Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore proceeding 2562

proceeding 2562

Published by jaturata, 2021-05-29 15:05:54

Description: proceeding 2562

Search

Read the Text Version

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เอกสารอ้างอิง หลักเกณฑ์และวิธีการดาเนินการเล่ือน http://www.personnel.psu.ac.th/ne เงินเดือนข้าราชการพนักงานมหาวิทยาลัย w1/new_6.8.pdf และเล่ือนข้ันค่าจ้างลูกจ้างประจา ณ วันท่ี ดาเนนิ การล่าสดุ กา ร ติ ด ต า ม ภ า ร ะ ง า นข อง บุ ค ล า ก ร http://www.personnel.psu.ac.th/ne มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ w1/new_21.pdf บัญชีเงินเดือนข้ันสูงพนักงานมหาวิทยาลัย http://www.personnel.psu.ac.th/co พ.ศ.2559 m/com_333.pdf ฐานการคานวณสาหรับการเลื่อนขั้น http://www.personnel.psu.ac.th/w เงนิ เดือน พ.ศ.2561 ord/9.265.pdf บญั ชีเงนิ เดอื นข้าราชการ ต่า-สงู พ.ศ.2560 http://www.personnel.psu.ac.th/w ord/9.415.pdf อัตราค่าจ้างข้ันต่า-ขั้นสูง ลูกจ้างประจา http://www.personnel.psu.ac.th/w พ.ศ.2559 ord/9.365.pdf บทสรปุ ก า ร พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร พิ จ า ร ณ า เ งิ น เ ดื อ น ค่ า จ้ า ง ข อ ง ค ณ ะ วิศวกรรมศาสตร์สามารถตอบปัญหาเรื่องการลดเวลา ความผิดพลาดและ จานวนคนในการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจน รวมท้ังเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ดาเนนิ การของคณะวศิ วกรรมศาสตร์ เนือ่ งจากมีความยืดหยุ่นสงู จงึ สามารถปรับ ใช้ได้กับคณะ/หน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยงานท่ีมีขนาดใหญ่ได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นฐานข้อมูลเลื่อนขั้นเงินเดือนในอนาคตได้ และเป็น จุดเร่ิมต้นของการสร้างวัฒนธรรมการปรับปรุงงานในกลุ่มงานฯ ท้ังนี้อาจมีการ สร้างแรงจูงใจให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถนาไปใส่ในแผนปฏิบัติ งานของหน่วยงานและ TOR ของเจ้าหน้าทท่ี ี่เก่ียวข้องทุกคน เพอ่ื ท่ีจะทาให้การ บริหารงานบุคคลของคณะวศิ วกรรมศาสตร์มีประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน - 145 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ Poster Presentations - 146 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ิที่เปน็ เลศิ ****************************************** เร่อื ง “การจัดการเรียนการสอน เพอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21” โครงการ/กิจกรรม ดา้ นการเรยี นการสอนและคุณภาพบณั ฑติ ชอ่ื หน่วยงาน สาขาวชิ าการพยาบาลผ้ใู หญ่และผสู้ งู อายทุ างอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะทางานพฒั นาแนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ 1. ดร. ศมนนันท์ ทศั นยี ์สวุ รรณ 2. ผศ.ดร.ทพิ มาส ชณิ วงศ์ 3. ผศ.ดร.กันตพร ยอดใชย 4. ผศ.ดร.บศุ รา หม่นื ศรี 5. ดร.รัดใจ เวชประสิทธิ์ 6. อ.ธาวนิ ี ช่วยแท่น 7. อ.เพ็ญพิชชา ถิน่ แก้ว 8. ดร.นภิ า นยิ มไทย 9. รศ.ดร.กิตติกร นลิ มานัต 10. ดร.ปราณี คาจนั ทร์ 11. อ.จติ ตรานนั ท์ กลุ ทนนั ท์ การประเมนิ ปญั หา/ความเสี่ยง ( Assessment) การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นการ จัดการเรียนการสอนในรูปแบบ active learning เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ศักยภาพของตนเองในการคิด ค้นคว้า พัฒนา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ซึ่งเป็น ทกั ษะการเรยี นรู้ท่ีสาคัญในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 7 ด้าน ได้แก่ 1) ทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา 2) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และ นวัตกรรม 3) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ 4) - 147 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ทักษะด้านความร่วมมือการทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา 5) ทักษะด้านการ ส่ือสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ 6) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร และ 7) ทักษะด้านอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (รุ่งนภา และอติญาณ, 2560) ที่สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ ระบบ การศึกษาในประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้มีการ นากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เพ่ือจัดการมาตรฐาน การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ตามยุทธศาสตร์แผนพัฒนาการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 ซ่ึงเน้นการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ ทุนมนุษย์ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม โดยมีเป้าหมาย สาคัญ 5 ด้าน คือ การเข้าถึง ความเท่าเทียม คุณภาพ ประสิทธิภาพ และตอบ โจทย์บริบทท่ีเปลี่ยนแปลง (สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนจะต้องตอบโจทย์ และพัฒนาทักษะอย่าง ครอบคลุม มุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนแบบ adult learner ซึ่งผู้เรียน สามารถค้นคว้า ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลท่มี ีอยู่มากมาย และ สามารถเข้าถึงได้ง่ายจากระบบเทคโนโลยี ท่ีทาให้การค้นหาความรู้ เป็นสิ่งที่ สามารถเข้าถงึ ได้อยา่ งรวดเร็ว รายวิชาโภชนบาบัด เป็นหนึ่งในรายวิชาของหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รายวิชานี้มี วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ อธิบายปัญหาภาวะโภชนาการ หลัก โภชนบาบัด และบทบาทพยาบาลในการส่งเสริมโภชนาการได้อย่างถูกต้อง หัวหน้าโครงการ และทีมคณาจารย์ ได้เข้ามารับผิดชอบดูแลในฐานะผู้ ประสานงานรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 มีการพัฒนา ปรบั ปรุงรายวิชา เพ่ือใหน้ ักศึกษาสามารถบรรลผุ ลการเรียนรูแ้ ตล่ ะด้านที่มงุ่ หวัง (Expected learning Outcomes) และทักษะการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา อาจยังไม่สามารถตอบสนองทักษะการเรียนรู้ฯ ท้ัง 7 ด้าน ดังน้ัน ทีมคณาจารย์ ฯ จึงได้มีการวางแผน และปรับปรุง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ เหมาะสมอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพือ่ การเรียนรู้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ - 148 -

เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ เพ่อื พัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั 1. ได้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 2. นักศึกษาสามารถนาทักษะที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ไปประยุกต์ใชใ้ นรายวชิ าทางการพยาบาล อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป 3. เป็นตัวอย่างสาหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ทสี่ ่งเสริมทักษะ การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 การออกแบบกระบวนการ 1. วธิ ีการ/แนวทางการปฏิบัติจริง (PDCA) 1. P (Plan) การวางแผน: ทบทวนการจัดการเรยี นการสอนในปกี ารศึกษา 59/60/61 ขอ้ ดี สง่ิ ที่ตอ้ งพัฒนา -ไดพ้ ัฒนาปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอน -การจดั เนือ้ หาใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรยี น ท่ีสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายรายวิชา และ -การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้แบบ ลกั ษณะผู้เรียน Active learning -การเรยี นรกู้ ารใชโ้ ปรแกรม online ท่ี จะเปน็ ช่องทางในการสง่ เสริมการ เรียนรู้ทที่ ันสมัย และสอดคลอ้ งกบั ลักษณะผเู้ รยี น ผลลพั ธ์ ไดร้ ปู การจัดการเรียนการสอนท่ีส่งผลตอ่ การเรยี นรขู้ องนกั ศึกษาท่ีดขี ้นึ - 149 -

เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. D (Do) การลงมอื ปฏิบัติ: ปรบั การจดั การเรยี นการสอนในปี การศึกษา 59/60/61 ขอ้ ดี สง่ิ ทตี่ ้องพฒั นา -ไดล้ งมือจดั รูปแบบการจดั การเรียน -การติดต่อ สอ่ื สาร การสอนที่ได้ว่างแผนไว้ ประสานงาน ทง้ั ผู้เรยี น และทมี รปู แบบการ จัดการเรียนการ อาจารยผ์ สู้ อน สอน ผลลัพธ์ ได้ลงมอื จดั รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน ตามทไี่ ด้วางแผน ปกี ารศกึ ษา 59/60/61 ไว้ 3. C (Check) การติดตามตรวจสอบ: ตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน ปี 59/60/61 วเิ คราะห์ปญั หา และแนวทางในการแกไ้ ข ข้อดี ส่ิงที่ตอ้ งพัฒนา - ทราบผลการจดั การเรียนการสอน และ รูปแบบการจดั การเรียนการสอนท่ี ประเด็นท่จี ะต้องปรับปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป เหมาะสม ผลลัพธ์ ทราบผลการประเมินการจัดการเรยี นการสอน และจุดทีจ่ ะตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไข ตอ่ ไป 4. Act (ปรบั ปรุงแก้ไข) : แกไ้ ขปญั หาตามผลการประเมนิ รายวิชา และพัฒนา รปู แบบการเรียนการสอนทสี่ ่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องนกั ศึกษาในศตวรรษที่ 21 อยา่ ง ต่อเนือ่ ง ข้อดี สง่ิ ทีต่ อ้ งพฒั นา -ไดม้ กี ารวิเคราะหก์ ารจดั การเรยี นการสอน -ปกี ารศึกษา 2559 ปรบั รปู แบบการ และปรบั แกไ้ ข ให้สามารถสง่ เสรมิ การ นาเสนอหลกั โภชนบาบดั ใหเ้ กดิ ความ เรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ไดอ้ ย่างมี น่าสนใจและความเข้าใจในเนือ้ หามาก ประสทิ ธภิ าพ ขึน้ -ปีการศึกษา 2560 ปรับสรา้ งแบบฝกึ หดั หลังบทเรียน online ทาง LMS2@PSU - 150 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ -ปีการศึกษา 2561 ปรบั รูปแบบการ สอน lecture มกี ิจกรรม active learning ในชม.การสอน และจดั ทา โครงการการใหค้ าปรกึ ษาโภชนบาบัด และ/หรือการสรา้ งนวัตกรรมฯ ผลลัพธ์ ไดพ้ ฒั นาปรบั ปรุงการจดั การเรยี นการสอน ปีการศกึ ษา 2559/2560 และ 2561 ไดร้ ูปแบบ และการ พัฒนาทกั ษะการ เรียนรูท้ เ่ี หมาะสม กับนกั ศึกษา บทสรปุ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพอื่ สง่ เสริม และพัฒนาทักษะ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรยี นการสอน ทกั ษะการเรยี นร้ใู น ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ศตวรรษที่ 21 59 60 60 61 (ภาค (ภาค (ภาค (ภาค การศึกษาท่ี การศกึ ษาที่ การศกึ ษาที่ การศกึ ษาท่ี 1) 1) 2) 2) 1) ทกั ษะการคดิ √ √ √ √ อย่างมีวิจารณญาณ และการแกป้ ญั หา 2) ทกั ษะด้านการ √ - - √ สร้างสรรค์และ นวัตกรรม 3) ทกั ษะด้านความ √ - - √ เข้าใจความต่าง - 151 -

เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ทกั ษะการเรยี นรู้ใน ปกี ารศกึ ษา การจัดการเรียนการสอน ปีการศกึ ษา ศตวรรษท่ี 21 59 ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา 61 (ภาค (ภาค วฒั นธรรม ต่าง 60 60 กระบวนทศั น์ การศึกษาท่ี (ภาค (ภาค การศกึ ษาท่ี 4) ทักษะดา้ นความ 1) การศึกษาท่ี การศกึ ษาที่ 2) ร่วมมอื การทางาน 1) 2) เป็นทีมและภาวะ √ √ ผู้นา √√ 5) ทักษะด้านการ √ √ ส่ือสาร สารสนเทศ √√ และรเู้ ทา่ ทันส่ือ √ √ 6) ทักษะด้าน √√ คอมพิวเตอร์ √ √ เทคโนโลยี √√ สารสนเทศ และการ สอ่ื สาร 7) ทกั ษะดา้ นอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ 3.งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการจัดโครงการ/กิจกรรม ไม่มี - 152 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures)แสดงระดับแนวโน้มข้อมลู เชิง เปรยี บเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับหน่วยงานภายใน/ภายนอก ผลการประเมนิ รายวชิ า (ปกี ารศึกษา) ผลการประเมินความพงึ พอใจ 2559 ภาคการศกึ ษาที่ 1 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 2560 ภาคการศกึ ษาที่ 1 หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555 ระดับ คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ 2560 ภาคการศึกษาที่ 2 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 ดี 3.89 77.8 2561 ภาคการศกึ ษาที่ 2 หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2559 ดีมาก 4.22 84.4 ดีมาก 4.27 85.4 ดี 4.00 80 หมายเหตุ เกณฑก์ ารแปลผลการประเมินผลรายวชิ า ค่าเฉลีย่ ระดบั การประเมนิ ผล 4.21-5.00 ดีมาก 3.41-4.20 มาก 2.61-3.40 ปานกลาง 1.81–2.60 พอใช/้ น้อย < 1.81 ควรปรบั ปรงุ อย่างไรก็ตามเพื่อการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์มี การพัฒนาการศึกษาวิจัยในชั้นเรียน เร่ือง ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุกในรายวิชาโภชนบาบัด ตาม การรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินกองทุนวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ประจาปี 2562-2563 และงานวิจัยอยู่ในระหว่างการ ดาเนนิ การ ซึ่งจะรายงานผลการศึกษาฯ และเผยแพรต่ ่อไป - 153 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การเรียนรู้ ( Study/Learning) 1. แผนหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต จากทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญ ท่ีนักศึกษาจะต้องมีการพัฒนาทักษะต่างๆ ทาให้มีการวางแผนร่วมกับคณาจารย์ผู้สอน เพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการ สอน ท่มี ุ่งสง่ เสริมทักษะการเรียนรขู้ องนกั ศึกษาศตวรรษท่ี 21 จากการปรบั ปรุง การจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2561 มีการปรับรูปแบบการเรียนรู้โดย ใช้ตัวอย่างสถานการณ์ (Case-based learning) ให้ประสิทธิภาพมากขึ้น โดย การผสมผสานการใช้แนวคิดในการพัฒนาโครงการ (Project-based learning) เฉพาะในส่วนในการพัฒนานวัตกรรมต้นแบบ (Prototype) และนาเสนอ แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในชั้นเรียน ถึงความเป็นไปได้ก่อนนาไปสู่การใช้งานใน อนาคต โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาประจากลุ่ม คอยให้คาปรึกษาต่างๆ ตลอด กระบวนการ รวมทั้งการประชุมทีมอาจารย์ผู้สอน ถึงแนวทางท่ีชัดเจนในการให้ คาปรึกษานักศึกษา ท่ีเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การสารวจการทางานร่วมกัน เป็นทีมของสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งปรับรายละเอียดการประเมินให้ครอบคลุม รวมทั้งการศึกษาวิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2563 เกี่ยวกับการประเมินผล ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 จากการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว (ซึ่งอยู่ ในระหว่างการวิเคราะห์ผลการศึกษา) 2. จุดแข็ง (Strength) หรอื สิ่งทท่ี าไดด้ ใี นประเดน็ ทน่ี าเสนอ 1.เป็นการศึกษา/ทบทวน/วางแผน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ที่สอดคล้อง และเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะท่ีสาคัญในศตวรรษที่ 21 ของ นกั ศึกษาพยาบาล 2.เป็นตัวอย่างรูปแบบการจัดการเรียนการสอน Active learning ในศตวรรษที่ 21 3.เกิดความร่วมมือของทีมอาจารย์ผู้สอน/นักศึกษาในการพัฒนาตนเอง เพื่อการเรยี นรู้ - 154 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3. กลยทุ ธ์ หรอื ปัจจัยท่ีนาไปส่คู วามสาเร็จ 1.การติดต่อสื่อสาร ประสานงานกับทีมอาจารย์ผู้สอน และนักศึกษาทั้ง ช้นั ปี 2.การร่วมมือกนั กับทีมอาจารย์ผู้สอน ในการพัฒนานวตั กรรมฯในหัวขอ้ ที่ กาหนด ประเด็น(จดุ เด่น)ทเ่ี ปน็ แนวปฏิบัตทิ ่ีเป็นเลิศ เป็นกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาจุดแข็ง และทบทวนจุดด้อยที่ต้องพัฒนา ที่เหมาะต่อผู้เรียนในระดับบัณฑิตศึกษา เพ่ือให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของ รายวิชา และเป็นโอกาสในการพัฒนาการจัดรูปแบบการเรียนการสอน Active learning ที่สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน และทักษะการเรียนรู้ท่ีสาคัญใน ศตวรรษที่ 21 ตอ่ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เอกสารอา้ งองิ ดวงเนตร ธรรมกุล, วนดิ า ตันเจริญรัตน และพูลทรัพย์ ลาภเจียม. (2557). ผล ของการจัดการเรียนแบบโครงการต่อการพัฒนาผลการเรียนรู้ของ นกั ศึกษา. วำรสำรวิจัยทำงวิทยำศำสตรส์ ขุ ภำพ, 8(1), 46-54. เบญจกาญจน์ ใส่ละม้าย. (2560). การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการโดย การใช้ไอซีทเี พื่อพฒั นาผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย. วำรสำรวทิ ยำ บริกำร มหำวิทยำลยั สงขลำนครินทร,์ 28(3), 73-79. รุ่งนภา จันทรา และอิติญาณ์ ศรเกษตริน. (2560). ทักษะการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 ของนกั ศกึ ษาพยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนี สุราษฏร์ธานี. วำรสำรเครือข่ำยวิทยำลัยพยำบำลและกำรสำธำรณสุขภำคใต้, 4(1), 180-190. - 155 -

เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วณิชา พึ่งชมพู. (2559). การถอดบทเรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ใน ศตวรรษท่ี 21: การบวนวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ. พยำบำลสำร, 43(3), 46-57. สิทธิพล อาจอินทร์ และธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์. (2554). การจัดการเรียนรู้โดย ใช้โครงการเป็นฐานในรายวชิ า การพัฒนาหลักสูตร สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ป.ี วำรสำรวิจยั มข., 1(1), 1-16. สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนพัฒนาการศึกษา ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564). ม.ป.ท. Annamaria, B., Anna, S., & Loredana, S. (2010). Project-based learning in the clinical setting: An experimentation in undergraduate nursing students. International Journal of Interdisciplinary Social Sciences, 5(5), 67-77. Bell, S. (2010). Project-based learning for the 21st century: Skills for the future. The Clearing House: A Journal of Educational Strategies, Issues and Ideas, 83(2), 39-43. Fini, E. H., Awadallah, F., Parast, M. M., & Abu-Lebdeh, T. (2018). The impact of project-based learning on improving student learning outcomes of sustainability concepts in transportation engineering courses. European Journal of Engineering Education, 43(3), 473-488. Panasan, M., & Nuangchalerm, P. (2010). Learning outcomes of project-based and inquiry-based learning activities. Online Submission, 6(2), 252-255. - 156 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ บทสรุป การวางแผน ปรับปรุง ตรวจสอบ/ตดิ ตามผล และพัฒนาการจัดการเรียน การสอน ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้แบบ Adult learner หรือ Active learning ใน ศตวรรษที่ 21 เปน็ การพัฒนา เพื่อใหน้ ักศกึ ษาเกิดทกั ษะ การแก้ไขปัญหาท่ียงั ไม่ เกิด ค้นคว้า ออกแบบ เรียนรู้ และ/หรือสามารถสร้างนวัตกรรมทางสุขภาพที่ เป็นประโยชน์ ซึ่งต้องอาศัยการวางแผนงาน การติดต่อ/ส่ือสารประสานงานที่ดี รว่ มกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ซึ่งเป็นกลยุทธ์สาคัญ ท่ีจะช่วยให้เกิดความสาเร็จ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - 157 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลิศ ****************************************** เร่อื ง การจดั การเรียนรู้โดยใช้วิจยั เปน็ ฐาน (Research Based Learning: RBL) โครงการ/กิจกรรม ด้านการเรียนการสอนและคุณภาพบณั ฑิต ชอื่ หน่วยงาน ภาควชิ าประเมนิ ผลและวจิ ยั ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ คณะทางานพัฒนาแนวปฏิบัตทิ ่ีเป็นเลศิ หัวหนา้ ภาควิชาประเมินผลและวิจยั ทางการศึกษา และอาจารยผ์ ู้สอน รายวชิ า 276-402 การวิจัยทางการศึกษา การประเมนิ ปัญหา/ความเส่ียง ( Assessment) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีพันธกิจหลักในการ ผลิตและพัฒนาครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา จึงมีหลักสูตรในการ ผลิตครูหลายหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของประเทศ และท้องถ่ิน ในหลักสูตรผลิตครูมีรายวิชาชีพครูบังคับ ซึ่งนักศึกษาต้องเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ความรแู้ ละทกั ษะท่ีจาเปน็ ในการประกอบวิชาชพี ครู ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษาเป็นหน่ึงภาควิชาฯ มีหน้าท่ี ความรับผิดชอบจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิจัยทางการศึกษา ซ่ึงเป็นราย วิชาชีพครูบังคับ การจัดการเรียนการสอนท่ีผ่านมา พบว่า นักศึกษาไม่สามารถ บูรณาการความรู้ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติได้ ปัญหาวิจัยท่ีนักศึกษาลงมือ ปฏิบัติยังไม่สะท้อนถึงปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา และไม่ สามารถนาความรู้ไปทาวิจัยขณะฝกึ สอน ตลอดจนใช้ในการเล่ือน วทิ ยฐานะครู ในอนาคตได้ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนให้ตรงประเด็นและนาไปใช้ ได้จริง ดังนั้นจึงได้จัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็น ฐาน (Research Based Learning: RBL) - 158 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การจัดการเรียนรู้โดยใชว้ ิจัยเปน็ ฐาน มีความเหมาะสมกับการจัดการเรียน การสอนในระดับอุดมศึกษา เน่ืองจากเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ ความ จริงด้วยตนเอง จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้โดย ใช้การวิจัยเป็นฐาน พบว่า ช่วยฝึกให้ผู้เรยี นตั้งปัญหาและหาแนวทางแก้ไขอย่าง เป็นระบบ (ธีรศักด์ิ พาจันทร์, 2560; Srikoon, Bunterm, Samranjai, and Wattanathorn, 2014) สาหรับระดับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานเริ่ม ตั้งแต่ระดับต่าสุดไปถึงระดับสูงสุด (สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และทัศนีย์ บัญเติม, 2537; พวงผกา ปวณี บาเพญ็ , 2560 ; จุฑา ธรรมชาต,ิ 2555) ดังภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 ระดับการจัดการเรียนการสอนโดยใชว้ ิจัยเป็นฐาน ทม่ี า: สมหวงั พธิ ยิ านุวฒั น์ และทศั นีย์ บัญเตมิ (2537) นอกจากนี้ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (2554) ได้จาแนก แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานออกเป็น 4 แนวทาง ตาม องค์ประกอบผู้ใชแ้ ละด้านการใช้ ดงั ภาพที่ 2 - 159 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ภาพที่ 2 แนวทางการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชว้ ิจยั เป็นฐาน ที่มา: พวงผกา ปวณี บาเพญ็ (2560) แนวทางท่ี 1 เป็นแนวทางที่ผ้สู อนนาผลการวิจัยมาใชป้ ระกอบการจดั การ เรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนขยายขอบเขตของความรู้ที่ทันสมัยและเสริมให้ผู้เรียนมี ความรู้เพ่ิมขึ้น ส่วนแนวทางที่ 2 เป็นแนวทางท่ีผู้เรียนสืบค้นและศึกษางานวิจัย ทเี่ ก่ียวข้องกับสาระการเรียนรู้ด้วยตนเอง สาหรับแนวทางท่ี 3 และ 4 คือผู้สอน และผู้เรียนใช้กระบวนการวิจัยในการจัดการเรียนรู้นามาบูรณาการในเน้ือหา สาระวิชาตามข้ันตอน คือ 1) ขั้นคาถาม 2) เตรียมการค้นหาคาตอบ 3) ดาเนินการค้นหาและตรวจสอบคาตอบ และ 4) สรุปและนาเสนอผลการ คน้ หาคาตอบ การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชา 276-402 วิจัยทาง การศึกษา ได้เลือกใชแ้ นวทางท่ี 3 และ 4 รวมถงึ เป็นระดับการจดั การเรยี นรูโ้ ดย ใช้วิจัยเป็นฐานในระดับ 7 เป็นการทาวิทยานิพนธ์หรือการทาวิจัยด้วยตนเอง โดยคณาจารย์ในภาควิชาฯ ไดร้ ่วมกันกาหนด มคอ.3 การออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ มีเอกสารเน้ือหาหลัก แบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค รวมถึง แนวทางการวัดและประเมินผล ท้ังน้ีในส่วนของกิจกรรมการเรียนรู้ได้ให้ นักศึกษาแต่ละกลุ่มเรียน ได้ลงมือปฏิบัติวิจัยจริง โดยเริ่มต้นจากลงพื้นท่ีสารวจ ปัญหา สร้างเคร่ืองมือและนวัตกรรม เก็บรวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เขียน รายงานวิจัยและเขียนบทความวิจัยเพ่ือเผยแพร่ผลงานวิชาการ ตลอดจนฝึก บริหารจัดประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยภายในสถาบันการศึกษา และ คัดสรรผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพไปนาเสนอในเวทีการประชุมระดับชาติของ หน่วยงานภายนอกอยา่ งต่อเนือ่ ง จากการเรียนรผู้ ่านการปฏิบัติวจิ ัยจริงระหวา่ งผ้สู อนและผูเ้ รียน จงึ สรุปได้ ว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนที่ คณาจารย์ในภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษาสนใจศึกษาและเลือก เปน็ แนวทางปฏบิ ัตเิ พือ่ แกป้ ัญหาการเรียนรไู้ ปสู่การนาไปใช้ไดจ้ ริง - 160 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ เป้าหมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาการวิจัยทางการศึกษาโดยใช้ วจิ ยั เป็นฐาน 2. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยรายวิชาการวิจัยทางการศึกษาโดยใช้วิจัยเป็น ฐาน เป้าหมาย เชิงปริมาณ จานวนผลงานวิจัยทุกกลุ่มเรียน และผลงานวิจัยคัดสรร กลุ่ม เรียนละ 2 เรอ่ื ง เชิงคุณภาพ งานวิจัยถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัยและนาไปใช้ประโยชน์ใน สถานศึกษาไดจ้ ริง ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั ผลท่ไี ดร้ บั สนู่ ักศึกษา 1.การบูรณาการความรู้ในการเรียนการสอนกับการปฏิบัตจิ ริงเพื่อเพม่ิ พูน ความรใู้ ห้กับนกั ศกึ ษาไปสูส่ ังคมและโลกภายนอก 2.นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ทฤษฎีท่ีเรียนมาสู่ การปฏบิ ัติจรงิ ได้ 3.นกั ศึกษาสามารถนาแนวทางไปใชใ้ นการทาวิจัยขณะฝึกสอน และเลอื่ น วิทยฐานะในการประกอบวชิ าชีพครตู อ่ ไป 4.นักศกึ ษาสามารถนาความรูไ้ ปต่อยอดการศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาได้ 5.นกั ศึกษาสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นการประกอบวชิ าชีพครูได้ ผลทีไ่ ด้รับสู่ผู้สอน 1. ผู้สอนได้แนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน 2. ผู้สอนมีเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถาบันศึกษาท้ังภายใน และภายนอก - 161 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 3. ผู้สอนและนักศึกษาได้เพ่ิมพูนองค์ความรู้จากการแลกเปล่ียนเรี ยนรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา 4.ผ้สู อนได้รับการประเมนิ ระดับสมรรถนะอาจารย์ (PSU-TPSF) ในระดับ วชิ ชาจารย์ จานวน 3 คน และได้รางวลั อาจารย์ตัวอย่างระดับอุดมศึกษา ในวัน ครู ผลท่ีไดร้ บั กบั ทางมหาวทิ ยาลัยและคณะ 1.มหาวิทยาลยั และคณะ มีเครอื ข่ายความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพอื่ ส่งเสริมและพฒั นานักศกึ ษา 2.มหาวิทยาลัยและคณะได้รับชื่อเสียงและยกย่องจากรางวัลที่นักศึกษา ไปนาเสนอในท่ีประชุมวชิ าการ การออกแบบกระบวนการ กระบวนการเดิม กระบวนการใหม่ ประชุมวางแผน และข้อตกลงเพียง ประชุมวางแผน โดยคณาจารย์ผู้สอน บางส่วน ร่วมกัน วางแผน มคอ.3 เช่น เอกสาร เน้ือหา ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค ร่วมกัน เปน็ ตน้ ไม่มีการจัดโครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย จัดโครงการประชุมวิชาการเผยแพร่ และนวัตกรรมทางการศึกษา ผลงานวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา โดยคัดเลือกกลุ่มเรียนละ 2 เร่ือง นาเสนอ ผ ล ง า น ป ร ะ เ ภ ท Poster แ ล ะ Oral presentation และคัดสรรผลงานวิจัยไป นาเส นอในท่ีประ ชุมระ ดับชา ติของ หน่วยงานภายนอก ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้าน ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้าน ความรู้ ด้านทักษะวิจัย รายงานการวิจัย ความรู้ ด้านทักษะวิจัย รายงานการวิจัย แตล่ ะกล่มุ เรียน และบทความวิจัยโดยกรรมการโครงการ ประชุมวิชาการฯ - 162 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กระบวนการเดิม กระบวนการใหม่ สะท้อนผลเฉพาะผู้เรียนจากการประเมิน ประชุมสรุปผลโครงการสะท้อนผล การสอน (Feedback) จากผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้สอน ผูเ้ รยี น และผู้บรหิ าร กระบวนการใหมม่ รี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ 1. วิธกี าร/แนวทางการปฏบิ ัติจริง (PDCA) การวางแผน (Plan) 1) ศึกษารายละเอียดหลักเกณฑท์ ่ีระบุตามมาตรฐานครุ ุสภา หลักสตู รผลิต ครู คาอธบิ ายรายวิชา 276-402 การวิจัยทางการศกึ ษา 2) ประชุมวางแผน โดยคณาจารย์ผู้สอนร่วมกันวางแผน มคอ.3 การ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ มีเอกสารเนื้อหาหลัก แบบทดสอบกลางภาคและ ปลายภาค รวมถึงแนวทางการวัดและประเมินผล ท้ังน้ีในส่วนของกิจกรรมการ เรียนรู้ได้ใหน้ ักศึกษาแต่ละกลุ่มเรียน ได้ลงมือปฏิบตั ิวิจัยจรงิ โดยลงพื้นท่ีสารวจ ปัญหาและเก็บรวมรวมข้อมูลในสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานวิจัย และบทความวิจัย ตลอดจนจัดประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัย โดยคัดเลือก กลุ่มเรียนละ 2 เรอ่ื ง โดยนาเสนอผลงานประเภท Poster และ Oral presentation และคดั สรรผลงำนวจิ ยั ไปนำเสนอในทป่ี ระชมุ ระดับชำตขิ องหน่วยงำนภำยนอก การดาเนินงาน (Do) 1) แต่งต้ังอาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชาฯ เพื่อประสานงานอาจารย์ ผสู้ อนและนักศกึ ษาแต่ละกลมุ่ เรียน ให้เป็นไปแนวทางเดียวกนั 2) แต่งต้ังคณะกรรมการจัดโครงการประชุมวิชาการเผยแพร่ผลงานวิจัย และนวตั กรรมทางการศกึ ษา โดยไดค้ ดั เลือกตัวแทนแต่ละกลุ่มผเู้ รียน 2-5 คน มี การแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบแต่ละฝ่าย (ดังตัวอย่างคาสั่งฯ แนบใน เอกสารอา้ งอิง) 3) ดาเนินกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน และจัดประชุมวิชาการเพื่อ เผยแพรผ่ ลงานวิจยั และนวตั กรรมทางการศึกษาภายในสถาบนั การศึกษา - 163 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การตรวจสอบ (Check) 1) ประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ด้านความรู้ และช้ินงาน โดยอาจารย์ ผ้สู อนแต่ละกล่มุ เรยี น ตามแนวทางท่ีได้ตกลงร่วมกนั 2) ประเมินชิ้นงานซึ่งเป็นบทความวิจัยท่ีนาเสนอประชุมวิชาการเผยแพร่ ผลงานวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา โดยได้เชิญอาจารย์และผู้บริหารคณะ ศึกษาศาสตร์ร่วมเป็นกรรมการตัดสินบทความวิจัยท้ังประเภท Poster และ Oral presentation 3) ประเมินโครงการประชุมวิชาการเผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ทางการศกึ ษา โดยกรรมการฝ่ายประเมินโครงการท่ีไดร้ ับการแต่งตงั้ การปรับปรุง (Action) 1) ประชุมสรุปผลโครงการ ซ่งึ พบวา่ การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้วิจัยเป็นฐาน และประชุมวิชาการเผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา เป็นการ จัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้และทักษะในการทาวิจัย จึง ควรดาเนินการตอ่ ไป 2) รายงานผลการประเมินโครงการ พบว่า มีข้อเสนอแนะท่ีสาคัญบาง ประการ ได้แก่ 1) ควรจัดประชุมนาเสนอผลงานวิจัยก่อนสอบปลายภาค 2) เปิด โอกาสให้รุ่นน้องปี 3 เข้าร่วมฟังการนาเสนอผลงานวิจัยและเรียนรู้กิจกรรมการ เรียนการสอน และ3) เชิญครใู นโรงเรยี นท่ีนักศึกษาไปรว่ มทาวิจัยมาแลกเปล่ียน เรียนรู้ 2. งบประมาณทใี่ ช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรม คณะศกึ ษาศาสตรส์ นับสนนุ งบประมาณ 10,000 บาท - 164 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures)แสดงระดบั แนวโนม้ ข้อมลู เชิง เปรียบเทยี บ (3 ปี) และ/หรือเปรยี บเทียบกับหน่วยงานภายใน/ภายนอก การเปรียบเทียบแนวโน้มของข้อมูล มีดังนี้ แผนภาพ ก แสดงถึงจานวน นักศึกษาที่ลงทะเบียนและจานวนอาจารย์ผู้สอน แผนภาพ ข แสดงถึงจานวน งบประมาณใช้ในการดาเนินโครงการประชุมวิชาการฯ ซึ่งคณะจัดสรรให้ปีละ 10,000 บาท แผนภาพ ค แสดงถึง ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในการเข้าร่วม โครงการประชุมวิชาการฯ ซ่ึงเพิ่มข้ึน และแผนภาพ ง แสดงถึงจานวนบทความ วิจัยคัดสรรไปนาเสนอในที่ประชุมระดับชาติของหน่วยงานภายนอกมีแนวโน้ม สงู ข้นึ การเรียนรู้ ( Study/Learning) 1. แผนและแนวทางการพฒั นาคุณภาพอยา่ งต่อเน่ืองในอนาคต 1) การพฒั นาอาจารยผ์ ู้สอนและครูท่ีโรงเรียน โดยอาจารยผ์ ู้สอนสามารถ นามาสงั เคราะหเ์ ปน็ ผลงานทางวชิ าการ สว่ นครูท่ีโรงเรียนสามารถนาผลงานวิจัย ไปใช้ในการเลื่อนวทิ ยฐานะ 2) ความร่วมมือกันของหน่วยผลิตและพัฒนาครูของสถาบันที่มีคณะ ศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ เพ่ือสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการ - 165 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ผลติ ครู จัดเวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานวิชาการทางการศกึ ษา และ สามารถนาผลการวิจัยไปเผยแพร่ในรูปแบบกำรตพี ิมพผ์ ลงำนวชิ ำกำร ตลอดจน กำรจดั ทำวำรสำรกำรวิจยั ทำงกำรศึกษำต่อไป 2. จุดแขง็ (Strength) หรือ สง่ิ ท่ีทาใหด้ ใี นประเดน็ ที่นาเสนอ 1) นักศึกษาได้แลกเปล่ียนเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในการทาวิจัย ทางการศึกษา และสามารถนาเสนอผลงานวิจัยไปนาเสนอในท่ีประชมุ ระดับชาติ ของหนว่ ยงานภายนอกได้ 2) การทางานร่วมกันระหว่างผู้เรียนและอาจารย์ผู้สอน โดยอาจารย์ ผ้สู อนต้องเอาใจใสด่ แู ลและให้คาแนะนาผ้เู รียนอยา่ งใกล้ชิดและสม่าเสมอ 3. กลยุทธ์ หรอื ปัจจยั ท่นี าไปสคู่ วามสาเรจ็ 1) ผูบ้ รหิ ารใหค้ วามสาคัญและสนับสนุนการดาเนนิ งาน 2) มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันของอาจารย์ผู้สอน ตามระบุ ใน มคอ. 3, โดยใช้เอกสารเนื้อหาหลัก แบบทดสอบกลางภาค และปลายภาค เปน็ ชดุ เดยี วกนั 3) เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียนท่ีฝึกประสบการณ์วิชาชีพและ มหาวิทยาลัยฝ่ายผลิต 4) การสรา้ งแรงจูงใจและรางวัลการนาเสนอ ประเภท Oral และ Poster presentation ประเดน็ (จุดเดน่ )ท่ีเป็นแนวปฏิบัติท่เี ป็นเลศิ ช่วงเวลาการเปิด-ปิดภาคเรียนของโรงเรียนกับมหาวิทยาลัยไม่ตรงกัน ทาให้ผู้เรียนมีเวลาจากัดในการลงพื้นท่ีไปดาเนินการวิจัยที่โรงเรียน เนื่องจาก ผู้เรียนต้องเรียนภาคทฤษฎีและลงมือปฏิบัติในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งโรงเรียนจะ ปดิ ภาคเรยี น - 166 -

เวทคี ุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เอกสารอ้างองิ บทความวิจัยคัดสรรไปนาเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติที่หน่วยงาน ภายนอก กิติยาพร เบ็ญเจ๊ะมะ, มรกต เพ็ชรน้อย, มุสลีนา สาแม, ฮาลีล่ี อิบราฮิม และ จิระวัฒน์ ตันสกุล. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) เร่ือง เสียงและการได้ยิน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5. กำรประชุม วิชำกำรระดับชำติ ครั้งท่ี 27 หน้ำ 691-696. วันที่ 3-6 พฤษภาคม 2560 โรงแรมบพี ี สมหิ ลาบีช มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ จงั หวัดสงขลา. สาปียะห์ ดาโอะ, ธนิษฐา หอมหวล, นัฎศิมา สามะเนี๊ยะ, ฟารีณา หมาดเต๊ะ และจิระวัฒน์ ตันสกุล. (2561). ผลการจัดการเรียนการสอนแบบ ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 40 จังหวัดปัตตานี. กำรประชุมวิชำกำรระดับชำติ ครั้งท่ี 6 หน้ำ 17-26. วันท่ี 26-27 มีนาคม 2561 มหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช. ฮสุ นา มาฮะ, นงนภัส สมคั รการ, อรวรรณ เพชรอาวธุ , อารซี าร์ ดาเจ๊ะ และจิ ระวฒั น์ ตันสกุล. (2562). การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและความพึงพอใจระหว่างการ เรียนตามสภาพจริงกับการเรียนแบบบรรยาย โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 40. กำรประชุมวิชำกำรระดับชำติมหำวิทยำลัยทักษิณ คร้ังที่ 29 หน้ำ 495-502 วันที่ 9-10 พฤษภาคม 2562 โรงแรมสยามออเรียน ทัล. สงขลา: มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ. ลตุ ฟี หะยมี ะสาและ, เกียรตยิ ศ ศภุ ชัยรัตน์, ซอแลฮะ แดเบาะ, จริ ะวัฒน์ ตัน สกุล และยพุ าวฒั น์ อุ้มชวู ัฒนา. (2562). ผลการเรียนรู้โดยใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเวบ็ Google Sites รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียน เดชะปัตตนยานุกูล จังหวัดปัตตานี. กำรประชุมวิชำกำรระดับชำติ - 167 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ มหำวิทยำลัยทักษิณ คร้ังท่ี 29 หน้ำ 1918-1925. วันที่ 9-10 พฤษภาคม 2562 โรงแรมสยามออเรียนทัล. สงขลา: มหาวิทยาลัย ทกั ษิณ. บทสรปุ การจัดการเรียนรู้โดยใช้วจิ ัยเป็นฐานเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนสูงขึ้น มีสมรรถนะในการคิดวิเคราะห์และวางแผนแก้ไขปัญหา ผู้เรียนในสถานศึกษาได้ เป็นส่ิงท่ีพึงประสงค์ของผลิตบัณฑิตครู และสอดคล้อง กับผลกำรเรียนรู้ท่ีคำดหวัง (Expected Learning Outcome: ELO) ซ่ึงเป็น สิง่ จาเปน็ ทนี่ ักศึกษาครตู อ้ งนาไปปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในสถานศึกษาต่อไป - 168 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลศิ ****************************************** เรอ่ื ง กระบวนการพฒั นาศักยภาพการวิจัย วิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี โครงการ/กิจกรรม ดา้ นงานวจิ ัย, ดา้ นบรหิ ารจดั การ ช่ือหน่วยงาน กองวิชาการและการพฒั นานักศกึ ษา วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี คณะทางานพัฒนาแนวปฏิบัติท่เี ปน็ เลศิ 1. รองอธกิ ารบดวี ิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 2. รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 3. รกั ษาการแทนคณบดีคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4. รักษาการแทนคณบดคี ณะศิลปศาสตร์และวทิ ยาการจดั การ 5. ผู้ชว่ ยอธิการบดฝี ่ายวิจยั และบณั ฑิตศึกษา 6. ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ 7. ผศ.ดร.เสถียร แปน้ เหลือ 8. ผศ.ดร.ธรี ศรสี วัสด์ิ 9. ผอู้ านวยการกองวิชาการและการพฒั นานกั ศึกษา 10. นางวิราพรรณ แสงสาคร 11. น.ส.กรวรา แก้วทอง 12. น.ส.ชนม์ธดิ า สุขเมอื ง การประเมนิ ปญั หา/ความเส่ียง ( Assessment) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ พ.ศ. 2558 – 2561 เพื่อก้าวสู่มหาวิทยาลัยเพื่อ นวัตกรรมและสังคมและมุ่งสู่มหาวิทยาลัยชั้นนา 1 ใน 5 ของอาเซียน โดยมี - 169 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เป้าหมายในการทาผลงานทางวิชาการที่มีประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนทั้งใน ระดับประเทศ ภูมิภาคเอเชียและระดับโลก โดยมีการตีพิมพ์ในวารสารระดับ นานาชาติ 0.75 papers ต่อคนต่อปี ประกอบกับการวัดมาตรฐานการประกัน คุณภาพการศกึ ษา ได้กาหนดตัวบง่ ชี้ในด้านการวิจัยดังน้ี 1. สัดส่วนของจานวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับ นานาชาตติ ่อจานวนอาจารยแ์ ละนักวจิ ัยประจาทงั้ หมด เกณฑเ์ ชงิ ปริมาณ 5 คะแนน = >0.40 เรื่องตอ่ คน 4 คะแนน = >0.30 เรอ่ื งต่อคน 3 คะแนน = >0.20 เรือ่ งต่อคน 0 คะแนน = <0.20 เรื่องตอ่ คน 2. สัดส่วนของเงินวิจัยภายนอกจากการวิจัยท้ังหมดต่อจานวนอาจารย์ ประจาและนกั วจิ ัยประจา เกณฑก์ ารประเมิน 5 คะแนน = > 83,000 บาทต่อคน 4 คะแนน = 73,000-82,999 บาทตอ่ คน 3 คะแนน = 63,000-72,999 บาทต่อคน 2 คะแนน = 53,000-62,999 บาทต่อคน 1 คะแนน = 43,000-52,999 บาทตอ่ คน 0 คะแนน = <43,000 บาทต่อคน กระบวนการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้กาหนด กรอบยทุ ธศาสตรไ์ วใ้ น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. การพัฒนาศักยภาพปัจจัยนาเข้าด้านการวิจัย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ในส่วนของปัจจัยนาเข้าด้านการวิจัยประกอบด้วย นักวิจัย ทุนวิจัย และ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ซ่ึงมีแนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านปัจจัยนาเข้า 3 ประเดน็ ย่อยดงั นี้ - 170 -

เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1.1 การพัฒนาศักยภาพการทาวิจยั ของคณาจารย์ 1.2 การส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสาย วิชาการ 1.3 การพัฒนาศักยภาพการขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกของ บุคลากรท่ีมีศักยภาพด้านการวิจัยแล้วเพ่ือเพิ่มจานวนทุนวิจัยจากแหล่งทุน ภายนอก และเพื่อให้สามารถจัดสรรทุนภายในให้แก่นักวิจัยรุ่นใหม่ที่ยังขาด ประสบการณ์การทาวิจยั และนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาได้อยา่ งเพยี งพอ 2. การพัฒนาศักยภาพด้านกระบวนการวิจัย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ดาเนินการพัฒนาศักยภาพด้านกระบวนการวิจัยภายในวิทยาเขต โดยการ ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มวิจัย หน่วยวิจัย สถานวิจัย สถานวิจัยความเป็นเลิศ หรือ สาขาความเป็นเลิศ ท่ีสอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายตามนโยบายประเทศ ไทย 4.0 เพื่อให้งานวิจัยของมหาวิทยาลัยสามารถนาไปประยุกต์ใช้งานกับ ภาคเอกชนไดจ้ ริง 3. การพฒั นาศักยภาพผลลพั ท์ด้านการวิจัย ผลลพั ทด์ ้านการวิจยั ประกอบดว้ ยการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย และการนา ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 3.1 การพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความมั่นใจในการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ เพ่ือให้มีผลงานคุณภาพระดับดีเพียงพอต่อการ ยืน่ ขอตาแหนง่ ทางวชิ าการให้ได้ตามเกณฑ์ท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด 3.2 การพฒั นาสง่ เสรมิ การนาผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ ทั้งน้ี ในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ตามกรอบยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ทก่ี ลา่ ว มาแล้วข้างต้นน้ัน ผ้บู ริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี ได้ให้ความสาคัญถึงการพัฒนาศักยภาพเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการทาวิจัย ของบุคลากรสายวิชาการเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยมีการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 0.75 papers ต่อคนต่อปี และมี ผลงานทางวิชาการที่เป็นไปตามตัวบ่งช้ใี นการวัดมาตราฐานการประกันคุณภาพ การศึกษาในระดับที่เพ่ิมข้ึน จึงเล็งเห็นถึงการพัฒนาศักยภาพด้าน - 171 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กระบวนการวิจัย ส่ิงหน่ึงคือยังมีห้องปฏิบัติการ เครื่องมือ อุปกรณ์ และ ครุภัณฑ์ คุณภาพสงู ไม่เพียงพอสาหรับการใช้งานด้านวจิ ัยและการเรียนการสอน เพื่อสร้างผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพสูงให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน และเผยแพร่ ผลงานในระดับชาติและระดับนานาชาติ จึงได้มีการจัดสรรงบประมาณจาก กองทุนวิจัยวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ในลักษณะของทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อตอบสนองต่อปัญหาข้างต้น โดยให้บุคลากรสายวิชาการรวมกลุ่มเพื่อยื่น ข้อเสนอโครงการเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาห้องปฏิบัติการท่ีมีอยู่แล้ว หรือ พัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยใหม่ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการวิจัยให้มากยิ่งขึ้น และ กาหนดผลผลิตและตัวช้วี ัดของแต่ละกลมุ่ อย่างชัดเจน เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยและสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนา ห้องปฏิบัติการวิจัย ให้มีประสิทธิภาพ มีเครื่องมือ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ ที่ พรอ้ มสาหรบั การสรา้ งผลงานวจิ ัยทีม่ ีคณุ ภาพสงู 2. เพ่ือสนับสนุนบุคลากรในการผลิตผลงานวิจัย และผลงานตีพิมพ์ เผยแพร่ 3. เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรมีผลงานทางวิชาการเพ่ือการขอตาแหน่งทาง วชิ าการ ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ 1. มีห้องปฏิบัติการวิจัยท่ีมีประสิทธิภาพ มีเครื่องมือ อุปกรณ์ และ ครุภัณฑ์ พร้อมสาหรบั การสรา้ งผลงานวจิ ัยท่ีมคี ณุ ภาพสงู 2. บคุ ลากรสรา้ งผลงานวจิ ยั และผลงานตีพิมพเ์ ผยแพร่เพ่ิมขนึ้ 3. บุคลากรมีตาแหน่งทางวิชาการเพ่มิ ขน้ึ - 172 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ การออกแบบกระบวนการ 1. วิธกี าร/แนวทางการปฏบิ ัติจริง (PDCA) กระบวนการท่ี 1 วางแผนการดาเนินงานดา้ นงานวจิ ัย เพ่อื กาหนดแนวทาง ในการพฒั นาผลงานทางวิชาการ (P : Plan) วางแผนการดาเนินงานด้านวิจัย โดยทบทวนผลการดาเนินงานและ มาวิเคราะห์หารือร่วมกับคณะกรรมการบริหารงานวิจัย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยนาข้อมูลผลงานวิจัยและผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ ปี 2557-2558 เพื่อกาหนด นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพการวิจัยในองค์กร ซึ่งผล จากการทบทวนผลการดาเนินงานพบว่า จานวนผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ของ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม คดิ เปน็ 0.31 paper/คน/ปี และ จานวนผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ คิดเป็น 0.10 paper/คน/ปี ซ่ึงต่ากว่าเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ท่ี 0.75 paper/คน/ปี เมื่อ วิเคราะห์หาสาเหตุแล้วพบว่าห้องปฏิบัติการวิจัยท่ีมีเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และ ครุภัณฑ์ ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน และเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพสูง เคร่ืองมือ เฉพาะทางมีจานวนจากัด จึงส่งผลต่อการผลิตผลงานของบุคลากรสายวิชาการ จงึ ไดก้ าหนดนโยบายและวางแผนการพัฒนาศักยภาพการวจิ ัย ดงั นี้ - 173 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการท่ี 2 การดาเนินงาน (D : Do) คณะกรรมการบริหารงานวิจัย วิทยาเขตสุราษฎณ์ธานี กาหนด ยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนานักวิจัยวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ให้มีความสามารถและ ศกั ยภาพการวิจยั ระดับทสี่ ูงขน้ึ ดังน้ี 1. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการส่งเสริมและสนับสนุนการ การพัฒนาศักยภาพการวิจัยของบุคลากรสายวิชาการ โดยการจัดสรร งบประมาณจากกองทุนวิจัยวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ในลักษณะของทุนสนับสนุน การวจิ ัย และทาประกาศทุนพัฒนาศักยภาพการวจิ ยั ขน้ึ 2. มีการกาหนดเกณฑ์การวัดผลผลิตและตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน ผ่านการ ทบทวนและเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารงานวิจัย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ดงั นี้ - ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติในฐาน ISI ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 90 หรือ SCOPUS ไม่มากกว่า ร้อยละ 10 (สาหรับคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) - ผลงานตพี ิมพ์ในวารสารวิชาการระดบั นานาชาตใิ นฐาน SCOPUS ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 60 หรือ ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการระดบั ชาติในฐาน TCI ไม่มากกว่า ร้อยละ 40 (สาหรับคณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวิทยาการจดั การ) 3. มีการประกาศทุนต้ังแต่ปีงบประมาณ 2558 เป็นต้นมา โดยให้ บุคลากรสายวิชาการรวมกลุ่มยื่นข้อเสนอโครงการเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา ห้องปฏิบัติการที่มีอยู่แล้ว หรือพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยใหม่ สนับสนุนในเร่ือง ของ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการวิจัยให้มาก ยงิ่ ข้ึน - 174 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4 . ก ลุ่ ม ผู้ รั บ ทุ น จ ะ ต้ อ ง จั ด ท า บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง รั บ ทุ น กั บ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 5. มีการรายงานผลต่อคณะกรรมการบริหารงานวิจัย วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี และคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ วจิ ยั วิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี ทุก 6 เดอื น กระบวนการท่ี 3 การตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน (C : Check) จากการกาหนดแผนงานและการดาเนินงานตามแผนงานท่ีกาหนด คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เสนอโครงการพัฒนาศักยภาพ การวิจยั จานวนท้งั ส้นิ 10 โครงการ โดยกาหนดผลผลิตและตวั ชี้วดั ดังน้ี ผลงานตีพมิ พ์ที่ ระยะเวลา ลาดบั โครงการ commit 3 ปี Commit ที่ ISI /SCOPUS ผลงาน 1. หอ้ งปฏิบตั ิการวิจยั ดา้ นชวี ภาพ 14 (4,4,6) 2558-2560 2. ห้องปฏบิ ตั ิการวจิ ยั ด้านฟิสิกส์ 4 (2,1,1) 2558-2560 3. ห้องปฏิบัติการวจิ ยั ด้านคณิตศาสตร์ 17 (5,3,9) 2558-2560 ประยุกตแ์ ละสารสนเทศ 4. ห้องปฏบิ ตั ิการวจิ ยั ดา้ นเคมพี อลิเมอร์ 23 (8,7,8) 2559-2561 5. ห้องปฏิบตั ิการวิจยั ด้านเทคโนโลยกี าร 5 (3,1,1) 2559-2561 ผลติ สตั ว์ 6. โครงการครุภณั ฑ์กลอ้ งจลุ ทรรศแบบ 2 (1,1) 2559-2560 แสงสาหรบั ทางโลหะวิทยา 7. ห้องปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั ดา้ นนวตั กรรม 15 (0,5,8) 2559-2561 อาหารและการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ 8. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิจยั ด้านเคมปี ระยกุ ต์ 23 (5,7,11) 2560-2562 9. โครงการต่อเติมสถานท่ีเพาะเลี้ยงสัตว์ 21 (6,6,9) 2560-2562 น้าและจัดหาครุภัณฑ์เพื่อการวิจัยด้าน ทรพั ยากรประมงและชายฝง่ั 10. ห้องปฏิบัติการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ 10 (2,4,4) 2561-2563 และเทคโนโลยีทางไม้ รวม 134 - 175 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ กระบวนการที่ 4 การวเิ คราะหผ์ ลสาเร็จของโครงการ (A : Action) กระบวนการวิเคราะห์ผลสาเร็จของโครงการ คณะกรรมการบริหารงาน วิจัยวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ทบทวนผลการดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค ผลผลิตและตัวชี้วัดท่ีเกิดข้ึนตามแผนงานที่วางไว้ของแต่ละโครงการ เพื่อขยาย ผลและต่อยอดการพัฒนาศักยภาพการวิจัยในระดับต่อไป เพื่อเพ่ิมขีด ความสามารถของบุคลากรในระดับท่ีสูงข้ึน จากการวิเคราะห์ผลสาเร็จของ โครงการพบว่า การได้รับการสนับสนุนงบประมาณท่ีเพียงพอในสัดส่วน 1 paper : 100,000 บาท สามารถผลิตผลงานได้เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ จากผลการดาเนินงานในการจัดสรรทนุ พัฒนาศักยภาพการวจิ ัย โครงการ พฒั นาหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิจัยด้านต่าง ๆ ทาให้ประสิทธิภาพในการทางานด้านวิจัย สูงข้ึน มีเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ ที่มีประสิทธิภาพสูง เฉพาะทาง ส่งผล ให้บุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานทางวิชาการได้เพ่ิมขึ้น โดยมีตัวอย่างของ ผลลัพธท์ ีส่ าคัญ รายละเอยี ดดังนี้ - จานวนโครงการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากภายในและ ภายนอก ประจาปีงบประมาณ 2559-2562 ปีงบประมาณ ประเภททุนท่ไี ดร้ ับ รวม ทนุ ภายใน ทุนภายนอก 2559 10 35 45 2560 8 52 60 2561 7 32 39 2562 21 42 63 หมายเหตุ : ทุนภายใน คอื งบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลยั ทุนภายนอก คอื งบประมาณแผ่นดนิ , งบประมาณจากหน่วยงานภายนอกทง้ั ภาครัฐและ เอกชน - สัดส่วนของเงินวิจัยภายนอกจากการวิจัยทั้งหมดต่อจานวนอาจารย์ ประจาและนกั วจิ ยั ประจา - 176 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีงบประมาณ คณะวิทยาศาสตร์และ คณะศลิ ปศาสตร์และ เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม วทิ ยาการจดั การ 2559 งบประมาณ คดิ เป็น 2560 รวม (บาท/คน) งบประมาณ คดิ เป็น 2561 12,204,238 115,134.32 รวม (บาท/คน) 2562 27,150,961 258,580.58 9,271,265 85,845.05 5,012,674 87,941.65 77,759,557 719,995.90 1,651,439 28,473.09 9,031,572 145,670.52 2,715,110 42,423.59 จากตาราง สัดส่วนของเงินวิจัยภายนอกต่อจานวนอาจารย์ อยู่ในระดับ 5 คะแนน (5 คะแนน = > 83,000 บาทตอ่ คน) ตามเกณฑก์ ารวัดมาตรฐานการ ประกนั คุณภาพการศึกษาระดบั คณะ - จานวนผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลวารสารวิชาการระดับชาติ และระดับนานาชาติ ประจาปี 2559-2562 ปีท่ี คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรแ์ ละวทิ ยาการ รวม พิมพ์ อตุ สาหกรรม จดั การ ISI SCOPUS TCI อืน่ ๆ ISI SCOPUS TCI อน่ื ๆ 2559 27 7 15 5 - 1 8 1 64 2560 45 5 17 1 - 4 20 - 92 2561 48 3 22 2 - 1 9 - 85 2562 49 11 29 1 - - 16 - 76 - สัดส่วนของจานวนผลงานวิจัยท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับ นานาชาติตอ่ จานวนอาจารย์และนักวิจัยประจาทง้ั หมด - 177 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ปที ่ี คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรแ์ ละวทิ ยาการ พมิ พ์ อุตสาหกรรม จดั การ ISI SCOPUS คดิ เป็น ISI SCOPUS คดิ เปน็ paper/คน/ปี paper/คน/ปี 2559 27 7 0.32 - 1 0.02 2560 45 5 0.47 - 4 0.07 2561 48 3 0.47 - 1 0.02 2562 49 11 0.56 - - 0.00 - จานวนบคุ ลากรที่ย่นื ขอตาแหนง่ ทางวชิ าการและได้รับการแตง่ ตั้งให้ ดารงตาแหนง่ ทางวิชาการ ประจาปี 2559-2562 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวิทยาการจดั การ ปี อตุ สาหกรรม พ. ผู้ชว่ ย รอง ศาสตรา การ ผชู้ ่วย รอง ศาสตรา การ ศ. ศาสตรา ศาสตรา จารย์ แตง่ ศาสตรา ศาสตรา จารย์ แตง่ จารย์ จารย์ ต้งั จารย์ จารย์ ต้งั ย่ื แตง่ ย่ื แต่ง ย่ื แตง่ คดิ ยื่ แตง่ ยื่ แตง่ ยื่ แต่ง คดิ น ต้งั น ตง้ั น ตงั้ เป็น น ตั้ง น ต้งั น ตั้ง เปน็ ข ข ข ร้อย ข ข ข ร้อย ละ อ อ อ ละ อออ ของ ของ อาจ อาจ ารย์ ารย์ ทั้งห ทงั้ ห มด มด 25 5 5 1 1 - - 5.94 - - 1 1 - - 1.64 59 25 1 9 1 1 1 - 9.43 2 2 - - - - 3.51 60 0 25 1 6 - - - - 5.71 1 1 - - - - 1.72 61 7 2 25 3 - 3 - - - 0.00 - - - - - - 0.00 62 2. งบประมาณทใี่ ช้ในการจดั โครงการ - กิจกรรม (ถ้าม)ี - 178 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ลาดบั โครงการ งบประมาณ ที่ 1,607,000 1. หอ้ งปฏิบัติการวิจยั ด้านชวี ภาพ 2. ห้องปฏบิ ตั ิการวิจยั ด้านฟิสกิ ส์ 940,000 1,730,000 3. หอ้ งปฏบิ ัติการวจิ ยั ด้านคณิตศาสตรป์ ระยกุ ตแ์ ละ สารสนเทศ 2,150,000 4. ห้องปฏิบตั ิการวิจยั ด้านเคมีพอลิเมอร์ 5. หอ้ งปฏิบตั กิ ารวจิ ยั ด้านเทคโนโลยกี ารผลิตสัตว์ 524,136 6. โครงการครุภณั ฑ์กล้องจลุ ทรรศแบบแสงสาหรับทาง 210,500 โลหะวิทยา 7. ห้องปฏบิ ัติการวจิ ยั ดา้ นนวัตกรรมอาหารและการพฒั นา 1,365,000 ผลติ ภณั ฑ์ 8. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั ด้านเคมีประยกุ ต์ 2,414,707 9. โครงการต่อเติมสถานท่ีเพาะเล้ียงสัตว์น้าและจัดหา 2,091,500 ครภุ ณั ฑ์เพอื่ การวจิ ัยด้านทรัพยากรประมงและชายฝ่ัง 10. หอ้ งปฏิบัติการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทาง 1,000,000 ไม้ รวม 14,032,843 - 179 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measures)แสดงระดับแนวโน้มข้อมลู เชิง เปรยี บเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับหนว่ ยงานภายใน/ภายนอก จากการดาเนินงานการสง่ เสริมและสนับสนุนการพัฒนาศกั ยภาพการวิจัย โดยการจัดสรรทุนสาหรับโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยด้านต่าง ๆ ทาให้ บุคลากรสายวิชาการที่ย่ืนขอรับทุนมีผลงานทางวิชาการเพ่ิมข้ึนเป็นไปตาม เปา้ หมาย ผลผลิตและตัวชี้วดั โดยมผี ลการดาเนินงานดังน้ี จากผลการดาเนินงานการพัฒนาศักยภาพการวิจัย โดยการสนับสนุน งบประมาณในโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยด้านต่าง ๆ ทาให้ผลผลิตและ ตัวช้ีวัดผลิตเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ผลงานทางวิชาการต่าง ๆ มี แนวโน้มสงู ขนึ้ แสดงได้ตามแผนภมู ิดงั นี้ - 180 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แผนภมู แสดงผลการดาเนนิ งานการพฒั นาศักยภาพการวจิ ัย โครงการพฒั นาห้องปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั ด้านต่าง ๆ โครงการวจิ ยั … ผลงานตพี มิ พ์ ระดับนานาชาติ หนังสือ… สิทธิบตั ร/อนุ Proceed… สิทธิบตั ร ผลิตภัณฑ/์ นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ การบริการ วิชาการ แผนภูมิแสดงจานวนผลงานตีพมิ พเเผยแพร่ ประจาปี 2559-2562 60 2560 2561 2562 50 40 30 20 10 0 2559 ISI SCOPUS - 181 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ การเรยี นรู้ ( study/Learning) 1. แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งตอ่ เน่ืองในอนาคต 1) กาหนดเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพการวิจัยให้มีประสิทธิภาพ สูงขึ้น มีการสร้างนวัตกรรม องค์ความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนอย่าง แท้จริงและย่ังยืน 2) ส่งเสริมบุคลากรสายวิชาการในการพัฒนาตนเองเพ่ือเพม่ิ ศกั ยภาพการ วจิ ยั ในระดับทสี่ งู ข้นึ 2. จุดแขง็ (Strength) หรือ ส่ิงทท่ี าไดด้ ีในประเดน็ ที่นาเสนอ 1) ผู้นาและผู้บริหารทุกระดับให้ความสาคัญกับการพัฒนาผลงานทาง วิชาการของบุคลากรสายวิชาการ และดาเนินการด้วยตัวเองในการส่งเสริมและ สนบั สนุนการทางานทม่ี ุ่งผลสมั ฤทธ์ิ 2) บุคลากรมีศกั ยภาพทางวชิ าการสงู มีความรู้ ความสามารถ และมุ่งม่ัน ในการพัฒนาศักภาพการวิจัยให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เพื่อให้องค์กรบรรลุ วิสยั ทัศนพ์ นั ธกิจ 3. กลยุทธ์ หรอื ปจั จยั ทนี่ าไปสคู่ วามสาเร็จ 1) วสิ ยั ทศั นข์ องผู้นาองค์กร 2) การมุง่ เน้นผลสัมฤทธิข์ องกระบวนการทางานให้เกิดประสิทธภิ าพ 3) การสร้างขวญั และกาลังใจในการทางานของบุคลากรในองค์กร ประเดน็ (จุดเด่น)ทเี่ ป็นแนวปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลิศ โครงการพฒั นาหอ้ งปฏบิ ัติการวจิ ยั โดยการจัดสรรทนุ พัฒนาศกั ยภาพการ วิจัย เพ่ือการปรับปรุงและพัฒนาห้องปฏิบัติการท่ีมีอยู่แล้ว หรือพั ฒนา ห้องปฏิบัติการวิจัยใหม่ สนับสนุนในเร่ืองของ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ ที่มีประสิทธิภาพสูง เคร่ืองมือเฉพาะทาง ทาให้มีประสิทธิภาพการวิจัยสูงขึ้น มี การกาหนดเกณฑ์การวัดผลผลิตและตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน ประกอบกับมีการติดตาม และรายงานผลการดาเนินงาน ทุก 6 เดือน เพื่อให้คณะกรรมการทบทวนผลการ ดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น ให้ข้อเสนอเสนอแนะและหาแนว ทางการแก้ไขปัญหาต่อไป เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุเป้าหมายท่ีได้วางแผนไว้ - 182 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ของโครงการ ส่งผลให้การผลิตผลงานทางวิชาการมากข้ึนและมีคุณภาพมาก ยง่ิ ขึ้น เอกสารอา้ งองิ 1 . ฐ า น ข้ อ มู ล ผ ล ง า น วิ จั ย ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ง า น วิ จั ย มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (PRPM) 2. ฐานข้อมลู ผลงานตีพิมพ์ ระบบสารสนเทศบริหารงานบคุ คล (HRMIS) 3. ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เร่ือง ทุนพัฒนาศักยภาพการ วิจยั วิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี 4. แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2558-2561 5. ตัวบ่งช้ีในการ commit KPIs การวัดมาตรฐานการประกันคุณภาพ การศกึ ษา 6. ข้อมูลการขอตาแหน่งทางวิชาการและจานวนอาจารย์จากบริหารงาน บคุ คล วทิ ยาเขตสุราษฎร์ธานี ขอ้ มลู ณ วันที่ 20 มกราคม 2563 บทสรุป มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้พัฒนา กระบวนการพัฒนาศักยภาพการวิจัยขององค์กร ผ่านกระบวนการจัดสรรทุน สาหรับโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัย เพ่ือให้บุคลากรรวมกลุ่มและยื่นขอ ทุนเพื่อดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาห้องปฏิบัติการท่ีมีอยู่แล้ว หรือพัฒนา ห้องปฏิบัติการวิจัยใหม่ โดยการจัดซื้อ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ ที่มี ประสิทธิภาพสูง เคร่ืองมือเฉพาะทาง ให้เหมาะสมกับการดาเนินงานด้านวิจัย และการเรียนการสอน ทาให้บุคลากรมีเป้าหมาย ผลผลิตและตัวชี้วัดของกลุ่ม ร่วมกัน ร่วมมือกันจัดทาผลงานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้และประสบ ความสาเร็จร่วมกัน จากการดาเนินงานพบว่า จานวนผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ใน ระดับนานาชาติ จากปี พ.ศ. 2557 (33 paper) เพ่ิมขึ้นในปี พ.ศ. 2562 (60 paper) คิดเป็นรอ้ ยละ 81.82 บุคลากรสายวิชาการทยี่ ื่นขอทุนเพ่ือดาเนิน โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการด้านวิจัยส่วนใหญ่เป็นบุคลากรจากคณะ - 183 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาศาสตร์และเทคโลโนยีอุตสาหกรรม ผลการดาเนินงานโครงการส่งผลให้ องค์กรมีผลงานวิจัยเพ่ิมขึ้นเมื่อคิดสัดส่วนของเงินวิจัยภายนอกจากการวิจัย ทั้งหมดต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาแล้ว ทาให้ผลประเมนิ อยู่ใน เกณฑ์ระดับ 5 ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ จาก 0.31 paper/คน/ปี เพิ่มขึ้นเป็น 0.56 paper/คน/ปี ส่งผลให้บุคลากรมีผลงานเพือ่ ขอตาแหน่งทางวิชาการและ ได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งทางวิชาการเพิ่มข้ึนจากปี พ.ศ. 2557 จานวน 17 คน ในปี พศ. 2562 บุคลากรได้รับแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งทางวชิ าการ จานวน 51 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 200 - 184 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลศิ ****************************************** เรื่อง Infographic เพ่ือการประชาสมั พันธ์และงานบรกิ ารนักศกึ ษา โครงการ/กิจกรรม ดา้ นการเรียนการสอนและคุณภาพบณั ฑิต ช่ือหน่วยงาน หนว่ ยทะเบยี นและประเมนิ ผลการศกึ ษา คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะทางานพัฒนาแนวปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลิศ 1. น.ส.ละอองดาว พวงแก้ว 2. น.ส.จตุรพร สอนจติ 3. นางวติ ชุณีย์ ศรยี ะพนั ธ์ การประเมนิ ปญั หา/ความเสี่ยง ( Assessment) การออกแบบส่ือประชาสัมพันธ์ เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ ในช่องทาง การส่อื สารต่าง ๆ ในปัจจบุ ัน ไดม้ กี ารเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เม่อื กอ่ นเป็น การปิดประกาศข้อความยาว ๆ หลาย ๆ หน้า ทาให้ไมน่ ่าอ่าน ไมน่ ่าสนใจ ซึ่งใน ปัจจุบันได้มีการนาการออกแบบแนวอินโฟกราฟิก (Infographic) ท่ีได้รับความ นิยมเป็นอยากมาในการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณา สินค้า ข่าวสารต่าง ๆ บน โลกโซเซียล โดยลักษณะของการออกแบบแนวอินโฟกราฟิก จะเป็นการนา ข้อความหรือตัวเลข มาสรุปและสื่อสารผ่านข้อความสั้น ๆ รูปภาพ แผนภูมิ กราฟ หรือสัญลักษณ์ออกมาเป็นภาพนิ่ง ให้ง่ายต่อการเข้าใจโดยไม่ต้องอธิบาย เหมาะสาหรับยุคปัจจุบันท่ีใช้ชีวิตแบบรีบเร่ง (Kai, 2013) ประกอบกับใน ปัจจบุ ันช่องทางการส่อื สารท่ไี ด้รับความนยิ มจะเปน็ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Line, Instagram เป็นต้น มีข้อดีท่ีสามารถถาม-ตอบ กันได้อย่าง รวดเร็วทนั ใจ อีกทงั้ แชร์ขอ้ มูลท่เี ราโพสต์ตอ่ ๆ กันอยา่ งกวา้ งขวาง จากสถติ แิ ละ พฤติกรรมการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของประเทศไทยโดย We are Social - 185 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ บริษัทเอเจนซี่จากสหราชอาณาจักรและ Hootsuit (2019) ผู้ให้บริการ การตลาดบนโซเชียลมีเดีย รายงานว่ากลุ่มผู้ใช้ Social Media ในประเทศไทย ส่วนใหญอ่ ย่ใู นวยั 18 - 34 ปี และ Facebook เป็นอันดบั 1 ของ Social Media ทีค่ นไทยนยิ มมากท่ีสดุ และมีอทิ ธพิ ลต่อการดาเนินชวี ิตในประจาวนั ดังน้ันทางผู้จัดทาจึงได้นาการออกแบบส่ือการประชาสัมพันธ์ที่เรียกว่า อินโฟกราฟิค (Infographic) มาสร้างสื่อการประชาสัมพันธ์ข่าวสารทางสาร ทางการศึกษา เพ่ือให้นักศึกษาเข้าใจง่ายและดึงดูดความสนใจในการรับทราบ ข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาคณะทรัพยากรธรรมชาตมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1.ผลิตสื่อการประชาสัมพันธ์ท่ีน่าสนใจ ง่ายต่อการเข้าใจและเข้าถึงของ นกั ศกึ ษา 2.เพอื่ ให้นกั ศกึ ษามีการแชร์ขอ้ มูล ข่าวสาร ได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง 3.เพ่อื ลดปรมิ าณการใช้กระกระดาษในการประชาสัมพนั ธข์ ่าวสาร 4.เพ่ือให้นักศึกษาสามารถแสดงความรู้สึกหรือตอบโต้กันได้ระหว่าง ผู้ส่งสารและรบั สารอย่างรวดเร็ว ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 1.นักศกึ ษาใหค้ วามสนใจและมีส่วนรว่ มกับข่าวสารทป่ี ระชาสัมพนั ธ์ 2.สามารถเผยแพร่ขา่ วสารไดห้ ลากหลายในเวลาอันรวดเรว็ 3.ลดปริมาณการใชก้ ระดาษ 4.สามารถแสดงความรูส้ ึกหรอื ตอบโต้กันได้ระหวา่ งผู้สง่ สารและรบั สาร อยา่ งรวดเร็ว - 186 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ การออกแบบกระบวนการ 1. วิธีการ/แนวทางปฏบิ ตั จิ ริง (PDCA) 2. งบประมาณท่ใี ช้ในการจดั โครงการ-กจิ กรรม ไม่มี - 187 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures)แสดงระดับแนวโนม้ ข้อมลู เชิง เปรยี บเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรยี บเทียบกับหนว่ ยงานภายใน/ภายนอก การเข้าถึงขอ้ มูลของนักศึกษาแบบเดมิ ท่ีปิดประกาศขา่ วสารบริเวณบอร์ด ประชาสัมพันธ์มีนักศึกษาเข้ามาดูหรืออ่านจานวนน้อย นักศึกษาจะเข้ามาเป็น ช่วง ๆ ประมาณวันละ 10 - 20 คน เมื่อมีการนาบทความหรือข้อมูลมา ออกแบบในลักษณะอินโฟกราฟิคเผยแพร่ใน Facebook พบว่านักศึกษาเข้าถึง ข้อมูเพ่ิมมากขึ้น จากข้อมูลการเข้าถึงโพสของนักศึกษาอยู่ท่ีประมาณ 300 - 400 คน และยอดแชรอ์ ยู่ที่ 50-100 แชร์ ทาให้ปัญหาการเข้าถงึ ขา่ วสาร ของนักศกึ ษาลดลง การเรยี นรู้ ( Study/Learning) 1. แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เนอื่ งในอนาคต - ให้เจ้าหน้าท่ี/คณะทางาน เข้าร่วมอบรมการออกแบบส่ือ Infographic โดยใช้โปรแกรมต่าง ๆ เพื่อนาองค์ความรู้มาปรับใช้ในการออกแบบสื่อการ ประชาสัมพนั ธ์ให้ดยี ิ่งขน้ึ - ทาแบบสารวจความต้องการของ ช่องทางการรับทราบข่าว ประชาสมั พันธข์ องนกั ศึกษา - ทาแบบสอบถามความพึงพอใจและไม่พึงพอใจต่อส่ือและรูปแบบของ การประชาสัมพนั ธ์ข่าวสารของนกั ศึกษา 2. จุดแขง็ (Strength) หรอื ส่ิงทท่ี าใหเ้ กิดประเด็นทน่ี าเสนอ - นักศึกษาไม่ชอบอ่านบทความหรือข้อความยาว ๆ ดังน้ันการการ ออกแบบส่ือ Infographic ที่มีการสรุปเป็นข้อความสั้น ๆ ออกมาเป็นตัวเลขหรือ รปู ภาพทาให้นักศกึ ษาเขา้ ใจได้ง่ายและดงึ ดูดความสนใจ - นกั ศึกษานยิ มใช้ Facebook ทาใหก้ ารประชาสมั พนั ธโ์ ดยสื่อทีอ่ อกแบบ Infographic สามารถเข้าถึงนักศกึ ษาไดง้ า่ ย และนักศกึ ษามกี ารแชร์ต่อ ๆ กนั - 188 -

เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 3. กลยุทธ์ หรอื ปัจจยั ที่นาไปสู่ความสาเรจ็ - มีการติดตามและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา เกี่ยวกับส่ือท่ี ประชาสมั พนั ธแ์ ละชอ่ งทางการประชาสัมพันธ์ - มีการการพัฒนาและใช้ส่ือการประชาสัมพันธ์ รวมท้ังช่องทางการ ประชาสัมพันธใ์ ห้เขา้ กับยคุ ปจั จบุ ันเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของนักศึกษา ประเด็น(จุดเด่น)ท่เี ปน็ แนวปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ 1. การออกแบบส่ืออินโฟกราฟิค (Infographic) เป็นการสรุปข้อความ หรือบทความยาว ๆ ให้ส้ันกระชับนาเสนอออกมาเป็นตัวเลขหรือรูปภาพทาให้ นักศึกษาง่ายต่อการเข้าใจ และมีการใส่ QR Code เพื่อนอ่านรายละเอียด เพิม่ เตมิ 2. ใช้ Facebook ซ่ึงเป็น โซเชียลมีเดียท่ีนักศึกษาใช้มากที่สุด ในการ ประชาสมั พันธข์ า่ วสารทาใหค้ วามตอ้ งการสือ่ สารมีประสิทธภิ าพ เอกสารอ้างองิ Kai, W. 2013. Infographics & data visualizations. Hong Kong: Design Media. We Are Social and Hootsuite. 2019. DIGITAL 2019: Global digital overview. Retrieved From https://datareportal.com/ reports/digital-2019-global-digital-overview บทสรปุ การออกแบบส่ืออินโฟกราฟิค (Infographic) เป็นการสรุปบทความหรือ ข้อความออกมานาเสนอในรปู แบบของตัวเลขหรือรูปภาพ งา่ ยต่อการเข้าใจและ จดจา ทาให้ดึงดูดความสนใจของนักศึกษาท่ีจะเข้าถึงข่าวสาร พร้อมท้ังนาสื่อที่ ได้ไปเผยแพร่ใน Fcaebook ซ่ึงเป็นโซเชียลมีเดียที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิต - 189 -

เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ของนักศึกษา ทาให้การส่งสารไปยังผู้รับสารมีประสิทธิภาพ นักศึกษามีการแชร์ ข้อมลู และสามารถถาม-ตอบ กนั อย่างรวดเรว็ ระหว่างผ้สู ง่ สารและผูร้ บั สาร - 190 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ ****************************************** เรื่อง โครงการวจิ ัยและพัฒนางานเชงิ นวัตกรรม : การประดษิ ฐ์อุปกรณล์ ้าง ตา และท่ีลา้ งตัวฉกุ เฉนิ (Emergency eyewash fountain and safety shower) โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นการเรยี นการสอนและคุณภาพบัณฑิต ช่ือหน่วยงาน หนว่ ยอาคารสถานทแี่ ละยานพาหนะ คณะทรพั ยากรธรรมชาติ คณะทางานพัฒนาแนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ 1. นายณรงค์ ทองนวล ช่างฝมี ือโรงงาน 2. นายโสธร เดชนครนิ ทร์ นกั วชิ าการอุดมศึกษา 3. นายวศิ รตุ น่นุ เกลี้ยง วิศวกร 4. นายสนิ พรหมเทพ นายช่างเทคนคิ 5. นายอานาจ ยอดมุณี ผู้ช่วยชา่ งทั่วไป การประเมินปัญหา/ความเส่ียง ( Assessment) คณะทรัพยากรธรรมชาติ (Faculty of Natural Resources) ได้รับการ จัดตั้งและประกาศในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 92 ตอนที่ 217 ลงวันท่ี 21 ตุลาคม 2518 โดยมีวตั ถุประสงค์เพอื่ ปฏิบัติงานวิชาการ และการพัฒนาองค์ ความรู้ต่าง ๆ ด้านการเกษตร การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ ทรัพยากรท่ีสามารถฟ้ืนฟูได้ ซึ่งปัจจุบันได้เปิดการเรียนการสอน จานวน 3 สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ , สาขาวิชานวัตกรรมการผลิตสตั ว์และการจัดการ และสาขาวิชาวารชิ ศาสตร์และ นวัตกรรมการจดั การ ท้ังนี้ จากการเรียนการสอน การวิจัย และการให้บริการด้านวิเคราะห์ ตัวอย่างที่เพิ่มมากขึ้น ทาให้เจ้าหน้าที่ประจาห้องปฏิบัติการ นักศึกษา รวมถึง - 191 -

เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ คณาจารย์ที่ปฏิบัติงานการเรียนการสอน (Lab) จึงมีความเส่ียงสูงท่ีจะเกิด อุบัติเหตุจากการสัมผัสสารเคมีและสารเคมีหกราดตัว หรือกระเด็นเข้าตา อาจ ส่งผลอันตรายถึงข้ันเสียชีวิต หรือทุพลภาพได้ ดังน้ัน คณะทางานจึงมีความ สนใจในการประดิษฐ์อุปกรณ์ล้างตา และท่ีล้างตัวฉุกเฉิน ในห้องปฏิบัติการของ ศูนย์ปฏิบัติการวิเคราะห์กลาง งานสนับสนุนวิจัยและบ่มเพาะวิชาชีพ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุท่ีจะเกิด ขึ้นกับผู้ปฏบิ ัติงาน เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพื่อป้องกันอันตรายจากสารเคมหี กราดตัว หรือกระเดน็ เข้าตา 2. เพอื่ ประดษิ ฐ์อุปกรณ์ล้างตา และทล่ี ้างตัวฉุกเฉนิ 3. เพ่อื ทาให้เกิดความปลอดภยั ในห้องปฏบิ ตั กิ าร ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั 1. ห้องปฏิบัตกิ ารมคี วามปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน 2. ไดอ้ ุปกรณล์ า้ งตา และที่ลา้ งตัวฉุกเฉิน 3. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารมีความเป็นมาตรฐาน การออกแบบกระบวนการ 1. แนวทางการปฏบิ ตั จิ รงิ 1) ดาเนินการศึกษาข้อท่เี ก่ียวขอ้ งกบั มาตรฐานห้องปฏบิ ัติการ และขอ้ มูล ทเี่ กี่ยวกับอุปกรณ์ล้างตา และทลี่ ้างตัวฉุกเฉิน ท่ีป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ สารเคมีหกราดตัว หรือกระเด็นเข้าตา จากเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆ เพ่ือนา ขอ้ มูลมาใชใ้ นการออกแบบ - 192 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2) ดาเนินการออกแบบอุปกรณ์ล้างตา และที่ล้างตัวฉุกเฉิน ตามแนว ป ฏิ บั ติ เ พ่ื อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร (Safety Guideline for Laboratory) 3) ดาเนินการจดั ซ้ือวัสดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการประดิษฐ์อุปกรณล์ ้างตา และที่ ลา้ งตัวฉุกเฉิน 4) ดาเนินการประกอบอุปกรณ์อางลางตาและชุดล้างตัวฉุกเฉินตาม มาตรฐาน (ANSI Z358.1-1998:American National Standard Institute) - 193 -

เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 5) ดาเนินการติดต้ังอุปกรณ์ล้างตา และท่ีล้างตัวฉุกเฉิน บริเวณบริเวณ ศูนย์ปฏิบัติการวิเคราะห์กลาง งานสนับสนุนวิจัยและบ่มเพาะวิชาชีพ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ 6) ดาเนนิ การทดลองใช้งานอุปกรณล์ ้างตา และที่ล้างตัวฉุกเฉิน พร้อม เก็บข้อมลู การใช้งานอปุ กรณ์ 7) สรปุ ผลการใช้งาน และรายงานทแี่ สดงถึงการเปรียบเทียบต้นทนุ ท่ี ดาเนินการกบั การสั่งซื้อสาเรจ็ รปู 8) ดาเนนิ การแก้ไข ปรับปรงุ และพัฒนาอปุ กรณ์ 9) ดาเนินการถา่ ยทอดความรู้ให้ห้องปฏบิ ัติการตา่ ง ๆ ในคณะฯ รวมทั้ง คณาจารยท์ ี่สนใจได้รับทราบ 2. งบประมาณทีใ่ ช้ในการจดั โครงการ งบประมาณทใี่ ช้ในโครงการวิจัยครงั้ น้ี ใช้งบประมาณรวมท้ังส้นิ 10,000 บาท ดงั นี้ รายการ จานวน จานวนเงนิ 2 ตัว 10,000 บาท 1. ค่าวัสดุ 7,000 บาท 1.1 อุปกรณ์ในการประดษิ ฐอ์ ุปกรณ์ล้างตา และท่ลี า้ งตวั ฉุกเฉนิ ประกอบดว้ ย - ข้องอ ชขนาด 1 1 นวิ้ เหลก็ 4 - 194 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook