Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการของการจัดการศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช

พัฒนาการของการจัดการศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Published by nidnoii.k, 2022-06-10 07:56:10

Description: พัฒนาการของการจัดการศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 8 การจัดการศึกษา เรอ่ื ง พัฒนาการของการจดั การศึกษา ในจังหวัดนครศรธี รรมราช สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษานครศรีธรรมราช สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คานา หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) นี้ จัดทำขึน้ เพื่อ ประกอบกำรเรียนกำร สอน\"หลักสูตรนครศรีธรรมรำชศึกษำ“ ผู้จัดทำได้รวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกบั ประวตั ิศำสตร์กำรศึกษำของจงั หวดั นครศรีธรรมรำช พร้อมท้ังแหล่งเรียนรู้ ในท้องถน่ิ เพือ่ ให้นักเรียนไดม้ คี วำมรู้ควำมเข้ำใจในเนื้อหำมำกย่งิ ขนี้ คณะผู้จดั ทำหวงั เปน็ อย่ำงยิ่งวำ่ จะเป็นประโยชน์แกน่ ักเรียนและผู้สนใจ ได้ไมม่ ำกกน็ ้อย สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

สารบัญ 1 ยคุ การศึกษาสมัยโบราณ 2 ยุคปฏิรปู การศึกษาแบบแผนใหม่ 3 ยคุ สมัยหลังการเปลีย่ นแปลงการ ปกครอง พ.ศ. 2475 4 ตวั อยา่ งการเปลี่ยนแปลงของสถานศกึ ษา ในจังหวัดนครศรธี รรมราช สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

หน่ว1ยที่ พฒั นาการของการจัดการศึกษาใน จังหวัดนครศรธี รรมราช 1 ยุคการศึกษาสมยั โบราณ กำรจัดกำรศึกษำของจังหวัดนครศรีธรรมรำชมีพัฒนำกำรมำต้ังแต่สมัยโบรำณ เรื่อยมำจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ด้วยควำมเชื่อที่ว่ำกำรศึกษำจะสำมำรถกำหนดทิศทำงของ มนุษย์ เพื่อพัฒนำศักยภำพให้มีควำมพร้อมที่จะเป็นกำลังสำคัญสำหรับกำรพัฒนำ ประเทศชำติให้เจริญก้ำวหน้ำ ซ่ึงในอดีตนั้น สันนิษฐำนว่ำจังหวัดนครศรีธรรมรำชได้มีกำร จดั กำรศกึ ษำ 3 รูปแบบ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 การศึกษาวิชาชีพ ผู้ชำยเรียนวิชำช่ำงที่จำเป็นในกำรดำรงชีวิต ผู้หญิงเรียนวิชำงำนบ้ำนงำนเรือน นอกจำกนี้ยังมี งำนช่ำงถม ซึ่งเชื่อว่ำได้รับควำมรู้มำจำกชำวโปรตุเกสที่เข้ำมำติดต่อค้ำขำยกับชำวเมือง นครศรีธรรมรำชในรัชสมัยของสมเด็จพระรำมำธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยำ บ้ำงก็เชื่อว่ำชำว นครศรีธรรมรำชได้ประดิษฐ์สร้ำงสรรค์รูปแบบและคิดค้นเทคนิคกำรทำถมขึ้นเอง เพื่อใช้สอยกันใน ครวั เรือนหรือในชีวิตประจำวนั จำกน้ันจึงไดพ้ ฒั นำฝีมือจนกลำยเป็นเอกลกั ษณ์ประจำถิ่น 1.2 การศึกษาวิชาหนังสอื เรยี น มุ่งเน้นเฉพำะผู้ชำย เนื่องจำกต้องอำศัยพื้นที่วัดเป็นสถำนที่เรียน โดยมีพระสงฆ์เป็นครู เช่น วัด ท่ำโพธ์ิ และวัดตำมตำบลต่ำง ๆ ซึ่งมีกำรเขยี นตำรับตำรำลงในสมุดข่อยหรือหนงั สอื บดุ 1.3 การศกึ ษาวชิ าการดารงชีวิต นับเป็นกำรศึกษำอบรมทำงอ้อม โดยมีกลุ่มครอบครัว กลุ่มญำติ กลุ่มเพื่อน และกลุ่มอำชีพ ซึ่ง เม่อื มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคม จึงจำเป็นต้องเรียนรู้กำรดำรงชีวิต ทั้งในด้ำนกำรประพฤติปฏิบัติตนตำม จำรีตประเพณี วิถีประชำ กฎหมำย และศำสนำ กำรทำเครื่องถมในอดีต สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

2 ยคุ ปฏิรปู การศกึ ษาแบบแผนใหม่ หำกกล่ำวถึงกำรศึกษำแบบแผนใหม่ในประเทศไทย ก็คงต้องขอย้อนกลับไปมองถึงควำม เปล่ยี นแปลงทีม่ ำพร้อมกับลัทธิจักรวรรดินิยม ทำใหผ้ ู้นำของแต่ละประเทศต้องปรับปรุงประเทศในด้ำน ต่ำง ๆ อย่ำงเร่งด่วน ซึ่งพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลที่ 4) ได้ทำกำรติดต่อกับชำติ ตะวันตกอย่ำงกว้ำงขวำง อันเป็นผลมำจำกกำรทำสนธิสัญญำเบำว์ริง ในปี พ.ศ. 2398 และเนื่องด้วย พระองค์ทรงสนพระทัยในภำษำอังกฤษเป็นพิเศษ จึงต้องกำรปรับเปล่ียนนโยบำยกำรบริหำรบ้ำนเมือง โดยจ้ำงชำวต่ำงชำติมำเป็นครูสอนภำษำในพระรำชโอรสและพระรำชธิดำ โดยจัดตั้งโรงเรียนขึ้น ณ พระบรมมหำรำชวัง ต่อมำพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลที่ 5) มีพระรำชดำริทรงปฏิรูป กำรศึกษำ เพื่อผลิตคนเข้ำรับรำชกำร และเพิ่มพูนควำมรู้แก่รำษฎร จึงได้มีกำรจัดตั้งโรงเรียนทหำร มหำดเล็กขึ้นในปี พ.ศ. 2424 พร้อมจัดตั้งโรงเรียนสำหรับรำษฎรขึ้นเป็นครั้งแรกที่วัดมหรรณพำรำม กรงุ เทพมหำนคร ในปี พ.ศ. 2427 จำกน้ันจึงได้มกี ำรจัดตั้งโรงเรียนในมณฑลต่ำง ๆ จดุ เร่มิ ตน้ ของการศกึ ษาแบบแผนใหม่ในเมอื งนครศรีธรรมราช เมืองนครศรีธรรมรำชในสมัยรัชกำลที่ 5 เป็นส่วนหนึ่งของมณฑลนครศรีธรรมรำช ร่วมกับ เมืองสงขลำและเมืองพัทลุง ซึ่งพระยำสุขุมนัยวินิต (ปั้น สุขุม) สมุหเทศำภิบำลมณฑล นครศรีธรรมรำชได้มีตรำคำสั่งถึงกรมกำรอำเภอทุกแห่งในมณฑลนครศรีธรรมรำชให้ร่วมกัน อดุ หนุนกำรศึกษำทกุ ตำบลและ จัดกำรเรี่ยไรรำษฎรตลอด ถึงผู้ว่ำรำชกำรเมืองให้ช่วยออกทุนเพื่ออุดหนุน โรงเรียนตำมควรแก่กำลงั เมอื งนครศรีธรรมรำชนับเป็นเมืองแรกในมณฑลนครศรีธรรมรำชที่ได้ มีกำร ปรับปรุงระบบกำรศึกษำเข้ำสู่ระบบใหม่ ซึ่งพระศิริธรรมมุนี เจ้ำคณะ และ ผู้อำนวยกำรศึกษำมณฑลนครศรีธรรมรำช ได้ดำเนินกำรโดยจัดประชุม พระสงฆ์ และข้ำรำชกำร จำกนั้นจึงออกเดินทำงไปตำมอำเภอและตำบลต่ำง ๆ เพื่อตรวจดู พระศิรธิ รรมมนุ ี พืน้ ทีแ่ ละเตรียมจัดตั้งโรงเรียน (มว่ ง รตนทธฺ โช) สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

โรงเรียนในยคุ แรกเรมิ่ 1) โรงเรียนสขุ ุมาภิบาล ในปี พ.ศ. 2436 โรงเรียนวัดท่ำโพธิ์ ได้แบ่งออกเป็น 2 คณะ คือ โรงเรียนวิทยำภิพัฑฒนำไลย สำหรับเรียนหนังสือ ไทยตำมแบบหลวง และโรงเรียนปะริยัตลำไลย สำหรับ เรียนหนังสือบำลีไวยำกรณ์ตำมแบบเรียน ซึ่งพระเจ้ำน้อง 6 ยำเธอ กรมหมืน่ วชิรญำณวรโรรส ทรงนิพนธ์ ต่อมำในปี พ.ศ. 2442 โรงเรียนวดั ท่ำโพธ์ไิ ด้ยกฐำนะมำเป็นโรงเรียนหลวงชื่อ “โรงเรียนสุขุมำภิบำล” มี พระมหำไว ป.เอก และพระจอน เป็นอำจำรย์ พระยำสขุ มุ นยั วินิตเปน็ ผู้อุปถัมภ์ ต่อมำเปล่ียนชื่อมำเป็น โรงเรียนศรีธรรมรำช โดยมีควำมประสงค์จะให้เป็นโรงเรียนประจำจังหวัด จนกระท่ัง พ.ศ. 2456 ได้ เปลี่ยนชื่อมำเป็น “โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ” 2) โรงเรียนราษฎรผ์ ดุงวิทยา รำษฎรในพนื้ ที่ช่วยกันเรี่ยไรออกทนุ จัดตั้งโรงเรียนขนึ้ ทีว่ ดั พระนคร อำเภอกลำง (หมำยถึงอำเภอเมือง นครศรีธรรมรำชในปัจจุบนั ) มีพระครกู ำชำดเปน็ ผู้จัดกำร พระทอง พระเผือก และพระบึ้ง มำศึกษำที่ โรงเรียนวัดท่ำโพธ์เิ พอ่ื นำควำมรู้มำเปน็ อำจำรย์ 3) โรงเรียนกระเษตราภิสิจน์ โรงเรียนเกษตรำภิสิจน์ใช้พื้นที่ในวัดร่อนนอกใกล้ที่ว่ำกำรอำเภอร่อนพิบูลย์เป็นที่ทำกำรสอน มีขุน กระเษตรพำหนะเปน็ ผู้อุปถมั ภ์ สันนิษฐำนว่ำคือโรงเรียนวดั พิศำลนฤมิตในปัจจบุ ัน 4) โรงเรียนนิตยาภิรมย์ โรงเรียนนิตยำภิรมย์ใช้พืน้ ทีใ่ นวัดโคกหม้อ อำเภอทุ่งสง เป็นที่ทำกำรสอน นำยเที่ยง กรมกำรอำเภอเป็นผู้อุปถัมภ์ ปัจจบุ ันคือโรงเรียนเทศบำลวัดชยั ชุมพล นบั เป็นโรงเรียนแหง่ แรกของอำเภอทุ่งสง ซึง่ ไดย้ ้ำยมำตั้งในสถำนทีป่ จั จบุ นั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2463 สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

โรงเรียนในยคุ แรกเรมิ่ 5) โรงเรียนวิทยาคมนาคะวงษ์ โรงเรียนวิทยำคมนำคะวงษ์ใช้พื้นที่ในวัดวังม่วง อำเภอฉวำงเป็นที่ทำกำรสอน มีพระทองเป็น อำจำรย์ นำยนำค กรมกำรอำเภอเป็นผู้อุปถัมภ์ 6) โรงเรียนไพบลู ยบ์ ารุง โรงเรียนไพบลู ย์บำรงุ ใช้พืน้ ที่ในวัดเสำธงทอง อำเภอเบี้ยซัด (อำเภอ ปำกพนังในปัจจุบัน) เป็นที่ทำกำรสอน มีพระช่วยและ พระจันเป็น อำจำรย์ หลวงพิบูลย์สมบัตินำยอำเภอเบี้ยซัด นำยผันผู้พิพำกษำ ศำลแขวงเบี้ยซัด และพระทองเจ้ำอธิกำรวัดเสำธงทอง เป็นผู้ อุปถมั ภ์ นกั เรียนประมำณ 21 คน ปัจจบุ ันโรงเรียนไพบลู ย์บำรุงก็คือ โรงเรียนปำกพนงั 7) โรงเรียนวฑั ฒนานุกูล โรงเรียนวัฑฒนำนุกูลใช้พื้นที่ในวัดหมำย อำเภอกลำย (อำเภอท่ำศำลำในปัจจุบัน) เป็นที่ทำกำร สอน มีนำยแก้วพนักงำนเก็บเงินค่ำนำ เป็นอำจำรย์ นำยเจริญ (หลวงนิวำศวัฑฒนกิจ) กรมกำร อำเภอ เป็นผู้อปุ ถัมภ์ นักเรียนประมำณ 25 คน 8) โรงเรียนอุบลวิหาร โรงเรียนอุบลวิหำรใช้พื้นที่ในวัดใหม่ อำเภอสิชลเป็นที่ทำกำรสอน มีพระแก้วเป็นอำจำรย์ นำยบัว กรมกำรอำเภอเป็นผู้อุปถัมภ์ สันนิษฐำนว่ำคือโรงเรียนวัดประทุมทำยกำรำม (รัตนคุณำประชำ นสุ รณ์) ในปัจจุบนั 9) โรงเรียนทัศนาคารสโมสร โรงเรียนทัศนำคำรสโมสรใช้พืน้ ทีใ่ นวัดเขำน้อย อำเภอสิชลเป็นที่ทำกำรสอน มีพระสงฆ์เจ้ำอธิกำร เป็นอำจำรย์ นำยทัด บิดำของพระวิเศษอักษรสำร เป็นผู้อุปถัมภ์ ต่อมำปี พ.ศ. 2446 ได้ย้ำย มำยังวัดเสำเภำ สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

โรงเรียนในยุคแรกเรมิ่ 10) โรงเรียนบรรจงอนุกิตย์ โรงเรียนบรรจงอนุกิตย์ใช้พ้ืนทีใ่ นวัดสำพันธ์ (สำมพัน?) อำเภอพระแสง มีพระอธิกำรหนูเป็นอำจำรย์ ขนุ บรรจงสำรำเป็นผู้อุปถมั ภ์ ปจั จบุ ันคือโรงเรียนวดั สำมพัน 11) โรงเรียนน้อยประดิษฐผ์ ดงุ ผล โรงเรียนน้อยประดิษฐ์ผดุงผลใช้พื้นที่ในวัดบ้ำนนำ อำเภอลำพูนเป็นที่ทำกำรสอน นำยน้อย กรมกำร อำเภอเป็นผู้อุปถัมภ์ ภำยหลงั ไดม้ ีกำรจัดต้ังโรงเรียนอกี มำกมำยหลำยแห่ง ไม่ว่ำจะเป็นโรงเรียนวัดสวนป่ำน โรงเรียน วัดหน้ำรำหู โรงเรียนวัดเพชรจริก โรงเรียนวดั เสมำเมือง โรงเรียนวัดใหญ่ โรงเรียนวัดศรีมงคล อำเภอ เมือง โรงเรียนจักรำนุกูล วัดป่ำกิ่ว อำเภอพรหมคีรี โรงเรียนพิศำลนฤมิตร์ โรงเรียนวัดร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ โรงเรียนวัดนำควำรี (หูล่อง) โรงเรียนวัดบำงพระ โรงเรียนปำกแพรก อำเภอปำก พนัง โรงเรียนวัดท่ำซอม อำเภอหัวไทร โรงโรงเรียนวัดท่ำสูง อำเภอท่ำศำลำ โรงเรียนวัดเสำเภำ อำเภอสิชล ตลอดจนโรงเรียนของพวกมิชชันนำรี ดังน้ันจะเห็นได้ว่ำแม้กำรศึกษำจะใช้ระเบียบแบบ แผนใหม่ แต่กำรจัดกำรเรียนกำรสอนยังคงมีควำมสัมพันธ์กับวัด (หรือสถำนที่ทำงศำสนำ) อันเป็น ศูนย์กลำงของชุมชน ณ เวลำนั้น บำงแห่งชื่อโรงเรียนอำจถูกปรับเปลี่ยน บำงแห่งถูกยกเลิก และบำง แห่งดำเนินกำรสอนเรอ่ื ยมำจนกระท่งั ถึงปจั จบุ ัน นับเปน็ เรื่องปกติของกำรเปลย่ี นแปลง ระดบั ช้ัน กำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนมูลสำมัญในช่วงปี พ.ศ. 2435 น้ันมีกำรเรียนวันละ 5 ช่ัวโมง โดย แบ่งออกเป็น 2 ระดบั ชั้น คือ (1) โรงเรียนมูลสำมัญชั้นต่ำ มีกำหนด 3 ปี เรียนวิชำธรรม อ่ำน เขียน แต่งข้อควำมไวยำกรณ์ และเลขวิธี (2) โรงเรียนมูลสำมัญช้ันสงู มีกำหนด 4 ปี เรียนวิชำธรรม อ่ำน เขียน แต่งขอ้ ควำม ไวยำกรณ์ เลขวิธี ภมู ิศำสตร์ พงศำวดำร วิทยำกร เขยี นรปู ภำพ ขับร้อง ภำษำอังกฤษ และกำรค้ำขำย สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

โรงเรียนในยคุ แรกเรมิ่ แบบเรียน โรงเรียนบรรจงอนุกิตย์ใช้พื้นที่ในวัดสำพันธ์ (สำมพัน?) อำเภอพระแสง มีพระอธิกำรหนูเป็น อำจำรย์ ขนุ บรรจงสำรำเปน็ ผู้อปุ ถมั ภ์ ปัจจุบันคือโรงเรียนวัดสำมพัน หลกั สตู รการเรยี นการสอนประกอบด้วย 4 เรอ่ื ง คือ (1) กำรอ่ำนและเขียนหนังสือ โดยใช้แบบเรียนเร็ว จำนวน 3 เล่ม เน้นเรื่อง พยัญชนะ มำตรำกะ กำ กำรควบกล้ำ กำรผันอักษร (สูง กลำง ต่ำ) ซึ่ง แบบเรียน เรว็ ถกู จดั ทำขนึ้ เพื่อแก้ไขปญั หำควำมลำ่ ช้ำของกำรเรียนกำรสอน (2) กำรคิดเลข บวก ลบ คูณ หำร และทำบัญชีง่ำย ๆ โดยใช้แบบเรียนเลข วิธี (3) กำรเลีย้ งชีพ เน้นเรือ่ งกำรดำรงชีวิต และกำรรกั ษำสขุ ภำพอนำมัย (4) ควำมรู้ด้ำนจริยธรรม เน้นเรื่องกำรอยู่รร่วมกันในสังคม กำรประพฤติปฏิบัติตนในสังคม และ ควำมรกั ชำติบ้ำนเมอื ง การสอบไล่ กำรสอบไล่มีควำมคล้ำยกับกำรสอบเล่ือนช้ันในยุคปัจจุบัน โดยในอดีตน้ันกำรสอบไล่ควำมรู้ ตำมชั้นเรียนในแบบเรียนท้ัง 6 เล่ม ประกอบด้วย 2 วิชำหลัก คือ (1) วิชำภำษำไทย ได้แก่ มูลบท บรรพกิจ, วำหนิติ์นิกร (ผันอักษรนำ), อักษรประโยค (อักษรควบกล้ำ), สังโยคภิธำน (ตัวสะกดใน มำตรำต่ำง ๆ ), ไวพจน์พิจำรณ์ (คำพ้องรูปพ้องเสียง), พิศำลกำรันต์ (ตัวกำรันต์ ภำษำบำลีและ สันสกฤต) (2) วิชำโลก ชีวทศั น์และวิทยำกำร ไดแ้ ก่ กฎธรรมชำติ วิชำเลข และภมู ศิ ำสตร์ ดำเนินกำรสอบปีละครั้ง ตำมแขวงอำเภอ ในช่วงฤดูฝน โดยแยกสอบเป็นเรื่อง ๆ หำกสอบครบ หลักสูตร 4 เรื่อง จะได้รับประกำศนียบัตร ซึ่งผู้อำนวยกำรศึกษำมณฑล ข้ำหลวงเทศำภิบำล กรมกำรหัวเมอื ง และพระสงฆ์มหี น้ำที่ในกำรดแู ล สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

โรงเรียนในยคุ แรกเรมิ่ การศึกษาสายอาชีพ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2456 พระศิริธรรมมุนีได้จัดตั้ง “โรงเรียนช่ำงถม” ขึ้น ทีว่ ดั ท่ำโพธ์ิ เปิดสอนวิชำช่ำงถมหลักสูตร 3 ปี ต่อมำในปี พ.ศ. 2461- 2464 ได้รวมเข้ำกับ โรงเรียนเบญจมรำชูทิศ โดยในปี พ.ศ. 2463 เปล่ียนชื่อเป็นปฐมบริบูรณ์ เปิดสอนวิชำช่ำงถม หลักสูตร 3 ปี เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ก่ อ น จ ะ เ ป ล่ี ย น ม ำ เ ป็ น วิ ท ย ำ ลั ย ศิ ล ป หั ต ถ ก ร ร ม นครศรีธรรมรำชในปจั จบุ นั โรงเรียนฝึกหดั ครู หลำยคนมักเข้ำใจว่ำโรงเรียนฝึกหัดครูนครศรีธรรมรำชเพิ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 แต่ทว่ำ กลับมีประวัติมำก่อนหน้ำ กล่ำวคือ พระศิริธรรมมุนี ต้องกำรจะหำครูเพื่อสอนนักเรียน และเพื่อช่วย ประหยดั เงินของรฐั บำลซ่งึ จำกเดิมต้องส่งครไู ปฝึกหดั ที่กรงุ เทพมหำนคร ดังนั้นในปี พ.ศ. 2447 เจ้ำคุณ พระยำวิสุทธิสุริยศักด์ิ อธิบดีกรมศึกษำธิกำร ได้ส่งนำยอดุง ข้ำหลวงธรรมกำร และนำยเสำร์ ไปเป็น ครชู ั้นประกำศนียบตั ร ประจำมณฑลนครศรีธรรมรำช รวมทั้งตรวจดูงำนในโรงเรียนทั่วไป และแนะนำ ครูให้สอนตำมระเบียบของกรมศึกษำธิกำร จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2448 พระศิริธรรมมุนีได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูขึ้นที่วัดท่ำโพธิ์ อำศัยกุฏิ พระเป็นสถำนที่เล่ำเรียนชว่ั ครำว นกั เรียนครฝู ึกหัดที่สอบไล่ผ่ำนจะได้รับเงินเดือน ๆ ละ 20 บำท เพื่อ เปน็ ค่ำตอบแทนควำมอุตสำหะ แต่ต่อมำโรงเรียนฝึกหดั ครูนครศรีธรรมรำชน่ำจะถูกละเลย และมีกำร จัดต้ังโรงเรียนฝึกหัดครูมณฑลนครศรีธรรมรำชขึ้นที่เมืองสงขลำ ก่อนกำรปฏิวัติเปล่ียนแปลงกำร ปกครองไม่กี่ปี และนำมำสู่กำรตั้งกะทู้ถำมเพื่อจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูนครศรีธรรมรำชขึ้นอีกคร้ังใน ระยะเวลำต่อมำ งบประมาณมาจากไหน? งบประมำณในกำรจัดต้ังโรงเรียนส่วนใหญ่ได้รับควำมร่วมมือจำกกรมอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน เจำ้ อธกิ ำรวดั ตลอดจนรำษฎรที่เห็นควำมสำคัญของกำรจัดตั้งโรงเรียน ซึ่งในระยะหลัง เริม่ มงี บประมำณสนับสนุนทำงกำรศึกษำจำกส่วนกลำง โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งจำกกระทรวงธรรมกำร (ปัจจบุ ันคือกระทรวงศึกษำธิกำร) สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

โรงเรียนในยุคแรกเรมิ่ ปญั หาของการจัดการศึกษา ปญั หาของการจดั การศึกษาในยุคน้ี ประกอบด้วย 1) ขำดผู้ที่สำมำรถตำมแบบหลวง จำเป็นต้องคัดเลือกพระเณรมำศึกษำที่วัดท่ำโพธิ์ แต่ไม่ เพียงพอ จึงมีกำรจัดต้ังโรงเรียนฝึกหดั ครูเมอื งนครศรีธรรมรำชข้ึน 2) พระ เณร และรำษฎรส่วนใหญ่ในเมอื งนครศรีธรรมรำชมีควำมพอใจต่อกำรศึกษำภำษำมคธ มำกกว่ำภำษำไทย ทำให้พระศิริธรรมมุนีต้องใช้วิธีกำรขั้นเด็ดขำด กล่ำวคือ หำกใครไม่เรียนหนังสือ ไทยให้ได้ประโยชน์ช้ันต้นเสียก่อนก็จะไม่ยอมให้เรียนภำษำมคธ แต่ยังพบบำงแห่งยังคงมีกำรเรียน ภำษำมคธ เช่น วดั บูรณำรำม วัดวงั ตะวันตก และวดั จนั ทำรำม 3) รำษฎรไมค่ ่อยให้กำรสนบั สนุนแก่กำรศึกษำ จะมีกแ็ ต่เพยี งข้ำรำชกำร 4) รำษฎรส่วนใหญ่ไม่เห็นถึงคุณค่ำของกำรศึกษำ เนื่องจำกยังมองไม่เห็นประโยชน์ของ กำรศึกษำต่อชีวิตประจำวนั ซึง่ สว่ นใหญต่ ้องประกอบอำชีพเกษตรกรรม โรงเรียนประชาบาล พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลที่ 6) ทรงมีพระรำชดำริด้ำนบริหำรจัดกำร ด้ำนกำรศึกษำ หรือกำรสืบสำนกำรปฏิรูปกำรศึกษำต่อจำกพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ เจำ้ อยู่หวั (รชั กำลที่ 5) โดยมีต้นแบบกำรจัดกำรศึกษำที่โดดเด่นคือ กำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติ ประถมศึกษำ พ.ศ. 2464 ซึง่ เปน็ กำรศึกษำภำคบังคบั ฉบับแรก และได้กล่ำวถึงโรงเรียนประชำบำล โรงเรียนประชาบาล หมำยถึง โรงเรียนประถมศึกษำที่ประชำชนในอำเภอหรือตำบลดำรงอยู่ ด้วยทุนทรัพย์ของตนเอง หรือที่นำยอำเภอต้ังขึ้น และดำรงอยู่ด้วยทุนทรัพย์ของประชำชน อยู่ใน ควำมดแู ลของกระทรวงศึกษำธิกำร ในเมืองนครศรีธรรมรำช ได้มีกำรจัดต้ังโรงเรียนประชำบำลขึ้นมำกมำยหลำยแห่งเช่นเดียวกัน ไม่ว่ำจะเป็นโรงเรียนประชำบำลตำบลพระเส้ือเมือง 1 (วัดพระมหำธำตุ) โรงเรียนประชำบำลตำบล นำเคียน 1 (คณำรักษ์บำรงุ ) โรงเรียนประชำบำลตำบลพรหมโลก 1 (วัดดูก) โรงเรียนตำบลนบพิตำ 1 (วัดโรงเหล็ก) โรงเรียนประชำบำลตำบลท่ำศำลำ 1 (ปทุมำนุกูล) โรงเรียนมหำรำช 3 อำเภอทุ่งสง เปน็ ต้น สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

3 ยคุ สมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นโยบายการจดั การศึกษาของคณะราษฎรประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจาก ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรซ่ึงเป็นกลุ่มบุคคลที่รวมตัวกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้วางเป้าหมายสาคัญ หรืออุดมการณ์ของคณะราษฎรด้านการศึกษาซ่ึงปรากฏอยู่ในหลัก 6 ประการ ข้อท่ี 6 “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มท่ีแก่ราษฎร” เพราะคณะราษฎร์มีความเห็นว่าการท่ีจะให้ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตย จาเป็นต้องจัด การศึกษาให้กับประชาชนอย่างท่ัวถึง เมื่อประชาชนมีการศึกษาดีย่อมจะทาให้ประเทศชาติ เจริญขึน้ ด้วย ซ่ึงจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ดาเนินการจัดการศึกษา ตามนโยบายของรัฐบาล ตลอดมา ภำยหลังกำรเปล่ียนแปลงกำรปกครอง พ.ศ.2475 จังหวัดนครศรีธรรมรำชได้จัดตั้งโรงเรียน ประชำบำลขึ้นเพิ่มเติม ได้แก่ โรงเรียนวัดโพเด็ด (โพธิ์เสด็จ) โรงเรียนวัดหัวอิฐ โรงเรียนวัดหนองบัว โรงเรียนวัดพระเขียน โรงเรียนวัดท่ำแพ โรงเรียนวัดหญ้ำ โรงเรียนวัดท่ำงิ้ว โรงเรียนวัดบำงจำก โรงเรียนวัดบำงใหญ่ โรงเรียนวัดบำงสะพำน โรงเรียนวัดชะเมำ โรงเรียนวัดโดน (โดนธำรำรำม) ใน เขตอำเภอเมือง โรงเรียนวัดเขำปูน โรงเรียนวัดใหญ่ โรงเรียนวัดแทงลม โรงเรียนวัดหัวตส่ิง ในเขต อำเภอพรหมคีรี โรงเรียนวัดปำกเนตร โรงเรียนวัดเปี๋ยะ (ศรีสุวรรณำรำม) โรงเรียนวัดหอยกัน โรงเรียนวัดสุขุม ในเขตอำเภอปำกพนัง โรงเรียนวัดเชิงแตระ โรงเรียนท้ำยสำเภำ โรงเรียนวัดกัด โรงเรียนวัดพระเพรง ในเขตอำเภอพระพรหม โรงเรียนวัดรำษฎร์ประดิษฐ์ โรงเรียนวัดทุ่งกระบือ โรงเรียนวัดอัมพวัน ในเขตอำเภอทุ่งสง โรงเรียนวัดโทตรี ตำบลกะหลอ โรงเรียนวัดมเหยงคณ์ ในเขต อำเภอท่ำศำลำ จงั หวัดนครศรีธรรมรำช เปน็ ต้น สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

ตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงของสถานศึกษาในจงั หวัดนครศรีธรรมราช 1. โรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ โรงเรียนศรีธรรมรำชได้ย้ำยไปปลูกสร้ำงใหมบ่ ริเวณวัดพระสงู (ปจั จบุ ันบริเวณหอพระสูงสนำม หน้ำเมือง) บนเนื้อที่ 8 ไร่ ในปี พ.ศ. 2476 ซึ่งแต่เดิมตั้งอยู่ในวัดท่ำโพธิ์มีเนื้อที่คับแคบไม่อำจขยำย เน้ือที่เพ่อื สร้ำงอำคำรใหมเ่ พม่ิ เติมได้ และได้เปลย่ี นชือ่ ใหม่เปน็ “โรงเรียนเบญจมรำชทู ิศ” ในปจั จบุ ัน โรงเรียนเบญจมรำชทู ิศในอดีต (ซ้ำย) โรงเรียนปำกพนังในปัจจุบนั (ขวำ) 2. โรงเรยี นปากพนัง เดิมใช้ชือ่ ว่ำโรงเรียนไพบูลย์บำรุง ต่อมำเมื่อ พ.ศ. 2565 ได้สร้ำงอำคำรเรียนขึ้นบริเวณโรงเรียน เทศบำลปำกพนัง 1 และเม่อื พ.ศ.2481 ได้ย้ำยไปเรียนที่วดั นนั ทำรำม และได้สร้ำงอำคำรเรียนถำวรขนึ้ ณ ที่ต้ังโรงเรียนปำกพนังปัจจุบัน โดยเปิดเรียนเมื่อ พ.ศ. 2482 เป็นโรงเรียนมัธยมโดยเฉพำะ จนกระท่ังเมื่อ พ.ศ. 2487 ได้เกิดไฟไหม้โรงเรียนท้ังหลัง จึงได้ขอฝำกเรียนที่วัดนันทำรำม วัดเสำธง ทอง และโรงเรียนสตรีปำกพนัง และเมื่อ พ.ศ. 2490 ได้สร้ำงอำคำรเรียนชื่อว่ำ \"อำคำรลักษณำ” ภำยหลังโรงเรียนไพบลู ย์บำรุง ได้เปลย่ี นชื่อเปน็ “โรงเรียนปำกพนัง” ในปจั จบุ นั 3. วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรธี รรมราช พ.ศ.2475 โรงเรียนได้ย้ำยมำอยู่หน้ำวดั วงั ตะวนั ออก ถนนรำชดำเนิน เปลย่ี นชื่อเป็น “โรงเรียนวิสำมัญ กำรช่ำง” เปิดสอนวิชำช่ำงถม ช่ำงไม้ ช่ำงเย็บเส้ือผ้ำ และในปี พ.ศ.2482 แผนกช่ำงไม้ ได้ย้ำยไปอยู่ที่ ตำบลปำกพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมรำช (วิทยำลัยเทคนิคนครศรีธรรมรำช) และ พ.ศ.2482 เช่นกนั แผนกช่ำงตดั เย็บเสือ้ ผำ้ ก็ได้ย้ำยไปอยู่ในบริเวณวัดพระเงิน ตำบลคลัง อำเภอเมือง จงั หวัดนครศรีธรรมรำช (วิทยำลัยอำชีวศึกษำจังหวัดนครศรีธรรมรำช) ส่วนแผนกช่ำงถมก็ยังคงอยู่ที่ เดิม พ.ศ.2482 แต่เปล่ยี นชือ่ เปน็ “โรงเรียนช่ำงโลหะรปู พรรณนครศรีธรรมรำช” ต้ังอยู่หน้ำวดั วงั ตะวันออกเช่นเดมิ และในพ.ศ.2505 เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนศิลปหตั ถกรรมนครศรีธรรมรำช” และเปิดสอนถึงช้ันมธั ยมศึกษำตอนปลำย สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

ตัวอยา่ งการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อมำเมื่อวันที่ 1 มกรำคม 2523 กระทรวงศึกษำธิกำร ได้ประกำศแยกวิทยำลัยอำชีวศึกษำนครศรีธรรมรำช อ อ ก เ ป็ น 2 วิ ท ย ำ ลั ย คื อ วิ ท ย ำ ลั ย อ ำ ชี ว ศึ ก ษ ำ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร ำ ช แ ล ะ วิ ท ย ำ ลั ย ศิ ล ป หั ต ถ ก ร ร ม นครศรีธรรมรำช 4. มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรรมราช เดิมชื่อโรงเรียนฝึกหัดครนู ครศรีธรรมรำช เชื่อว่ำประกำศจัดตั้งคร้ังนั้นเพรำะอิทธิพลทำงกำร เมืองเนื่องจำกได้ยุบโรงเรียนฝึกหัดครูตรังย้ำยครูอำจำรย์และทรัพย์สินมำสังกัดโรงเรียนฝึกหัดครู นครศรีธรรมรำชและได้เปิดสอนระดับประกำศนียบัตรวิชำกำรศึกษำ (ป.กศ.) ในปีน้ันเองแต่ เนื่องจำกก่อสร้ำงอำคำรเรียนไม่ทันจึงเปิดทำกำรสอนช่ัวครำวที่อำคำรห้องสมุดประชำชนสนำม หน้ำเมอื งจงั หวดั นครศรีธรรมรำช เม่อื อำคำรเรียนและหอนอนกอ่ สร้ำงเสรจ็ แล้วในปี พ.ศ.2502 จึง เ ปิ ด ส อ น เ ป็ น ก ำ ร ถ ำ ว ร บ ริ เ ว ณ เ ชิ ง เ ข ำ ม ห ำ ชั ย ก ำ ร จั ด ตั้ ง โ ร ง เ รี ย น ฝึ ก หั ด ค รู ขึ้ น ใ น จั ง ห วั ด นครศรีธรรมรำชใน พ.ศ.2500 (มิใช่เป็นกำรตั้งคร้ังแรก เพรำะก่อนหน้ำนี้ เมื่อ พ.ศ.2448 ตรงกับ รัชสมัยพระบำมสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ได้มีกำรจัดต้ังโรงเรียนฝึกหัดครูเมือง นครศรีธรรมรำชขึ้นมำก่อนแลว้ ) ภำยหลังสถำนศึกษำแห่งนี้มไี ด้ยกฐำนะมำเป็นวิทยำลัยครู สถำบันรำชภัฏ และมหำวิทยำลัย มำตำมลำดบั สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมธั ยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

ตัวอยา่ งการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาในจังหวดั นครศรีธรรมราช 5.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรธี รรมราช เดิมชื่อ “โรงเรียนประถมวิสำมัญเกษตรกรรม” ได้ถูกปรับสภำพจำกควำมร่วมมือร่วมใจของ ชำวบ้ำนนำหลวงเสน ปำกแพรก หนองเสม็ดและชะมำย จนกลำยเป็นสถำนที่ให้ควำมรู้ด้ำน เกษตรกรรม ตำมแนวคิดของหลวงประจัณจุฑำรักษ์ นำยอำเภอทุ่งสง และครูชุ่ม ชนะณรงค์ ศึกษำธิกำรอำเภอทุ่งสงสมยั น้ัน จนผืนป่ำจำนวนประมำณ 552 ไร่แหง่ นี้ไดก้ ลำยเป็นโรงเรียนประถม วิสำมัญเกษตรกรรม ประจำอำเภอทุ่งสง เมื่อวันที่ 23 ธันวำคม 2478 จัดกำรเรียนกำรสอนโดย นักเรียนที่เข้ำเรียนที่นี่ไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำย แต่จำกัดอยู่ในวงแคบเพรำะเปิดรับเฉพำะนักเรียนชำยที่ สำเร็จกำรศึกษำช้ัน ประถมศึกษำปีที่ 4 ในท้องที่อำเภอทุ่งสง เข้ำเป็นนักเรียนกินนอนของโรงเรียน เท่ำนั้น โดยใช้เวลำในกำรเรียน 2 ปี จึงจบหลกั สตู ร ต่อมำเปล่ียนชื่อเป็น “โรงเรียนเกษตรกรรมนครศรีธรรมรำช” จนกระทั่งปี พ.ศ. 2508 กระทรวงศึกษำธิกำรได้ยกฐำนะโรงเรียนเกษตรกรรมนครศรีธรรมรำชขึน้ เปน็ “วิทยำลัยเกษตรกรรม นครศรีธรรมรำช” สังกดั กรมอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร นับเป็นวิทยำลัยแห่งแรกของจังหวัด นครศรีธรรมรำช ต่อมำเปล่ียนชื่อเป็น “วิทยำลัยเทคโนโลยีและอำชีวศึกษำ วิทยำเขตเกษตร นครศรีธรรมรำช” และเปล่ียนเป็น “สถำบันเทคโนโลยีรำชมงคล วิทยำเขตนครศรีธรรมรำช จนกระทั่งวันที่ 19 มกรำคม 2548 ได้ยกฐำนะขึ้นเป็นมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย วิทยำเขตนครศรีธรรมรำช จนถึงปจั จุบนั สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

ตวั อยา่ งการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช นอกจำกนี้ยังมีมหำวิยำลัยหลำยแหล่งที่ได้ถือกำเนิดในยุคนี้ ได้แก่ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ มหำวิทยำลัยเฉลิมกำญจนำ มหำวิทยำลัยรำมคำแหง วิทยำเขตนครศรีธรรมรำ ช มหำวิทยำลยั สุโขทยั ธรรมำธิรำช วิทยำเขตนครศรีธรรมรำช เปน็ ต้น ดังน้ันจะเห็นได้ว่ำจังหวัดนครศรีธรรมรำชมีพัฒนำกำรของกำรศึกษำมำอย่ำงต่อเนื่อง นับต้ังแต่อดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน กำรศึกษำเหล่ำนี้มีส่วนเสริมสร้ำงคุณภำพของประชำชน ชำวเมืองนครศรีธรรมรำช ก่อเกิดเป็นเมืองนักปรำชญ์ผู้มีควำมรู้ควำมสำมำรถทำงด้ำนต่ำง ๆ ไม่ ว่ำจะเปน็ ดำ้ นศำสนำ กำรเมอื ง วัฒนธรรม ประวตั ิศำสตร์ ศิลปะ กีฬำ ฯลฯ เพื่อร่วมพัฒนำจังหวัด นครศรีธรรมรำชใหม้ ีควำมก้ำวหน้ำสืบเนือ่ งทุกยคุ ทุกสมยั สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

คณะผู้จัดทา 1. นำงสำวโสภำ ไสวศรี ผอ.รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม ประธำนคณะทำงำน 2. นำยเฉลิมพงศ์ ช่วยคุ้ม ผอ.รร.ทุ่งใหญ่เฉลิมรำชอนุสรณ์ รชั มังคลำภเิ ษก รองประธำนคณะทำงำน 3. นำงวำรินดำ จู้ห้อง ผอ.รร.ทุ่งสังพทิ ยำคม คณะทำงำน 4. นำงณภัค อินทร์ปำน ผอ.รร.กรุงหยันวทิ ยำคำร คณะทำงำน 5. นำงสจุ ริ ำ รัตนบรุ ี ผอ.รร.เสมด็ จวนวิทยำคม คณะทำงำน 6. นำยสมชำย เพช็ รขำ รอง ผอ.รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 7. นำยเทียนชัย ยอดทอง รอง ผอ.รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 8. นำยพศิ ิษฐ์ ดำเกลี้ยง รอง ผอ.รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 9. นำยฤชำยสุ พลำยด้วง รอง ผอ.รร.ทุ่งใหญ่เฉลิมรำชอนสุ รณ์ รัชมงั คลำภเิ ษก คณะทำงำน 10. นำงสำวพรรษำ ธนำวฒุ ิ รอง ผอ.รร.กรุงหยันวทิ ยำคำร คณะทำงำน 11. นำงสำวกชมล เดิมคลงั รอง ผอ.รร.ทุ่งใหญ่เฉลิมรำชอนุสรณ์ รัชมงั คลำภเิ ษก คณะทำงำน 12. นำยศภุ ชยั กุศลสุข ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 13. นำงธนิศรำ ชขู ันธ์ ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 14. นำงปิยวรรณ รตั นพันธ์ ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 15. นำยจำนงค์ ชยั เพช็ ร ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 16. นำงธญั วรรณ บวั พรหม ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 17. นำยโสภณฐั เจริญรปู ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำน 18. นำยสิทธโิ ชค งำมสทุ ธิ์ ครู รร.ทุ่งสงั พทิ ยำคม คณะทำงำน 19. ว่ำที่ ร.ต.หญิงชยำนนั ท์ แท่นแสง ครู รร.ทุ่งสังพทิ ยำคม คณะทำงำน 20. นำงจณิ หว์ รำ พมิ พส์ มพร ครู รร.เสมด็ จวนวิทยำคม คณะทำงำน 21. นำยสุริยำ อินทุ่ม ครู รร.เสม็ดจวนวิทยำคม คณะทำงำน สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษานครศรีธรรมราช สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คณะผูจ้ ดั ทา 22. นำยธนำวฒุ ิ เนยี มรินทร์ ครู รร.กรงุ หยนั วทิ ยำคำร คณะทำงำน 23. นำงสำวรัชดำ กำรดี ครู รร.กรุงหยนั วทิ ยำคำร คณะทำงำน 24. นำงสำวสดุ ำรตั น์ ผกำแก้ว ครู รร.กรงุ หยันวทิ ยำคำร คณะทำงำน 25. นำงสำวปฤศญำ จักรหนู ครู รร.กรุงหยันวทิ ยำคำร คณะทำงำน 26. นำยธรี ยุทธ บวั ทอง ครู รร.ทุ่งใหญ่เฉลิมรำชอนุสรณ์ รัชมังคลำภเิ ษก คณะทำงำน 27. นำยประภศู ักดิ์ ณ นคร ครู รร.ทุ่งใหญ่เฉลิมรำชอนสุ รณ์ รชั มังคลำภเิ ษก คณะทำงำน 28. นำงภัทรพร พรมกิตตยิ ำนนท์ ครู รร.ทุ่งใหญ่วิทยำคม คณะทำงำนและเลขำนุกำร 29. นำงพัชรำภรณ์ จนั ทร์อดุ ม ครู รร.ทุ่งใหญ่เฉลิมรำชอนสุ รณ์ รัชมังคลำภเิ ษก คณะทำงำนและผชู้ ่วยเลขำนุกำร สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษานครศรีธรรมราช สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

บรรณานกุ รม พัชรินทร์ ดว้ งวิจติ ร. (2545). กำรจดั กำรศึกษำในมณฑลนครศรีธรรมรำช ในสมัยพระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อยู่หัว ในช่วงปี พ.ศ. 2439-2453. วิทยำนิพนธ์หลกั สตู รปริญญำ ศิลปำศำสตรมหำบัณฑิต สำขำไทยคดีศกึ ษำ มหำวิทยำลัยทกั ษิณ. มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชยั วิทยำเขตนครศรีธรรมรำช ไสใหญ่. ประวัติมหำวิทยำลยั (ออนไลน์). แหลง่ ทีม่ ำ https://saiyai.rmutsv.ac.th/saiyaicampus/th/historysaiyai (13 มีนำคม 2565). โรงเรียนปำกพนงั . ประวตั ิโรงเรียน (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มำ http://www.pakphanang.ac.th/datashow _206882 (11 มีนำคม 2565). วิทยำลัยศิลปหตั ถกรรม นครศรีธรรมรำช. ข้อมูลวิทยำลัย: ประวัติวิทยำลยั (ออนไลน์). แหลง่ ที่มำ https://www.artnst.ac.th/showdatasystembig.php?id=11 (13 มีนำคม 2565). วิมล ดำศรี. (2540). วรรณกรรมมขุ ปำฐะเมอื งนคร กำรศึกษำวิเครำะห์, กรุงเทพฯ: ที.พี.พรนิ้ ท.์ สมพุทธ ธุระเจน. (2562). ย้อนรอย 100 ปี นครศรีธรรมรำช, นครศรีธรรมรำช: อักษรกำรพิมพ์. สมพุทธ ธุระเจน และประหยดั เกษม. (2557). รำยงำนพระศิริธรรมมุนี เจ้ำคณะมณฑล นครศรีธรรมรำช ร.ศ. 119 ถึง ร.ศ. 129, นครศรีธรรมรำช: อักษรกำรพิมพ์. วิเชียร ณ นคร และคณะ. (2523). นครศรีธรรมรำชของเรำ. พิมพ์คร้ังที่ 3, กรงุ เทพฯ: บำงกอกสำสน์ สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำนครศรีธรรมรำช

สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษานครศรีธรรมราช สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook