Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่าขานตำนานวัดเหล่าไชย (วัดเหล่าน้อย)

เล่าขานตำนานวัดเหล่าไชย (วัดเหล่าน้อย)

Published by jamesjom289, 2020-06-23 07:37:11

Description: เรื่องเล่าตำนานวัดเหล่าน้อยนี้ได้จัดเขียน และเรียบเรียงขึ้นตามเจตนารมณ์ พระครูสุธรรมจินดากร เจ้าอาวาสวัดเหล่าน้อย เพื่อถวายเป็นเกียรติประวัติของวัด และให้สาธุชนได้รับรู้ถึงความเป็นมาเป็นไปของ
วัดเหล่าน้อย โดยเนื้อหาด้านในได้แบ่งเป็นสามตอนใหญ่ ๆ
๑. ประวัติวัดเหล่าน้อย
๒. ประวัติการก่อสร้างพระพุทธศรีวรมุนีนาถ (พระเจ้าต๋นหลวง)
๓. ประวัติหลวงปู่ครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร อดีตเจ้าอาวาส
วัดเหล่าน้อย
โดยเนื้อหาใจความทั้งสามตอนนี้ได้ทำการเรียบเรียง และเขียนพรรณนาบทความ ประพันธ์บทกลอนบางส่วนโดย พระสมุห์อาทิตย์ อินฺทปญฺโญ วัดเหล่าน้อย ซึ่งมีหลักฐานปรากฏในแหล่งอ้างอิงต่าง ๆ ที่ได้รับมาจากลิขิตของหลวงปู่ครูบามาแก้ว และแหล่งข้อมูลเอกสารทางราชการ ที่ได้ค้นพบ
ดังนั้นหนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมหลักฐาน ตามที่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรที่หลวงปู่ครูบามาแก้วได้เขียนไว้แล้วอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ หากมีเนื้อหาส่วนหนึ่งส่วนใดขาดตกบกพร่อง จึงขออภัยล่วงหน้ามา ณ ที่นี้

***หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์เพื่อเผยแผ่เป็นธรรมทาน โดยมิได้แสวงหาผลประโยชน์ใด ๆ ทั้งสิ้น***

Search

Read the Text Version

๔๒ ๑๔ สันนิษฐานวา่ เม่ือหลวงป่ ทู ่านอายไุ ด้ ๑๒ ปี จึงได้บรรพชา ณ วดั เหล่าหลวง ตาบล ล้อมแรด อาเภอเถิน จังหวัดลาปาง ในปี พุทธศกั ราช ๒๔๕๑ ต่อมาไดอ้ ุปสมบท ณ พทั ธสีมา วดั ลอ้ มแรด ตาบลลอ้ มแรด อาเภอ เถิน ในปี พุทธศักราช ๒๔๕๖ โดยมีหลวง พ่อพระครูสัทธรรมรังษี วดั ล้อมแรด เป็ น พระครูสทั ธรรมรังษี พระอุปัชฌาย์ และไดม้ อบฉายานามอนั เป็น พระอุปัชฌาย์ หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ซ่ือเรียกทางธรรมว่า “ธมฺมลงฺกาโร” โดยประกอบวิภตั ติตามหลกั ภาษาบาลี มาจากรากศพั ท์ วา่ ธมฺม + อลงฺกาโร แปลว่า “ผ้มู ธี รรมะเป็ นเคร่ืองอลังการ” หรือ “ผ้มู ธี รรมะเป็ นเครื่องประดับ”๑๕ หลวงป่ คู รูบาท่านก็ไดจ้ าพรรษาอยทู่ ่ีวดั เหล่าหลวง ในขณะที่ทา่ นไดอ้ ายุ ๒๓ ปี ตรงกบั จุลศกั ราช ๑๒๘๑ (พุทธศกั ราช ๒๔๖๒ ) ท่านก็ไดแ้ ต่งคมั ภีร์สวด เบิกถวายเป็ นพุทธบูชาไวก้ บั พระพุทธศาสนา และท่านก็ไดเ้ ขียนคาภีร์อีก มากมายหพลระาคยรสูสัทิบธรเรลม่มรงั ษแี ต่ดว้ ยภาระ และหนา้ ท่ตี ลอดถึงปฏิปทาอนั น่าเล่ือมใส ชาวบพาร้ ะนอปุกัช็ตฌ่าายง์ หพลาวงกปู่คนั รูนบาามาขแนัก้วดอกไม้ ไปขออาราธนาท่านจากวดั เหลา่ หลวงให้ มาพานกั พกั อยู่ ณ วดั เหล่านอ้ ย แลว้ ขอแต่งต้งั ให้ดารงตาแหน่งเป็นเจา้ อาวาส ๑๔ ภาพถ่ายพระครูสทั ธรรมรงั สี, ปฏิทนิ วดั ล้อมแรด, แจกปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓. ๑๕ แปลบาลีโดย ๑) ดร.ณวพงศธ์ ร นิติภวู นนท์ ปธ.๙ มจร.เขตนครสวรรค์ ๒)พระ มหาเป็นหน่ึง สุนฺทรเมธี ปธ.๙ วดั บรมวงศอ์ ิศรวรารามวรวหิ าร จงั หวดั อยธุ ยา.

๔๓ เมอื่ วนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๔๙๐ หลวงป่ ู ครูบาท่านไดจ้ บการศึกษานักธรรมช้นั ตรี๑๖ ท่านก็ ไดท้ าหน้าที่ทานุบารุงศาสนวตั ถุของวดั เหล่าไชย หรือวดั เหล่านอ้ ยโดยมไิ ดข้ าด กาลคร้งั หน่ึงดว้ ยเหตุ จาเป็ นไดเ้ กิดอทุ กภยั ท่านจึงไดน้ าคณะศิษยานุศิษย์ ยา้ ยวดั และทาการต้งั วดั ใหมโ่ ดยอาราธนาพระพทุ ธ ปฏิมา และองค์อคั รสาวกอีก ๒ องค์ข้ึนจากวดั เดิม (เหล่าไชย) เม่ือวนั เสาร์ ที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๐๐ (ข้ึน ๑๑ ค่า เดือน ๘ เหนือ) มีคณะนกั บุญขุนธรรม พระพทุ ธรูป ประจาตวั ร่วม ๒๐๐ กว่าคน พระภิกษุสามเณร ร่วม ๓๐ คน ทหี่ ลวงป่ ูครูบามาแก้ว ได้แกะสลกั ขนึ้ และไดส้ ร้างวหิ ารข้ึนในปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ เพือ่ ครอบพระพุทธปฏมิ ากรที่ ชักลากมาน้ัน ต่อมาไดด้ าเนินสร้างกุฏิสงฆ์ ข้ึนมาหลายหลงั (ปัจจุบนั ยงั คงเหลือกุฎิไม้ หลงั ใหญ่ ๑ หลงั ) ดว้ ยเนกขมั มะบารมที ี่หลวง ปไ่ดูไป้ดร้อาอกกฏบมวศี ชษิ มยาานแุศลิษะยไม์ ดาทส้ กห่ี ะลพมวสรางปะยม่คูพทรบทุูบี่คาาธมอเราพยูปแกต็ญว้ปิดมไรดตะาแ้ จากจาะมึงสตลวั กั ขนึ้ ท่าน และศรทั ธาในตวั ของท่าน ท่านจึงไดด้ าริ คิดเริ่มสร้างวดั ศิลาวารี (วดั ดอยต๊อก) ตาบล เถินบุรี อาเภอเถิน จังหวดั ลาปาง พร้อมท้ัง ภาพถ่ายหลวงป่คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ส ร้ า ง พ ร ะเ จดี ย์บ รรจุพ ระ บร มสารี ริ ก ธาตุ ณ วดั ศิลาวารี (วดั ดอยตอ๊ ก) จ.ลาปาง ๑๖ วดั เหลา่ นอ้ ย, บัญชีพระคณาธกิ ารเจ้าอาวาสวดั เหล่าน้อย, ปี ๒๕๐๔, (อดั สาเนา).

๔๔ พระพุทธรูป และไดพ้ รรณนาคาไหวพ้ ระธาตุดอยต๊อกเป็ นภาษาบาลีไว้ ว่า “โกนะ ตัสสะ ปัพพะเต คูหา อะรันเย พุทธปาเต โกตะเม เจติยงั พุทธรูปัง อะหังวนั ทามิสัพพะทา อะหังวนั ทามิธาตุโย อะหังวนั ทามิทุระโต อะหัง วนั ทามิสัพพะโส”๑๗ แต่เน่ืองดว้ ยไมม่ ีการพิมพแ์ จกจา่ ยจึงไม่ค่อยปรากฏให้ เห็นมากนกั ตอ่ มาท่านนาพาคณะศรัทธาตลอดจนถงึ รบั นิมนตจ์ ะศรัทธาทเี่ ขา้ มาขออาศยั บารมี ให้เมตตาไปเป็ นองคป์ ระธานในการสร้างวดั “วดั เขาแกว้ ชัยมงคล อาเภอทุ่งเหสี่ยม เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ด้วยเมตตา และเพ่ือเผยแผ่ พระศาสนา หลวงป่ ูครูบาจึงไดจ้ ดั สร้างกุฎิข้ึนมา ๑ หลังตลอดจนถึงสร้าง วิหารเพ่อื เป็นทบี่ าเพญ็ บุญของคณะศรทั ธาอกี ๑ หลงั และไดต้ ้งั ชื่อนามวดั ให้ เป็นสิริมงคลว่า วดั วงั ตอ๊ งดอย พ.ศ. ๒๔๙๑ ปัจจบุ นั มี พระครูชยั รัตนบรรพต หรือ (พระอาจารยภ์ ไู ทย ปภากาโร) เป็นเจา้ อาวาส”๑๘ ๑๗ หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมั มลงั กา,สมุดเล่ม ๑, แปลโดย พระครูสุธรรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั เหลา่ นอ้ ย. ๑๘ คม.ชัด.ลึก,สักการะพระบรมสารีริกธาตุวัดเขาแก้วชัยมงคล,[ออนไลน์], แ ห ล่ ง ท่ี ม า :https://www.komchadluek.net/news/lifestyle/๑ ๕ ๑ ๘ ๘ ๑ ? Utm _source =slide _relate&utm_medium=internal_referral [๔ พฤษภาคม ๒๕๖๓].

๔๕ ปาฏหิ ารยิ ์หลวงป่ คู รูบามาแก้ว (ภาพถ่ายตาราที่หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ได้เคยศึกษา และจารึกไว้บน กระดาษสา ด้วยภาษาล้านนา) หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ท่านได้ร่าเรียนวิชาศาสตร์มนต์ และยนั ต์ ต่าง ๆ จากครูบาหลวงโพธ์ิ เจ้าอาวาสวัดเหล่าหลวง ตาบลล้อมแรด อาเภอเถิน จงั หวดั ลาปาง เม่ือร่าเรียนใกลจ้ ะเสร็จท่านไดแ้ ยกมาอย่วู ดั เหล่า ไชย หรือวดั เหลา่ นอ้ ยในปัจจบุ นั และเป็ นผไู้ ดน้ าวชิ ามาใชจ้ นผคู้ นในอาเภอ เถิน และอาเภอใกลเ้ คียงต่างราลือกนั ว่าเป็ นหลวงป่ ูครูบาตาทิพย์ เนื่องดว้ ย เหตุการณ์คร้ังหน่ึงท่านไดใ้ ชว้ ิชาผายเบ้ียขุดบ่อน้าให้ผทู้ ี่มาพ่งึ บารมี และได้ ทาการขุดจนเจอน้าอย่างน่าอัศจรรย์ และจะเป็ นแบบน้ีทุกคร้ังท่ีท่านได้ กระทาพิธี เหตุการณ์คร้ังน้ีจึงทาให้ชาวบา้ นแตกต่ืน และกล่าวขานเลืองลือ กนั ไปทวั่ เม่ือมีผคู้ นทราบข่าวต่างก็หลงั่ ไหลมาขออาศยั บารมีในการกระทา พิธีขุดบ่อน้า เพราะสมยั ๒๕๐๐ ปี ยงั ไม่มีเทคโนโลยีที่ทนั สมยั ต่างคนต่างก็ ตอ้ งใช้สรรพวิชาท่ีตนมี หรือพ่ึงพาอาศยั บารมีครูบาอาจารยจ์ ึงจะทาการขุด บอ่ น้าสาเร็จ

๔๖ หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ถือไดว้ ่าท่านเป็ นผูท้ รงพรรษามากในสมยั น้ัน และเป็ นผูเ้ ขียนตารายนั ตต์ ่าง ๆ เช่น ม้าเสพนาง ยนั ต์ดาบสร่ีกญั ชยั ยนั ต์ก๋ าสะท้อน ยันต์ตะกรุดโทน ตารายนั ต์เทียน เป็ นต้น ท้ังด้าน เมตตามหาเสน่ห์ อยูย่ งคงกระพนั ชาตรี ปกป้องคุม้ ครองลูกศิษยท์ ่ีมี ตารายนั ต์ ทเี่ ขยี นด้วยลายมือ ไวบ้ ูชาที่ศรัทธาเคารพนบั ถือหลวง หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ธมฺมลงกฺ าโร ป่ คู รูบา และยงั มลี ูกศิษยท์ ่เี คยผ่านประสบการณต์ า่ ง ๆ ไดป้ ระสบพบเจอเรื่อง อศั จรรยอ์ ยา่ งเหลือเช่ือในบญุ ฤทธ์ิของหลวงป่ ูครูบา หลายคร้ังท่ีชาวบา้ นได้ หปลระวงสปพ่ ูคพรบูบเาจมอาดแก้ววย้ ตเสัวมเอืองนดแงัลคะาไทด่ีค้เรลูบ่าถาอึงภเริชื่ตอยัางขรราายาวันวปตคี ์กวทล่เีาข่ามียวนนวด่า่า้วอ“ยัศอลจาะยรโมหรือยส์ขังอโฆง ..... พระสงฆ์สาวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า หช่ลางวงนป่า่ คู อรัศูบจามรารแยก์จว้ รธิงมหฺมนลองฺก”า๑โ๙ร ๑) เรื่องเล่า “ตะกรุดแขวนคอหมา” โดยใจความตอนหน่ึงว่า “หลวงป่ ูเป็ นคนรักสุนัขในวดั ทุกตวั มาก แต่สุนขั เจา้ กรรมก็ชอบหนีออกไปตอนกลางดึก ไปไล่กดั ไล่กินไกข่ อง ชาวบา้ น บา้ งตวั ก็โดนชาวบา้ นวางยา บา้ งตวั ก็โดนยิงบา้ ง กว่าจะเอาตวั มนั รอดกลบั มาได้ แทบบาดเจ็บสาหัสลม้ ตาย หลวงป่ ูก็คิดสงสารสุนขั จะไปส่งั ไปสอนอะไรมันได้ แต่ด้วยเดชะฤทธ์ิพุทธานุภาพแห่งจิตแห่งมนต์ ๑๙ สุธานี จนั ทร์รตั นสิริ และคณะ (วดั พระพทุ ธบาทผาหนาม), ชีวประวัตคิ รูบาเจ้า อภิชัย (ขาวปี ), (ลาพนู : หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั ญฐั พลการพมิ พ)์ , ๒๕๔๘ , หน้า ๑๘.

๔๗ ในการร่าเรียนวิชาหลวงป่ คู รูบาท่านได้ จารอกั ขระยนั ตด์ วงหน่ึงที่ชาวบา้ น เรียกกนั ว่า ‘ยนั ต์โทน’ หรือตะกรุดโทนแขวนคอสุนขั ตวั หน่ึงทอ่ี ยภู่ ายในวดั แต่อีกมุมหน่ึงชาวบา้ นก็สงสารไก่ท่ีไดถ้ ูกสุนัขของหลวงป่ ู ไล่กดั ไล่กิน จึง ไดต้ ดั สินใจยิงสุนขั ของหลวงป่ ูครูบา แต่ทนั ใดน้ันปื นที่ชาวบา้ นยิงเกิดการ ขดั ขอ้ งยงิ ไมอ่ อก ยิงก่ีคร้ังก็ยิงไม่ออกชาวบา้ นกต็ ่างสงสัย แต่ในความสงสยั ของชาวบา้ นน้นั คิดไปว่าอาจจะเป็นเพราะบุญฤทธ์ิวิชาของหลวงป่ ูครูบามา แกว้ ท่ีได้เสกตะกรุดโทนแขวนไวท้ ่ีคอสุนัข ซ่ึงชาวบ้านก็ได้สังเกตเห็น ตะกรุดที่แขวนคอสุนัขตัวน้ันอยู่ ซ่ึงใจความเร่ืองน้ีเป็ นประสพการณ์ที่ ชาวบา้ นไดพ้ บเห็น และนามาเล่าสู้รุ่นลูกรุ่นหลานฟัง” ปัจจุบนั ตะกรุดรุ่นน้ี หลวงป่ ูครูบาไดจ้ ดั ทาข้นึ มาจานวนไมม่ าก และไดแ้ จกจ่ายลูกศิษยเ์ ก็บไวบ้ ชู า แต่กย็ งั คงมีหลงเหลืออยู่ ๒) มนต์ “ก๋งข้าวแห้ง” คร้ังหน่ึงในขณะหลวงป่ ูครูบามาแกว้ ไดพ้ านักอยู่วดั เหลา่ นอ้ ยในบริเวณวดั ไดม้ ีตน้ “ดอกกระดั่งงา” ตรงทิศตะวนั ออกของวัด ดา้ นหน้าวิหารในปัจจุบนั เมื่อตน้ ดอกกระดงั่ งาไดถ้ งึ ฤดูออกดอกบานสะพรั่ง และส่งกลิ่นหอมอบอวลไป ทัว่ สารทิศ ซ่ึงดอกกระดั่งงาเวลาเบ่งบานจะสวยมีสี ขาวนวล แม้แต่คนธรรมดายงั นาดอกมาบูชาพระ นามาทกั ใส่หู แต่ในส่วนที่ชาวบา้ นไดเ้ ลอื งลอื กนั มนั มิใช่เร่ื องท่ีธรรมดาของดอกกระดั่งงา แต่มันไป เกี่ยวขอ้ งกบั อิทธิฤทธ์ิของหลวงป่ คู รูบา ใจความตอน หน่ึงว่า “เม่ือยามค่าคืนพระจนั ทร์เต็มดวงส่องแสง ก๋งก๋อน หรือก๋งข้าวแห้ง ของหลวงป๋ คู รูบามาแก้ว

๔๘ สว่าง ไดป้ รากฏมภี ูตผตี ๋นหน่ึงมาปรากฏต๋นท่ีตน้ ดอกกระดงั่ งา และไดข้ โมย ดอกกระดงั่ งาของหลวงป่ ูครูบามาแกว้ ไปหลายคร้ังหลายครา จวบจนมาถงึ คร้ังหน่ึงหลวงป่ คู รูบาไดร้ บั รู้ดว้ ยทิพยญาณ จึงไดก้ ระทาพิธีสาธยายมนตเ์ ป็น ภาษาลา้ นนาเมอื งเหนือ เป่ าลงในขา้ วแหง้ กอ้ นหน่ึงแลว้ ไดเ้ ล็งยิงไปท่ีภูตผตี ๋น น้นั จนภูตผตี ๋นน้นั ไดร้ ้องทรมานดว้ ยความเจบ็ ปวด และไดเ้ ผ่นหนีกลบั ไปท่ี บา้ นเรือนเดินท่ีอยู่ พอรุ่งเชา้ ชาวบา้ นต่างแตกตื่นเม่ือไดร้ ับรู้เร่ืองราวอนั น่า อศั จรรยน์ ้ี ต่างก็พากนั เลา่ ลือถึงความขลงั ความศกั ด์ิสิทธ์ิหลวงป่ คู รูบามาแกว้ ที่ตอนน้ันชาวบา้ นเรียกว่าตุ๊ลงุ มาแกว้ หรือ(ครูบาตาทิพย)์ ฉายานามที่ไดม้ า จากความศรทั ธา” เรื่องเล่าจากหลวงป่ คู รูบามาแก้ว (วดั พระบาทวงั ตวง ทีม่ า: ได้รับมอบจาก facebook เจษฎากร ปิ ยธมโม)

๔๙ หลวงป่ ูท่านไดเ้ กิดในสมยั เจา้ เมืองเถิน ซ่ึงไม่ไดม้ ีการปกครอง เหมือนสมยั น้ีมากนัก ท่านจึงไดป้ ระสพพบเจอเรื่องราวต่าง ๆ และไดเ้ ล่าถงึ ความเป็นมาของ “วดั พระบาทวงั ตวง ซ่ึงในปี พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ มหี ลวงพ่อ พระครูมนูญธรรมานุศาสก์ (ครูบาวิจิตร) เป็ นเจา้ อาวาส แต่ในการเล่าคร้ังน้ี จะไดย้ อ้ นเวลาไปอกี หลายทศวรรษ ท่านกล่าววา่ ในสมยั เจา้ หลวงคาลอื เป็น เจา้ เมอื งเถนิ ไดพ้ าพวกขา้ ทาสบริวารลอ่ งเรือจากเมอื งเถนิ ไปเก่ียวหญา้ ท่ีบา้ น แมร่ ะวานสองแควใต้ ปัจจุบนั เป็นหมบู่ า้ นอยใู่ นเขตจงั หวดั ตาก ตอนกลบั ได้ จอดเรือพกั ที่หาดทรายแม่น้าวงั ขา้ งวงั ตวง ทางทิศตะวนั ตกของดอยพระพุทธ บาทเจ้าหลวงคาลือได้เห็นนกยูงตัวหน่ึงสวยงามมาก จึงได้ส่ังให้บริวาร ติดตามไล่จบั นกยูงจึงวิ่งข้ึนไปบนดอย พวกขา้ ทาสบริวารจึงไดพ้ บรอยพระ บาท แล้วได้นามาบอกเล่าให้เจ้าคาลือ ท่านจึงให้คนแผว้ ถางไว้ แล้วได้ เดินทางข้ึนไปเล่าเรื่องน้ีให้ครูบากิ้ม วดั ท่าไมฟ้ ัง ครูบากิ้มจึงไดพ้ าพระภิกษุ ส า ม เ ณ ร บู ร ณ ะ ส ร้ า ง เ ป็ น วัด ข้ึ น ม าต า ม ล า ดับ ซ่ึ ง ใ น ข ณ ะ ที่ เ ล่ า หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ไดเ้ ล่าเร่ืองน้ีท่านได้ อายุ ๘๐ ปี ”๒๐ เน่ืองด้วยหลวงป่ ู ผูท้ รงพรรษามากจึงไดม้ ีผูค้ นต่างถ่ิน ต่างพ้ืนท่ีเขา้ มาขอให้หลวงป่ ูบอกเล่า ขอ้ มูลของวดั วาอาราม หรือประวตั บิ ุคคลสาคญั ในยคุ อดีตมากมาย และไดย้ ก ย่องเป็ นปราชญ์ท้องถิ่น คือผูม้ ีความรอบรู้ท้ังศาสตร์ภายใน (มนต์) และ ศาสตร์ภายนอก (ความรู้ทวั่ ไป) ๒๐ ทร่ี ะลกึ ในงานฉลองตราต้งั , “ความเป็ นมาของวดั พระพทุ ธบาทวังตวง”,(อดั สาเนา)

๕๐ การจารีกแสวงบญุ ของหลวงป่ คู รูบามาแก้ว (สัจจะอธิฐานหลวงป่ คู รูบามาแก้ว) “ข้าต๊ธุ รรมลังกา มาแก้ว ริศหนาแล้ว ข้าขอสุขสาม ประการ ขอเถงิ (ถงึ )เวียงแก้วยอดนพิ พาน แก่ข้าแด่เต๊อะ”๒๑ ๒๑ หลวงป่ ูครูบามาแก้ว, สมุดเล่มที่ ๖, แปลโดยพระครูสุธรรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั เหลา่ นอ้ ย.

๕๑ แสวงบญุ คร้ังท่ี ๑ เม่อื ปี พุทธศกั ราช ๒๔๙๔ หลวงป่ คู รูบามาแกว้ อายุ ๕๕ ปี ท่านได้เดินทางไปที่ จังหวดั เชียงใหม่ วัดเจ็ดยอด หรือวดั โพธารามมหาวิหาร ซ่ึงเป็ นวดั ที่มีความสาคัญทางพระพุทธศาสนาของ ประเทศไทย เป็ นสถานที่เคยมีการประชุมสังคายนาพระไตรปิ ฎกคร้ังท่ี ๘ ของโลก และเป็ นวดั ประจาปี คนเกิดปี มะเส็ง หรือปี งูเล็ก ซ่ึงตามความเชื่อ ของชาวลา้ นนา พระธาตุประจาปี เกิดปี มะเส็งก็คือ “โพธิบลั ลงั ก์ วิหารมหา โพธิเจดีย์” รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย แต่เน่ืองจากสถานที่ประดิษฐาน โพธิบลั ลงั กอ์ ยไู่ กล จึงอนุโลมใหเ้ ป็ นพระเจดียท์ ่ีมีลกั ษณะใกลเ้ คยี งกนั ซ่ึงก็ คือ “พระเจดีย์เจ็ดยอด” หรือ “มหาเจดีย์พุทธคยา”จังหวดั เชียงใหม่ ๒๒ หลวงป่ ูครูบาท่านก็ได้ไปนมัสการไหว้อธิฐานจิตขอพร พระบรมธาตุ ประจาปี มะเส็ง โดยมีครูบาพรหมเสน อายุ ๕๙ ปี เป็ นเจา้ อาวาสวดั เจ็ดยอด “ขา้ ตเุ๊ จา้ ธรรมลงั กา ไดไ้ ปไหว้ เมื่อพุทธศกั ราช ๒๔๙๔๒๓ แสวงบุญคร้ังที่ ๒ หลวงป่ ูครูบาไดเ้ ดินทางแสวงบุญ ณ วดั พระ ธาตุเสด็จ จังหวัดลาปาง จารึ กการเดินทางแสวงบุญคร้ังน้ีไว้ว่า “ไหว้ พระธาตุเสด็จคว่าหมอ้ เมืองลาปะกปั ปะนะคะระ คือเมืองละกอนลาปาง มี แขวงเมืองสรีนะคะระบุรีไกล ไดโ้ ยชนะหน่ึงนบั เป็ นว่า ๘,๐๐๐ วา คือเมอื ง ละกอน ตุเ๊ จา้ แกว้ มาเป็นเจา้ อธิการอยรู่ กั ษาธาตุเสด็จน้นั แล ขา้ ตุ๊เจา้ มาแกว้ ได้ ๒๒ สดุ ยอดที่เทีย่ วเชียงใหม่, วดั เจ็ดยอด (วดั โพธารามมหาวิหาร),[ออนไลน]์ , แหลง่ ท่มี า: https://www.topchiangmai.com/trip/A๑/, [๑๒ พฤษจกิ ายน ๒๕๖๓]. ๒๓ หลวงป่คู รูบามาแกว้ , สมดุ เลม่ ที่ ๑, แปลโดยพระครูสธุ รรมจนิ ดากร เจา้ อาวาสวดั เหลา่ นอ้ ย.

๕๒ ไปไหวแ้ ลว้ เม่ือปี พุทธศกั ราช ๒๔๙๕ เดือน ๗ แรม ๑๓ ค่า นอนน้ันคืน หน่ึง”๒๔ จารึกบทความในตอนน้ีไดก้ ล่าววา่ หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ไดเ้ ดินทาง ไปท่ี วดั พระธาตุเสด็จ ตาบลบา้ นเสด็จ อาเภอเมืองฯ จงั หวดั ลาปาง การไหว้ คร้ังน้ีซ่ึงเพราะว่าวดั พระธาตุเสด็จเป็ นวดั เก่าแก่ ท่ีสร้างข้ึนในสมยั พระนาง จามเทวี และมีการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุทเ่ี ก่าแก่ และมีศิลปะอนั งดงาม หลวงป่ คู รูบาทา่ นไดพ้ านกั อยู่ ณ วดั พระธาตุเสดจ็ น้ี ๑ คนื แลว้ จึงเดินทางกลบั เมอื งเถิน วดั เหล่านอ้ ย “ขอหือ้ ปันรอด ปันเถงิ นิพพาน” (หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ต้งั สัจจะอธิฐาน คร้ังเมื่อจารึก ธรรมเล่มหลวง ณ วัดเหล่าน้อย วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พทุ ธศักราช ๒๕๑๑)๒๕ ๒๔ หลวงป่คู รูบามาแกว้ , สมดุ เลม่ ท่ี ๑, แปลโดยพระครูสธุ รรมจนิ ดากร เจา้ อาวาสวดั เหลา่ นอ้ ย. ๒๕ หลวงป่คู รูบามาแกว้ , ธรรมเลม่ หลวง, แปลโดยพระครสู ธุ รรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั เหลา่ นอ้ ย.

๕๓ การละสังขารของหลวงป่ คู รูบามาแก้ว ตรงกบั วนั ประเพณีถวายทานขา้ วจ่ีขา้ วหลามทางภาคเหนือ ซ่ึง ในเหตุการณ์น้ันชาวบา้ นไดบ้ อกเล่าว่า “ตอนเช้าชาวบา้ นก็มารอทาบุญใน งานประเพณีต้งั แต่ ๕.๓๐ น. ตา่ งกร็ อหลวงป่ คู รูบาออกมาจากกฏุ เิ พ่อื มาทาศา สนพิธีแต่ก็นานแสนนานชาวบา้ น และคณะกรรมการจึงไดพ้ ากนั เปิ ดประตู กุฏเิ ขา้ ไปเรียกหลวงป่ คู รูบา แต่ก็ไดพ้ ากนั ตกตลงึ คร้ันเมอ่ื เห็นภาพหลวงป่ ูครู บานอนแน่นิ่งอยู่ ณ บริเวณหน้าห้องน้า และไดแ้ ลเห็นภาพอนั น่าอศั จรรย์ พบวา่ มแี มวตวั หน่ึงทีห่ ลวงป่ ูเล้ียงไวไ้ ดม้ านอนเฝา้ ทีต่ รงกลางหนา้ อก ขณะที่ ห ล ว ง ป่ ู ค รู บ าไ ด้ห ม ด ล ม ล ะ สั ง ข า ร ” ซ่ึ ง ต ร ง กับ วัน พ ฤ หั สบ ดี ที่ ๓ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๙ ( ข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๔ เหนือ เดือน ๒ ใต้ หรือ ตรงกบั วนั เดือน ๔ เป็ง ) •แห่กนั มา เตรียมทาบญุ หนุนชีวิต ประเพณี ที่ยดึ ติด และทรงคา่ คอื ขา้ วจี่ ขา้ มหลาม ทากนั มา กลบั โศกา ทา่ มกลาง ประเพณี เมือ่ รอแลว้ รอเล่า จะเขา้ หา ชาวบา้ นมา มงุ กนั นานเหลือท่ี หลวงป่ ูน้นั ไม่ออก มาสักที ไมร่ อรี เดินเขา้ ไปตามพลนั เขา้ ไปพบ หนา้ หอ้ งน้า พลนั หดหู่ ดว้ ยหลวงป่ ู มรณะภาพ พาโศกศลั ย์ พบแมวนอน เฝา้ อยู่ คชู่ ีวนั ดแู ลว้ มนั ช่างสลด แก่สายตา อศั จรรย์ เสียจริง แมวนิ่งแน่ คงรู้แก่ ดวงจิต ถวิลหา วา่ คนเล้ียง ทีร่ ัก จะจากลา จึงเขา้ มา นอนเฝ้า เคลา้ อาลยั

๕๔ แมวทีเ่ ล้ียง ดว้ ยรัก เหมือนดงั่ ลูก คงพนั ผกู สมั พนั ธ์ เกินใครไหน นอนหนา้ อก ซบหลวงป่ ู ใหร้ ู้ไซร้ ก่อนจากไกล ขอไดใ้ กล้ ท่านสกั ครา (ได้ประพนั ธ์ เมื่อพทุ ธศักราช ๒๕๖๓) ๑) ภาพถ่าย พระครูสุนทรสีลวิสุทธ์ิ(ครูบานุ่น สุทฺธสีโล) เจ้าคณะตาบลล้อมแรด วดั ล้อมแรด กับ พระครูอมรถีรธรรม เจ้าอาวาส วดั ท่านาง มาร่วมถวายความอาลยั หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร อดีตเจา้ อาวาสวดั เหล่านอ้ ย

๕๕ โดยทางคณะกรรมการวดั เหล่าน้อย ไดน้ าสรีระสังขารหลวงป่ ู ครูบามาแกว้ ประดิษฐานในหีบทองไมส้ กั ทีแ่ กะสลกั อยา่ งวจิ ิตรอลงั การเป็ น ลวดลายดอกเถาวลั ยล์ ักษณะอ่อนไหวสอดรับกับดวงดอกไมต้ ลอดจนสุด เครือเถาวลั ย์ และตามด้วยการลงรักปิ ดทองคาเบ้ืองหน้าหีบทองได้จารึก อกั ษรนามหลวงป่ คู รูบาวา่ “พระอธิการมาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร อายุ ๘๐ ปี ” และ ได้อัญเชิญหีบทองประดิษฐานวางไว้บนแทนไม้สัก สูงจากพ้ืนล่าง โดยประมาณ ๑ เมตร ประดบั ดว้ ยลวดลายราชวตั รประจายามรายรอบตลอด แท่นท้งั ดา้ นบนจรดลงเบ้ืองต่าดา้ นลา่ ง ในส่วนของสถานท่ีประกอบพิธีประชุมเพลิงสลายสรีระสังขาร หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ไดท้ าพิธีอญั เชิญชกั ลากโดยจารีตประเพณี โบราณทางลา้ นนาภาคเหนือ ชกั ลากจากสถานทีต่ ้งั บาเพญ็ กุศล ณ กุฏิใหญ่ท่ี หลวงป่ คู รูบาเคยจาวดั เคยพกั อาศยั มายงั สถานท่ที ่คี ณะกรรมการวดั จดั เตรียม ไว้ บริเวณดา้ นหนา้ วดั (ปัจจุบนั คือสวนสาธารณะเทศบาลตาบลลอ้ มแรด) ได้ อญั เชิญหีบทองหรือโลงบรรจุสรีระสังขาร ข้ึนสู่ปราสาท “โดยรอบของ ปราสาทจะมกี ารต้งั เสาข้ึน ๔ เสา ครอบปราสาท ดา้ นบนปลายเสามผี า้ จีวรขงึ ตรึงไวเ้ ป็นเพดาน ตามความเช่ือโบราณว่า การเผาพระสงฆซ์ ่ึงเป็นผทู้ รงศีลมี ความศกั ด์ิสิทธ์ิอยใู่ นองคท์ า่ น หากเผาแลว้ ไม่มีการก้นั เปลวไฟดว้ ยผา้ จีวรจะ ทาให้เทวดาบนช้ันฟ้าเกิดความเดือดร้อน และในขณะเดียวกนั ส่วนของ พ้ืนดินใตเ้ มรุปราสาท จะตอ้ งมีผา้ จีวรปูไวบ้ นพ้ืนดิน เรียกว่า \"ผา้ กระดาน\"

๕๖ ตามความเชื่อวา่ เพือ่ ป้องกนั ไมใ่ ห้ความร้อนจากการเผาศพลงไปถงึ เมอื งครุฑ เมอื งนาค”๒๖ (ภาพถ่ายสถานท่ี ประชุมเพลิงสลายร่างสรีระสังขาร หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ธมฺมลงกฺ าโร อดีตเจ้าอาวาสวดั เหล่าน้อย) ๒๖ เอกพงศ์ ประดิษฐ์พงษ์, พิธีศพพระเถระล้านนา ที่แฝงด้วย...ปริศนาธรรม แนวคิดไปถึงชาวบ้าน, คม.ชัด.ลึก.สานักข่าวเนชั่น ศูนย์เหนือ, [ออนไลน์ ], แหล่งท่ีมา: https://www.komchadluek.net/news/lifestyle/50447, [๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓].

๕๗ การจัดสร้างวตั ถุมงคล วดั เหล่าน้อย ตาบลล้อมแรด อาเภอเถนิ จังหวัดลาปาง ๑) พระผงมวลสารรุ่น บารมีกตญั ญู จดั สร้าง พระผงครูบา ๕,๐๐๐ องค์ รูปหลอ่ ลอยองคข์ นาด ๓ น้ิว ๕๐๐ องค์ แยกเป็นรมดา ๒๐๐ องค์ พน่ ทอง ๓๐๐ องค์ ในปี ๒๕๕๖ ปัจจุบนั น้ีบางองคไ์ ดเ้ กิดขยุ ผงข้ึนปกคลมุ รอมท้งั องคแ์ ลว้ อยา่ งอศั จรรย์

๕๘ ๒) จัดสร้างพระเหรียญหลวงป่ ูครูบามาแก้ว รุ่นแรก รุ่นพิเศษ ดวงดี ๕๗ อธิฐานจิตโดย ๑) พระครูธรรมาภิรมย์ วดั น้าบอ่ หลวง อ.สันป่ าตอง ๒) พระครูอุ่น อตั ถกาโม วดั โรงววั ต.แม่ก๊า อ.สันป่ าตอง ๓) ครูบาบุญมา วดั ศิริชยั นิมิต ๔) ครูบาน้อย เตชปัญโญ เชียงใหม่ ๕) ครูบาพรรณ วดั ห้วยตม้ อ.ล้ี ๖) พระครูวบิ ลู ยภ์ าวนานุศาสน์ (ครูบาสนิท) วดั ห้วยบง อ.ล้ี ๗) ครูบาบญู - ยงั วดั ห้วยน้าอุน้ อ.ล้ี ๘) ครูบาเสน เขมจาโร วดั ผาปังหลวง ๙) ครูบาศรีมา วดั ผาลาด อ.เสริมงาม ๑๐) ครูบาครอง ขนั ติโย ๑๑) ครูบาอินตา วดั กู่คา อ.เมือง ๑๒) หลวงป่ ศู รี สพโก๋ง ลาปาง ๑๓) พระครูสตั ธรรมรังสี วดั กุ่มเน้ิงใต้ ในตลอด พรรษา ทางวดั จะไดท้ าเหรียญรุ่นแรกน้ีสวดมนต์ตน๋ั และลงอุโบสถ ตลอด พรรษา ๓ เดือน จดั สร้างจานวน ๑,๐๐๐ เหรียญ ในปี ๒๕๕๗

๕๙ ๓) จดั สร้างล็อกเก็ตหลวงป่ คู รูบามาแก้ว รุ่นไชยะเบงชร จดั สร้างจานวน ๑๐๐ เหรียญ โดยแบ่งเป็ นฉากสี ๕๐ องค์ ฉากสี ทอง ๕๐ องค์ ดา้ นหลงั อุดมวลสารพุทธคณุ ในปี ๒๕๕๘ ๔) จัดสร้างพระไม้ ยิงเลเซอร์ (พระมงคลชัยศรีตรีโลกนาถ ด้านหลังจารึกลายเซ็นหลวงป่ คู รูบามาแก้ว) จานวน ๔๐๐ องค์ แจกงานกฐิน ในปี ๒๕๕๙

๖๐ ๕) จัดสร้างพระกร่ิง ใต้ฐานจารลึกลายเซ็นหลวงป่ คู รูบามาแก้ว รุ่นเศรษฐีเงนิ ล้าน สรา้ งจานวน ๕๐๐ องค์ โดยแบง่ เป็นสามสี เงิน ทอง และนาถ ในปี ๒๕๖๐

๖๑ ๖ ) จั ด ส ร้ างพระกริ่ ง รู ป เ ห มื อน หลว งป่ ูครู บามาแก้ ว รุ่นสร้างพระเจ้าต๋นหลวง โดยมพี ระเกจิผจู้ ารแผ่นทอง ๑) พระธรรมรัตนดิลก ๒) พระนิโรธ รักขติ ๓) พระศรีสุทธิพงศ์ ๔) พระครูประภสั สรธรรม ๕) พระครูนิทศั นธ์ รรม- โ ส ภิ ต ๖ )พ ร ะ ค รู นิ ทัศ น์ ปั ญ ญ า วุ ธ ๗ ) พ ร ะ ค รู นิ เ ท ศ พัฒ น า ภ ร ณ์ ๘) พระครูนิวิฐวรคุณ ๙) พระครูนิพนั ธ์ปัญญาธร ๑๐)พระครูนิภาธรรมสิริ ๑๑) พระครูนิวตุ ถโ์ พธิกิจ ๑๒)พระครูนิภาประชานาท ๑๓) พระครูนิยตุ ธรรม- นาถ ๑๔) พระครู นิ รันดร์ วิหารธรรม ๑๕) พระครู นิ สิ ตสุ คนธศี ล ๑๖) พระครูนิทศั น์สิริวรรณ ๑๗) พระครูสุจิตตาภิวฒั น์ จดั สร้างจานวน ๕๐๐ องค์ ในปี ๒๕๖๑

๖๒ ๗) จัดสร้างลอ็ กเกต็ หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ด้านหลงั จารึกลายเซ็น รุ่นบารมีครูบาค้มุ ครอง สร้างจานวน ๖๐๐ องค์ โดยเป็นเป็ น ๓ ฉากสี สีชมพู ๒๐๐ องค์ สี ฟ้า ๒๐๐ องค์ สีแดง ๒๐๐ องค์ ในปี ๒๕๖๒

๖๓ ประมวลภาพ หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมมฺ ลงฺกาโร (ปฐมบูรพาจารย์ วดั เหล่าน้อย)

๖๔ ๑) ภาพถ่ายหลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร ถ่าย ณ วดั ศีลาวารี (วดั ดอยต็อก) ตาบลเถินบุรี อาเภอเถิน จงั หวดั ลาปาง

๖๕ ๒) ภาพถ่ายหลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร ไม่ทราบสถานที่ถ่าย แตถ่ กู นามาใชใ้ นงานพธิ ีสลายสรีระสงั ขาร หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร

๖๖ ๓) ภาพถ่าย หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร (หันด้านข้าง) ขณะปฏิบตั ศิ าสนกิจ

๖๗ ๔) ภาพถ่าย หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร ในอริยาบถ “ยื่น” คกู่ บั สุนขั สีดา่ ง

๖๘ ๓) ภาพถ่าย หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร ไดน้ ากลับมาทาเป็ น ภาพสี ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓

๖๙ ๕) ภาพวาดหลวงป่ ูครูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ถวายโดย คุณเสริม ปัญญาธิ (ส.ปัญญาธิ) เจตนาสรา้ งเพอ่ื ถวายบชู าครูบาอาจารย์ ปีพุทธศกั ราช๒๕๕๖

๗๐ ๖) ภาพวาด หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร ในอริยาบถ “ยื่น ถือเครื่องอฐั บริขาร” เจตนาสร้างเพ่ือถวายบูชาครูบาอาจารย์ สร้างสรรค์โดย พระสมุห์อาทิตย์ อินฺทปญฺโญ ปีพุทธศกั ราช ๒๕๖๓

๗๑ ๕) ภาพถา่ ย หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ในการปฏิบตั ศิ าสนกิจ (เจริญพระพทุ ธมนตง์ านมงคลสมรส อ.สุชาติ อ.วนั ดี จนั ทราช)

๗๒ ๖) ถา่ ยภาพดา้ นหนา้ วดั เหลา่ ไชย ในพธิ ีชกั ลากพระประธาน เม่อื วนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๐๐

๗๓ ๗) ถ่ายภาพดา้ นหนา้ วิหารวดั เหล่าหลวง โดยมีหลวงป่ ูครูบามาแก้ว, รองอามาตย์เอกพระสถนเถินบุรินทร์ (นายอาเภอเถินคนแรก) พร้อมด้วย พระภกิ ษุ และคณะศรทั ธานกั ศีลนกั บุญ

๗๔ ๘) ภาพเดียวกนั “ดา้ นหนา้ วหิ ารวดั เหลา่ หลวง”

๗๕ ๙) ภาพถ่ายเบ้อื งหนา้ สรีระสังขารหลวงป่ ูครูบามาแกว้ ธมฺมลงฺโร โดยมีสองมหาเถระรวมถ่ายดว้ ย ๑) พระครูสุนทรสีลวสิ ุทธ์ิ (ครูบานุ่น สุทฺธสีโล) เจา้ คณะตาบลลอ้ มแรด วดั ลอ้ มแรด ๒) พระครูอมรถีรธรรม (เจา้ คณะอาเภอเถนิ วดั ทา่ นาง)

๗๖ ภาพวาดพุทธศิลป์ ทรงคุณค่า (ลายมือ หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ธมมฺ ลงกฺ าโร) สมณะศรัทธา ขา้ ตุ๊เจา้ ธัมมะลังกา มาแก้ว ๒๗ สร้างไว้คำ่ พุทธศาสนา วัดเหลา่ ไชย เมืองเถิน ท้ายเมืองแล ภาพวาดลายเส้นพระพุทธปฏิมา พระอรหันตส์ าวก เทวดา สัตวป์ ่ า หิมพาน และดอกไม้ เป็ นภาพวาดทางพุทธศิลป์ วาดเขียนข้ึนมาเพ่ือจรรโลง พระพุทธศาสนา และน้อมถวายเป็ นพุทธบูชา สร้างสรรค์ด้วยลายฝี มือ หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ไดว้ าดลงในปั๊บสา(สมุดทีท่ าดว้ ยกระดาษ สา) ลายสีท่ีท่านวาดได้ทามาจะหมึกธรรมชาติ คือการตาถ่านทาเป็ นแท่ง ดินสอ และหมึกท่ีได้บางคร้ังนาสีหลายชนิดมาผสมกัน คร้ังเมื่อท่านยงั ดารงชีวิต และพานักอยู่วดั เหล่าไชย (วดั เหล่าน้อย) เมื่อท่านได้ลงมือวาด เขียนแลว้ ท่านมกั จะต้งั สัจจะอธิฐานตลอด เช่น ขา้ ขอถึงซ่ึงนิพพาน, ขา้ ขอ สร้างไวค้ ่าชูศาสนา เป็นตน้ นยั ลายเส้นท่ีหนกั แน่นรวนเต็มเป่ี ยมไปดว้ ยความ แน่วแน่ในสัจจะอธิฐาน ทุกลายเส้นท่ีขีดเขียนฝังลึกซึมเข้าไปในเน้ือของ กระดาษ เปรียบประหน่ึงหน่ึงดวงจิตทขี่ องผลกึ ไวเ้ พื่อแดนพระนิพพาน ๒๗ หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ธมั มลงั กา, เล่ม ๗, (แปลโดย พระครูสุธรรมจนิ ดากร เจา้ อาวาสวดั เหล่านอ้ ย.

๗๗ ๑) ภาพวาด “พระพุทธเจ้าประทับน่ังเหนืออุทมุ พรมาลา หรือปางมารวิชัย”

๗๘ ๒) ภาพวาด “พระพทุ ธเจ้าทรงประทับน่งั ถือตาลปัตร”

๗๙ ๓) ภาพวาด “พระพุทธเจ้าประทบั ย่ืนเหนืออทุ มุ พรมาลา”

๘๐ ๔) ภาพวาด“พระสีวลเี ดนิ ธุดงผ้นู ้อง”

๘๑ ๕) ภาพวาด “พระสีวลเี ดนิ ธุดงผ้พู ่ี”

๘๒ ๖) ภาพวาด “สีวลถี ือพดั และลกู ปะคา”

๘๓ ๗) ภาพวาด “เทวดาน่งั พนมมือ”

๘๔ ๘) ภาพวาด “เทวดาถือดอกบวั ”

๘๕ ๙) ภาพวาด “เทวบตุ รถือดอกบวั ” และ “พ่มุ ยอดฉัตร์”

๘๖ ๑๐) ภาพวาด “ด้านบนรูปเทวดาถือคนั ช่ัง” “ด้านล่างรูปพญานกยงู ”

๘๗ ๑๑) ภาพวาดรูปสัตว์ “พญาสิงห์หลวง”

๘๘ ๑๒) ภาพวาดรูปสัตว์ “ด้านบนพญาเสือ, ด้านล่างรูปแมว”

๘๙ ๑๓) ภาพวาดรูปดอกไม้ “ด้านบนพ่มุ ดอกบัว, ด้านล่างรูปลายดอกโบตน๋ั ” ภาพน้ีท่านวาดเม่ือ อายุ 23 ปี

๙๐ ธรรมะจากลายมือหลวงป่ คู รูบามาแก้ว “คนปลอกลอกมี ลกั ษณะ ๔ ๑ คดิ เอาแตไ่ ดฝ้ ่ ายเดียว ๒ เสียให้นอ้ ยคิดเอาให้มาก ๓ เมื่อมภี ยั แก่ตวั จึงรบั ทากิจของเพ่ือน ๔ คบเพอื่ นเพราะเห็นแกป่ ระโยชน์ของตวั ” (ท.ี ปฏิ ๑๑/๑๙๔ )

๙๑ “ทิ.ปฏ.ิ ๑๑/ ๑๙๖ ๒ คนดแี ต่พูดมีลกั ษณะ ๔ ๑ เกบ็ เอาของล่วงแลว้ มาปราศรยั ๒ อา้ งเอาของท่ียงั ไมม่ ีมาปราศรยั ๓ สงเคราะห์ดว้ ยสิ่งหาประโยชน์มไิ ด้ ๔ ออกปากพ่งึ มิได”้ “ถ้าพ่อแม่เป็ นศาสนิกชน ลกู จักช่ือว่าเป็ นด้วยหรือไม่ *** ถ้าลูกปฏิบัติตามท่ีพ่อแม่ปฏิบัติก็เป็ นได้ ถ้าไม่ปฏิบัติตามก็ เป็ นไปไม่ได”้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook