยลายมอื ทอี่ ่านง่าย ใหข้ ้อมูลและภาษาทถ่ี กู ตอ้ ง รวมทัง้ ไมท่ ำใหแ้ บบ รายการเสียหาย เช่น ยบั ฉีกขาด มรี อยขดี ฆา่ ตัวอยา่ งแบบกรอกรายการใยถอนเงนิ และใบฝากเงิน สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๓๒

การเขียนโครงงาน โครงงานเปน็ งานเขียนทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ การร่วมกันคิด ร่วมกนั ท างาน และรว่ มกันรับผิดชอบ การเรียนรู้จากโครงงานเป็นการเรียนรู้จากการได้ลงมือปฏิบัติจริง ทดลองจริง จากสภาพจริงท่ี นักเรียนต้องประสบ ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการวางแผนงานและบรหิ ารจัดการให้สามารถด าเนิน งานทกุ ขน้ั ตอนให้ลลุ ว่ งไปด้วยความเรียบรอ้ ยเกิดผลสำเรจ็ ตามเป้าหมาย การเขียนเค้าโครงโครงงานควรประกอบไปดว้ ยส่วนสำคญั อยา่ งน้อย ๘ หวั ขอ้ ซ่งึ ทกุ หัวข้อผ้ทู ำโครงงาน ตอ้ งชว่ ยกนั คดิ และปรกึ ษาใหร้ อบคอบ พจิ ารณาทบทวนให้ดี ดงั นี้ ๑. วางทา่ ใ๑น.กชารื่อเขโคยี รนงใงหา้ถนูกตเ้อปง็นจสะิ่งทสาํ ำใหคเ้ัญขียปนรสะวกยารเขแยี รนกไดเ้นพารนาะแชลื่อะไโมค่เรสงยี กสาุขรภจาะพชด่วังยนโี้ยงความคิดไปยัง แลตวคะัตรวนงถาไ้วิุปมปกรสต๑้อะนรยส.๒ง๑ใงงม.จอคากจผอ์ขไาาู้รยมอรกับู่๑่ใงจใผหผกต.ับู๑ก้้อิาด้นดรช่.าวิ้า๑ินทนกอกสลบวผาใอมาชโูโ้ฟคงค้นังรริ้วงงสงชงาิ่างี้กนทนับี่กคกหาวาัวรรรตแคเั้ขงมชียา่มื่อนนือโชึงคื่อจรคผงับืองู้รดาับนินชผขื่สอิดออโชงคหอนรบรักงือโเงครปารียนางนกคงนากวนิยารมใเเขตหพีั้งย้วื่อชนาใื่อหงใใอห้ทหย้รก้มูา่บรีคบะนววชา่านมับโคกิ้วชะรกงทัดลงัดเาาจรงนนัดนสแั้นใ่วลชในะค้ภดนราึงเิ้วปษดน็นูดาาง ผ้รู ับผดิ ชอบและ๑ส.า๑ม.๒ารถจตับิดดตินาสมอไดห้ รือปากกา หลวม ๆ ปลายนิ้วห่างจากปลายดินสอหรือปากกาประมาณ ๙ นว้ิ ๓. ที่มาของโครงงานการ เขียนที่มาและความสำคัญของโครงงาน ผู้จัดทำโครงงานจำเป็นต้อง ศึกษาหลักการท๑ฤ.ษ๑ฎ.๓ีเกไี่ยมว่เกกรับ็งเนรื่อ้ิวงเวทลี่สานเขใจยี ศนึกษา ควรเขียนใหเ้ ข้าใจชัดเจนวา่ โครงงานนี้มเี หตผุ ลอะไรจงึ คดิ ทำ มีเห๑ต.จุ๒ูงใทจ่าอนะง่ัไรหากได้รับความสนบั สนนุ จากใครหรือจากแหล่งใดควรระบดุ ว้ ย ๔. จุดป๑ร.๒ะส.๑งคน์ขัง่ อตงวั กตารรงหทลำังโคไมรง่ องาหนรือกกา้มรกหำนห้านมดากจเุดกมินุ่งไหปมายปลายทางที่ต้องการ ข้อนี้สำคัญมาก ควรเขียนให้รัดก๑ุม.ว๒่า.ใ๒นกฝา่ รเท้าพแโตคะรพงงื้นาหนรนือ้ตี ทอ้ ี่วงกางาเรทใ้หา ้บโตรร๊ะลแุอละไเรกบ้าอ้างี้ควโดรมยกีขานราเดขเียหนมเาปะ็นกขับอ้ รๆ่างจกะายทขาอใงหนเ้ ขักา้เรใจียน โตงะ๊ า่ คยวแรมจม่ีขนแจาดง้ กแวล้าะงชพัดอเทจน่จี ะวางมอื และแขนได้ ๑.๕๓. กสามรมวตาิฐงาแนขขนองการศึกษา เป็นทักษะกระบวนการทางภาษาไทย ต้องให้ความสำคัญเพราะเป็น การกำหนดแนว๑ท.๓าง.๑ในวกาางรแอขอนกเแกบือบบแทนดบลลอํางตไดวั ้ชใัดหเข้จ้อนศแอลกะหรอ่างบลคาํ อตบวั ๖สมนมว้ิ ติฐาน คือ การคาดคะเนคำตอบ ของปญั หาอยา่ ง๑ม.ีห๓ล.๒ักแชล่วะงเแหขตนุผตลั้งตแาตม่ขห้อลศักอกกาลรงทไปฤคษวฎรีวราวงมอทยั้งู่บผนลโกตาะ๊ รศแึกละษวาาขงอเงปโค็นรมงุมกฉาารกทก่ีไดับ้ทขำอมบากแรละ้วดาษ กรอบก๑.๖า๔ก. ับกขวาอ่ราบวจเาขะงใตกหเรน้คะ้อืรดหอาบาษแคลละุมรเะนยื้อะหเวาลกาว้ากงาขรวทาำงโคเพรีงยงงาในดโคหรางกงราะนบทุวกุ ่าโคทรำงภงาานยจในะตรอ้ะงยวะาเงวขลอาบกเี่วขันตหไวร้เืปอกน็ ่ี สัปดาห์ได้ยิ่งดี ๓๓ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

๗. วธิ ดี ำเนนิ การ วธิ ีการดำเนินการ หมายถึง วธิ กี ารท่ชี ่วยใหง้ านบรรลุตามวัตถุประสงค์โครงงาน ตั้งแต่เริ่มเสนอโครงการจนกระทั่งสิ้นสุดโครงงาน ควรเขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานให้ชัดเจนเป็นขั้น ๆ ไป และแต่ละขั้นใช้เวลาเท่าไร ควรทำตารางการปฏิบัติงานแสดงด้วยหรือใช้ตารางสำเร็จรูปก็ได้ ซึ่งจะต้อง ประกอบไปด้วย - การคดิ หวั ขอ้ ปรกึ ษาครูทป่ี รกึ ษา - การคน้ คว้าหาข้อมลู ประกอบ - การสร้างเครื่องมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล - การเกบ็ รวบรวมข้อมูล - การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๘. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การคาดหวังถึงผลการดำเนินการตามโครงงาน เมื่อโครงงานสำเร็จแล้ว ข้อค นึง ไม่ควรเขียนอย่างเดียวกับจุดประสงค์ แต่อาจนำผลพลอยได้จากการทำ โครงงานมารวมไวใ้ นหวั ขอ้ นี้ ๙. เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อเอกสารที่น ามาอ้างอิงประกอบการทำโครงงานการ เรียนรู้จากโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่สนุกและมีความสุข สนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนได้ เป็นอย่างดี ช่วยฝึกกระบวนการทางความคิด ช่วยให้รู้จักทำและแก้ปัญหาด้วยตนเอง นับตั้งแต่การะดม ความแคบิดบเพอื่อักหษารหทัวใ่ี ขช้อฝโกึ คครดั งลงาานยมตอื ั้งชื่อโครงงาให้น่าสนใจ ไปจนถึงได้ดำเนินงานให้สำเร็จตามโครงงานท่ี กำหนดไว้ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๓๔

สาระการฟั ง การดู การพู ด

การตง้ั คำถามและ การตอบคำถาม การต้งั คำถามคอื อะไร ? การตั้งคำถาม เป็นการตั้งประเด็นหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดจากการอ่าน การดูการ สังเกตการฟังและการดูหรือการรับรู้ แล้วตั้งคำถามเป็นข้อหรืออาจตั้งเป็นประโยค ซึ่งการตั้งคำถามที่ดีควรเป็น คำถามที่มีเหตุผล เพ่ือใหผ้ ูฟ้ ังเกิดกระบวนการคดิ วิเคราะห์ และการแก้ปญั หา ลกั ษณะของคำถามเชิงเหตผุ ล คำถามที่ดีควรเป็นคำถามเชิงเหตุผลและคิดวิเคราะห์ มักใช้คำว่า “เพราะเหตุใด เพราะอะไร ทำไม อะไร อย่างไร สาเหตุใด” เพื่อเป็นการใช้ความคดิ อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล รู้จักวิเคราะห์ข้อความ และ คดิ หาหลกั ฐานและเหตุผลมาเขยี นประกอบ หลกั ทวั่ ไปของการตง้ั คำถามและตอบ คำถามจากการฟัง การดู และการอ่าน 1. ก่อนตั้งคำถาม เราควรตั้งใจฟัง ตั้งใจดู หรือตั้งใจอ่าน เพื่อทำความเข้าใจกับเรื่องนั้น ๆ 2. จดบันทึกระหว่างการฟัง การดู การอ่าน ในเรื่องที่สนใจหรือมีข้อสงสัย ได้แก่ “ใคร ทำอะไร ทีไ่ หน เมอ่ื ไร อย่างไร ผลเป็นอยา่ งไร” 3. จับใจความหรือประเดน็ สำคญั ของเรอ่ื งทีฟ่ งั ดู หรอื อา่ น ใหไ้ ด้ 4. ตงั้ คำถามท่ี ชดั เจนตรงประเดน็ ไม่กำกวม ใหเ้ หมาะสม ถูกกาลเทศะ 5. ใชภ้ าษาทส่ี ุภาพ เขา้ ใจง่าย และใชเ้ หตุผลมากกวา่ อารมณห์ รอื อคติ 6. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์รู้จกั คิดหลายแง่มุม เพ่อื จะได้คำถามทหี่ ลากแนวคดิ ๓๕ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

แนวการตัง้ คำถามเชิงเหตุผล ๑) กา1ร.ใชเรค้ ม่ิ าํ จทาํ กใหก้เาหรน็ต้ังภคาำพถแาลมะ“คทวาำมไมเคอละอ่ื ไนรไหเพวรอายะ่าเงหชตัดุใเดจ”น เช่น ๒. ในเร่ืองกไลก่า่ปวถา่ พงึ อาะฝไูงรมบาา้กงนิ ขา้ ว ๓. เร่ืองนีม้ จีคุด้ยุ ปเขรยี่ ะเสรง่ียครอ์ายยทา่ งง้ั ไดรนิ ดาน ของพระแมเ่ จ้าอยู่ฉาวฉาน ๔. ขอ้ เท็จจริงคอื อะไร และขอ้ คิดเหน็ คืออะไร มารดามาเหน็ จะรำ่ ไร ๕. ขอ้ ความนา่ เชอ่ื ถอื มากนอ้ ยเพยี งใด ๖. ข้อคิดหรือความร้ทู ่จี ะนำไปใช้ประโยชนค์ อื อะไร ตวั อยา่ งคำถามเชงิ เหตผุ ล - ตัวละครในเรอื่ งมนี สิ ยั อย่างไร นิสยั น้นั ส่งผลต่อชีวิตเขาหรอื ไม่ เพราะอะไร - เพราะเหตใุ ดเราตอ้ งประหยัดนำ้ ในหนา้ แล้ง - เพราะเหตุใดฝนจึงตกหนักในช่วงฤดูฝน - สาเหตทุ ่ีเราตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฎจราจรในการขับข่รี ถยนต์คืออะไร - ผลกระทบจากการเกิดโรคระบาดโควดิ 19 มอี ะไรบา้ ง เพราะอะไรจงึ เปน็ เชน่ น้ัน การตอบคำถามอธิบาย เหตุผล เป็นการเขยี นตอบทตี่ อ้ งใช้ความคิดอยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล ต้องรูจ้ กั วิเคราะห์ขอ้ ความ และคดิ หาเหตุผลมาเขียนประกอบ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๓๖

มารยาทการฟัง ดู และพดู มารยาทการพดู การฟงั การดู และการพูด เป็นการสอ่ื สารที่ใชใ้ นชีวติ ประจําวันมากท่ีสุด เพราะเรา ต้องฟังและดูสิ่งต่าง ๆ และพูดคุยกับผู้อื่น จึงต้องมีหลักเกณฑ์ และมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ส่ิง ต่าง ๆ ท่ีจะเกิดประโยชนต์ ่อตนเองและสังคมให้มากท่ีสดุ ” มารยาทในการฟงั และการดสู ื่อต่างๆ มารยาทในการฟงั และการดูสือ่ ตา่ ง ๆ ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑) เข้าฟังและดูให้ตรงเวลา หรือก่อนเวลาเล็กน้อย เพราะ ก่อนการบรรยายหรือดูส่ือ ผบู้ รรยายอาจจะมีขอ้ แนะนาํ บางอยา่ ง ๒) ตั้งใจฟงั และดู ไมพ่ ูดคุยกนั ในขณะท่ีฟงั และดู ๓) จดบันทึกสาระสําคญั ของเรื่องทีฟ่ ังและดู ๔) ซักถามขอ้ สงสัยเมอื่ จบการบรรยายหรือการดู ๕) ถา้ พอใจในสิ่งทฟ่ี งั หรือดูควรปรบมอื ใหผ้ ูพ้ ูดหรอื ผ้แู สดง ๖) รจู้ ักควบคมุ กริ ยิ ามารยาท ไมส่ ง่ เสยี งรบกวนผอู้ น่ื ไม่ลุก จากที่น่ังบอ่ ย ๆ ๗) ปดิ เคร่อื งมือสื่อสารทกุ ชนิดทจ่ี ะเป็นการรบกวนสมาธผิ อู้ ื่น การฟังและดูสื่อต่าง ๆ ร่วมกับบุคคลอื่น ผู้ฟังหรือผู้ดูควร ฝึกตนเองในด้านมารยาท เพราะถ้าไม่ ฝึกฝนอาจทํากริ ิยาอาการที่ เปน็ การรบกวนสมาธผิ ู้อ่นื ได้ ๓๗ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

มารยาทในการฟงั และการดูส่อื ตา่ งๆ มารยาทในการพูด ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑) คดิ ให้รอบคอบกอ่ นพดู ว่า ถ้อยคําที่จะพูดนั้นจะก่อใหเ้ กดิ ผลอย่างไร ๒) ไมพ่ ดู เสยี ดแทงใจผฟู้ งั แมว้ ่าจะเปน็ การหยอกล้อก็ตาม เพราะอาจทาํ ใหผ้ ู้ฟงั ไมส่ บายใจ ๓) หากมคี วามคิดเหน็ ไมต่ รงกนั ควรใชว้ ิธีท่ีสุภาพ เช่น ขอเสนอความคิดเหน็ ของตน ๔) มหี น้าตายมิ้ แยม้ แจม่ ใส พดู โดยใชถ้ อ้ ยคําสุภาพ ๕) ไมพ่ ดู อวดตน อวดภูมิ หรอื ข่มข่ผู อู้ น่ื ๖) ไม่ผูกขาดการพดู แต่เพียงคนเดียวในการพูดสนทนา ควร เปิดโอกาสให้ผูอ้ ื่นพูดบ้าง ยอมรับฟัง ความคิดเหน็ ของคนอ่ืน ๗) ถ้าจาํ เป็นต้องพดู ในขณะทผี่ ู้อน่ื ยงั พูดไมจ่ บ ควรยกมอื และกลา่ วคําขอโทษกอ่ น ๘) ถา้ นาํ คําของผอู้ ื่นมากลา่ ว ตอ้ งบอกนามของท่านผนู้ นั้ เพือ่ เปน็ การใหเ้ กยี รติ ในการพูดทุกครั้ง ผู้พูดควรถือเรื่องการรักษามารยาทโดย เคร่งครัด เพราะจะช่วยส่งเสริม ให้ผู้พูดเป็น บุคคลทนี่ ่านิยมนับถือ เป็นการสรา้ งเสนห่ ์ใหแ้ ก่ตนเอง และช่วยให้ประสบความสําเรจ็ ใน การพูดได้ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๓๘

สาระ หลั กการใช้ ภาษา

คำราชาศัพท์ คาํ ราชาศพั ท์ คือ ภาษาหรือถอ้ ยคาํ ท่กี าํ หนดข้ึนใช้ให้เหมาะสมกบั ระดับชั้นของบคุ คล ไมเ่ ฉพาะแต่ พระมหากษตั รยิ เ์ พียงเทา่ นน้ั แต่ยังรวมถงึ พระบรมวงศานุวงศ์ ตงั้ แต่ชน้ั หม่อมเจ้าลง มาถึงพระภิกษุสงฆ์ ขุนนาง หรอื ขา้ ราชการชนั้ ผู้ใหญ่ และสภุ าพชน ลักษณะของคาํ ราชาศัพท์ เป็นคําเฉพาะท่ีใช้สอื่ สารเฉพาะบคุ คล ซึ่งแสดงถึงวัฒนธรรม การใชภ้ าษาไทย เพราะ สงั คมไทยมีระดับบุคคลทตี่ ่างกนั การแบ่งลําดับชนั้ ของบคุ คลในการใช้คาํ ราชาศพั ท์ออกเป็น ๕ ระดบั ดงั นี้ ๑. พระมหากษตั รยิ ์ ๒. พระบรมวงศานวุ งศ์ ๓. พระสังฆราชเจา้ และพระสงฆ์ ๔. ขุนนางข้าราชการชั้นสงู ๕. สภุ าพชน คําราชาศัพท์ เป็นลักษณะการใช้ถ้อยคําที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมการใช้ภาษาของไทยที่ชัดเจนอันเป็นผล สืบเนื่องมาจากระบบและรูปแบบการปกครอง ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณะพิเศษ เพราะแจกแจงการใช้ ถ้อยคํา ตามระดับชนชั้นของบุคคล เพื่อให้ถูกต้องและเหมาะสมตามกาลเทศะ คําราชาศัพท์จึงเป็นเอกลักษณ์ ที่สําคัญยิ่ง ของชนชาวไทย เราคนไทยจึงมีความจําเป็นต้องใช้คําราชาศัพท์ได้ทั้งในการพูดและการเขียน ตลอดจนเข้าใจ ความหมายของคําราชาศพั ทท์ ง้ั ในการอา่ นและการฟงั เพอ่ื ให้การสือ่ สารมปี ระสิทธภิ าพ คำราชาศัพท์แบ่งได้ 6 หมวด คอื 1. หมวดรา่ งกาย 2. หมวดเครอื ญาติ 3. หมวดเครื่องใช้ 4. หมวดกริยา 5. หมวดสรรพนาม 6. หมวดคำทใี่ ช้กบั พระสงฆ์ ๓๙ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

ตวั อย่างคำราชาศพั ทหมวดรา่ งกาย ตัวอย่างคำราชาศพั ท์หมวดเครือญาติ ฉนั เรยี นท่ีโรงเรยี นวเิ ชียรชม (ฉัน บรุ ษุ ท่ี ๑) เธอเข้าใจบทเรยี นนไ้ี หม (เธอ บุรุษท่ี ๒) สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๔๐

ตัวอย่างคำราชาศพั ทห์ มวดเครอื่ งใช้ ตวั อยา่ งคำราชาศัพทหมวดกรยิ า ๔๑ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒

ตัวอยา่ งคำราชาศัพท์หมวดสรรพนาม ตวั อย่างคำราชาศพั ทห์ มวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๔๒

ข้อสงั เกต เกีย่ วกับการใช้คำราชาศัพท์ ระดับพระมหากษตั ริยแ์ ละบรมวงศานวุ งศค์ ำนาม 1. ใช้คำ “พระบรม” หรอื “พระบรมราช” นำหน้าคำนามทีส่ ำคญั ซง่ึ สมควรจะ เชิดชูใหเ้ ปน็ เกียรติ ตัวอยา่ ง พระบรมราชโองการ พระบรมราชูปถัมภ์ 2. ใช้คำ “พระราช” นำหนา้ คำนามทใ่ี ช้เฉพาะพระมหากษตั รยิ ์ซึ่งตอ้ งการกลา่ ว ไม่ให้ปนกบั พระบรมวงศานวุ งศ์ ตวั อยา่ ง พระราชดำริ พระราชทรพั ย์ 3. ใชค้ ำ “พระ” นำหน้าคำนามท่ัวไปเพอื่ ให้แตกตา่ งจากสามญั ชน ตวั อยา่ ง พระเกา้ อี้ พระโรค พระตำหนัก พระชะตา กรยิ า คำวา่ “ทรง” คำวา่ ทรง ทรง ตามดว้ ย คำนาม มีความหมายถงึ กษัตรยิ ์ เทพเจ้า ตวั อยา่ ง ทรงโค หมายถึง พระอศิ วร ทรงครฑุ หมายถงึ พระนารายณ์ คำวา่ ทรง คำนาม ตามดว้ ย ทรง บอกใหท้ ราบว่า สงิ่ นนั้ เป็นของพระมหากษตั รยิ ์ หรอื พระ บรมวงศานวุ งศ์ ตัวอย่าง เคร่อื งทรง รถพระทนี่ ัง่ ทรง ม้าทรง คำว่าทรงตามดว้ ยนามราชาศพั ท์ ตัวอยา่ ง ทรงยนิ ดี ทรงฟงั ทรงนง่ิ คำว่าทรงหมายถึงทำ ตัวอยา่ ง ทรงบาตร หมายถงึ ใสบ่ าตร ทรงมา้ หมายถงึ ขี่ม้า คำว่าทรงเมื่อใชก้ บั กรยิ า “ม”ี และ “เป็น” ชายคนนน้ั เปน็ คนตา่ งชาติ • ถา้ คำนามขา้ งหนา้ เปน็ ราชาศัพท์ ไม่ตอ้ งใช้ทรง อาคารนี้ทาสเี ทา ตวั อย่าง เปน็ พระราชโอรส มีพระบรมราชโองการ • ถา้ คำนามขา้ งหลังเป็นคำสามัญ ต้องใชท้ รง ตวั อยา่ ง ทรงเปน็ ประธาน ทรงมที ุกข์ ๔๓ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒

ภาษาพูด-ภาษาเขียน ภาษาพูด หมายถึง ภาษาทใี่ ชส้ ่ือสารดว้ ยเสียง มลี ักษณะใช้ในการพูดสนทนาท่ัวไป ภาษาพูดของไทยมี ลักษณะเด่น ได้แก่ ๑. การพูดซำ้ เช่น นงิ่ ๆ เฉย ๆ หนงั สือหนังหา หลายส่ิงหลายอยา่ ง ๒. ใช้คำทีไ่ มช่ ดั เจน เชน่ อะไรต่ออะไร อะไรพวกน้ี ๓. ใช้คำลงท้าย เช่น ครับ คะ่ ๔. ใชป้ ระโยคที่ไมม่ ีประธาน เช่น ทำเสร็จแล้ว นึกวา่ ไมม่ า ๕. ใช้ประโยคทไี่ ม่มีกรยิ า เชน่ วันนว้ี นั จนั ทร์ คนนน้ั เพอื่ นฉนั ภาษาเขยี น หมายถึง ภาษาเขยี นใช้สือ่ สารโดยลายลักษณอ์ ักษร เขียนบรรยายหรอื พรรณนาทลี่ ักษณะ เคร่งครัดในหลักทางภาษา เรียกว่า ภาษาแบบแผน ความแตกต่างระหว่างภาษาพดู กับภาษาเขียน การทีจ่ ะตัดสินว่าคำใดเปน็ ภาษาพูด คำใดเป็นภาษาเขยี น ขน้ึ อยูก่ บั กาลเทศะในการใชค้ ำน้ัน บางคำ ใชเ้ ป็นภาษาเขียนอยา่ งเดียว บางคำใชพ้ ดู อย่างเดยี ว แต่บางคำอาจเป็นทงั้ ภาษาพดู และภาษาเขยี นกไ็ ด้ความ แตกตา่ งระหว่างภาษาพดู กบั ภาษาเขียนมี ดังนี้ ๑. ภาษาเขียนไม่ใช้ถอ้ ยคำหลายคำทเ่ี ราใชใ้ นภาษาพูดเท่านัน้ เช่น เยอะแยะ โอ้โฮ ๒. ภาษาเขยี นไมม่ ีสำนวนเปรยี บเทียบ เช่น ชกั ดาบ พลกิ ล็อก โดดรม่ ๓. ภาษาเขียนมกี ารเรียบเรยี งถ้อยคำท่สี ละสลวยชดั เจน สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๔๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook