Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่าขานตำนานวัดเหล่าไชย (วัดเหล่าน้อย)

เล่าขานตำนานวัดเหล่าไชย (วัดเหล่าน้อย)

Published by jamesjom289, 2020-06-23 07:37:11

Description: เรื่องเล่าตำนานวัดเหล่าน้อยนี้ได้จัดเขียน และเรียบเรียงขึ้นตามเจตนารมณ์ พระครูสุธรรมจินดากร เจ้าอาวาสวัดเหล่าน้อย เพื่อถวายเป็นเกียรติประวัติของวัด และให้สาธุชนได้รับรู้ถึงความเป็นมาเป็นไปของ
วัดเหล่าน้อย โดยเนื้อหาด้านในได้แบ่งเป็นสามตอนใหญ่ ๆ
๑. ประวัติวัดเหล่าน้อย
๒. ประวัติการก่อสร้างพระพุทธศรีวรมุนีนาถ (พระเจ้าต๋นหลวง)
๓. ประวัติหลวงปู่ครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร อดีตเจ้าอาวาส
วัดเหล่าน้อย
โดยเนื้อหาใจความทั้งสามตอนนี้ได้ทำการเรียบเรียง และเขียนพรรณนาบทความ ประพันธ์บทกลอนบางส่วนโดย พระสมุห์อาทิตย์ อินฺทปญฺโญ วัดเหล่าน้อย ซึ่งมีหลักฐานปรากฏในแหล่งอ้างอิงต่าง ๆ ที่ได้รับมาจากลิขิตของหลวงปู่ครูบามาแก้ว และแหล่งข้อมูลเอกสารทางราชการ ที่ได้ค้นพบ
ดังนั้นหนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมหลักฐาน ตามที่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรที่หลวงปู่ครูบามาแก้วได้เขียนไว้แล้วอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ หากมีเนื้อหาส่วนหนึ่งส่วนใดขาดตกบกพร่อง จึงขออภัยล่วงหน้ามา ณ ที่นี้

***หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์เพื่อเผยแผ่เป็นธรรมทาน โดยมิได้แสวงหาผลประโยชน์ใด ๆ ทั้งสิ้น***

Search

Read the Text Version

เล่าขานตานานวัดเหล่าไชย (วดั เหล่าน้อย) 136 () ๑๓๖ ปี วัดเหล่าไชย (วดั เหล่าน้อย)

ช่ือหนงั สือ เล่าขานตานานวดั เหล่าไชย (วดั เหล่าน้อย) จานวน ๓๐๐ เล่ม ปี ทพี่ ิมพ์ ๒๕๖๓ คณะกรรมการดาเนนิ การ คณุ ศรีลวด สืบศรีวิชยั อดีตประธานสภาวฒั นธรรมอาเภอเถนิ ร.ต.ท มนสั ยศกุณา ไวยาวจั กรวดั เหลา่ นอ้ ย คณุ ทอน วงศม์ ลู ไวยาวจั กรวดั เหลา่ นอ้ ย คุณสว่าง บญุ เชอ่ื ม ไวยาวจั กรวดั เหล่านอ้ ย คุณพทิ กั ษ์ จนั ทราช ไวยาวจั กรวดั เหลา่ นอ้ ย และคณะกรรมการ เลขวัดเหล่าน้อยทกุ ท่าน ผ้ตู รวจทาน เจา้ อาวาสวดั เหล่านอ้ ย พระครูสุธรรมจินดากร ผ้เู รียบเรียง พระสมหุ ์อาทติ ย์ อนิ ฺทปญฺโญ วดั เหลา่ นอ้ ย ออกแบบปก : เดียวดีไชน์ ๕ หมู่ ๑๐ ตาบลศิลาเพชร อาเภอปัว จังหวดั น่าน รหสั ไปรษณีย์ ๕๕๑๒๐ พิมพ์ : เกง่ กอ็ ปป้ี ๑๔/๑๔ หมู่ ๑ ตาบลนครชุม อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จงั หวดั กาแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ ๖๒๐๐๐

น้อมสานกึ ในพระกรุณา (ที่ฝ่ าพระบาท ทรงประทานพระนาม “พระพุทธศรีวรมนุ นี าถ (พระเจ้าต๋นหลวง) กราบเอกองค์ พระสังฆราช สง่าศรี สงั ฆะมี ผนู้ า จรศั แสง เป็นผคู้ อย ส่องสวา่ ง ยามสิ้นแรง ไม่เคลอื บแคลง สงสัย ในกรุณา เนิ่นนานมา ท่ีองคพ์ ระ สงั ฆราช เสมอื นปราชญ์ ประทบั คู่ คอยรักษา ดูแลและ ใหร้ ่มเยน็ เป็นสุขมา พุทธบริษทั นึกทกุ ครา ประทบั ใจ คณุ สมเดจ็ พระอริยวงศา พระเมตตา เป่ียมลน้ ชนสดใส ประชาชื่น ดว้ ยพระองค์ มใิ ช่ใคร ชีวิตไซร์ เป็นสุข ดว้ ยบารมี มพี ระเมต ตาธรรม ชว่ ยนาสุข พระทรงปลุก ส่ิงดีงาม สง่าศรี ประทานนาม ใหแ้ ก่ พระอยา่ งดี พุทธศรีวรมนุ ีนาถ ช่างงาม ดว้ ยปัญญา สงา่ ลน้ คน้ คาแปล คอื ท่พี ่งึ ให้แกส่ ัตว์ ยามตรัสถาม ขอพระจง เจริญสิริ ปิ ตยิ าม ทอ้ งฟ้าคราม สวรรคเ์ ปิ ด เทดิ บูชา ทฆี ายุโก โหตุ สังฆราชา ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด เกลา้ กระหมอ่ ม พระครูสุธรรมจนิ ดากร พรอ้ มดว้ ยคณะศรทั ธา บา้ นเหลา่ บา้ นทา่ เมล์ บา้ นหนองซาง บา้ นหนองโสน ทุกหลงั คาเรือน

น้อมบชู าครู “หลวงป่ คู รูบาหม่าแก้ว ธมมฺ ลงฺกาโร” องคม์ หา เถระ พระทรงศรี บารมี เป่ี ยมลน้ พน้ เกศา อบุ ตั เิ กิด จากแม่เจา้ คานนทม์ า มบี ดิ า นามคามลู ตระกลู ดี พระต้งั องค์ ทรงธรรม์ ไมย่ อ่ หยอ่ น มิเคยผอ่ น ธรรมะ ศภุ ะศรี ธมั มะลงั กาโร ผอู้ ารีย์ คอื ผมู้ ี ธรรมะ ประดบั ตน สมช่ือเสียง สมนาม ตามสรรเสริญ พระเจริญ ในธรรม ไม่สบั สน พรหมวิหาร ครองไว้ ไม่อบั จน กายจิตคน้ ไฝ่ หา ดว้ ยอาทร เนกขมั มะ บารมี ทีเ่ คยสร้าง ไมเ่ คยร้าง ห่างไกล ดว้ ยใจสอน บงั คบั ตน ประพฤตไิ ว้ ในทุกตอน อยา่ ไดร้ ้อน อ่อนให้ ไฟเขา้ มา ดว้ ยเดชะ แห่งธรรม หนุนนาจิต ชว่ั ชีวติ ขอกราบองค์ พระทรงค่า จะกราบไหว้ ทกุ เมื่อ เพ่ือบูชา พระมหา เถระ พระคบู่ ญุ “ได้ประพันธ์ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๖๓”

คานา เรื่องเล่าตานานวดั เหล่าน้อยน้ีได้จัดเขียน และเรียบเรียงข้ึนตาม เจตนารมณ์ พระครูสุธรรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั เหล่าน้อย เพ่ือถวายเป็ น เกียรติประวตั ิของวดั และให้สาธุชนได้รับรู้ถึงความเป็ นมาเป็ นไปของ วดั เหลา่ นอ้ ย โดยเน้ือหาดา้ นในไดแ้ บ่งเป็นสามตอนใหญ่ ๆ ๑. ประวตั ิวดั เหลา่ นอ้ ย ๒. ประวตั กิ ารกอ่ สร้างพระพุทธศรีวรมุนีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง) ๓. ประวัติหลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร อดีตเจ้าอาวาส วดั เหล่านอ้ ย โดยเน้ือหาใจความท้ังสามตอนน้ีได้ทาการเรียบเรียง และเขียน พรรณนาบทความ ประพันธ์บทกลอนบางส่วนโดย พระสมุห์อาทิตย์ อินฺทปญฺโญ วดั เหล่านอ้ ย ซ่ึงมีหลกั ฐานปรากฏในแหล่งอา้ งอิงต่าง ๆ ที่ได้ รับมาจากลิขิตของหลวงป่ ูครูบามาแกว้ และแหล่งขอ้ มูลเอกสารทางราชการ ที่ไดค้ น้ พบ ดังน้ันหนังสือเล่มน้ีได้รวบรวมหลักฐาน ตามท่ีปรากฏเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรที่หลวงป่ ูครูบามาแก้วได้เขียนไวแ้ ล้วอย่างครบถว้ นสมบูรณ์ หากมีเน้ือหาส่วนหน่ึงส่วนใดขาดตกบกพร่อง จึงขออภยั ล่วงหนา้ มา ณ ที่น้ี ***หนงั สือเลม่ น้ีจดั พมิ พเ์ พอ่ื เผยแผ่เป็นธรรมทาน โดยมิไดแ้ สวงหาผลประโยชน์ใด ๆ ท้งั สิ้น*** พระสมหุ ์อาทิตย์ อนิ ฺทปญฺโญ (น.ธ.เอก, พธ.บ, รป.ม)



สารบญั เรื่อง หน้า ประวตั วิ ดั เหล่านอ้ ย ๒ ทาเนียบเจา้ อาวาส ๑๖ ประวตั กิ ารสร้าง พระพทุ ธศรีวรมนุ ีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง) ๑๗ การอญั เชญิ พระบรมสารีริกธาตุ ๒๑ ประมวลภาพการกอ่ สร้าง ๒๗ จารึกภาพมงคลอนั เป็นเกยี รติประวตั ิ ๓๒ ประวตั ิ (หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร) ๔๑ ปาฏิหาริยห์ ลวงป่ คู รูบามาแกว้ ๔๕ การจารีกแสวงบญุ ของหลวงป่ คู รูบามาแกว้ ๕๐ การจดั สร้างวตั ถมุ งคล วดั เหล่านอ้ ย ๕๗ ประมวลภาพ หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ๖๓ ภาพวาดพุทธศิลป์ ทรงคณุ ค่า ๗๖ ลายมอื หลวงป่ คู รูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ๙๐ บรรณานุกรม ๙๓ ผเู้ รียบเรียง ๙๔ รายช่อื ผรู้ ่วมบริจาคจดั สร้างหนงั สือ ๙๕



ไหวพ้ ระเจา้ ตนหลวง งามสงา่ กราบครูบา พระทรงธรรม ศุภะศรี วดั เหลา่ นอ้ ย ช่างรุจา บารมี คนสุขี แลสาราญ มิสร่างคลาย

๒ ประวตั วิ ัดเหล่าน้อย แปล “สร้างวดั เหลา่ ไชยน้ี สักกะได้ ๑๒๖๖ ตว๋ั ปี๋ กาบสี เดือน ๑๐ ปฐมศรัทธา ได้พร้อมใจกันลงมือ เพ้ียวป่ าเหล่าเป็ นต๋ีวัดใส่ชื่อนามว่า “วดั เหล่าไชย” เมอ่ื เดือน ๑๐ เหนือ ข้ึน ๔ คา่ เมง็ วนั ๕ แลว้ ไดน้ ิมนตเ์ อาพระสงฆ์ “กนั ทาวงศ”์ มาอยู่วดั เหล่าไชยน้ี ข้ึน ๑๐ ค่า พร่าว่าไดว้ นั ๒ ศก ๑๒๓ ไดล้ งมาสร้างวดั อยู่ ทา้ ยบา้ นเหล่า เมื่อเดือน ๑๐ ทุติยะเขตสถานที่ของวดั เหล่าไชย ยาว ๗๐ วา ๑ ศอก กวา้ ง ๔๕ วา ดา้ นเหนือติดร้ัวน้อยหมา ด้านวนั ตกติดสวนนอ้ ยตี ดา้ นใต้ ตดิ สวนนอ้ ยจู ดา้ นวนั ออกตดิ ฝั่งแมน่ ้าวงั ” “อุปสัมปทากรรมวาจา กัปนี้ได้ริศหนาไว้ปางเม่ือ จุลศักราชได้ ๑๒๕๔ ตัวปี มะโรงไทย ได้ว่าปี เต้าสีเดือน ๑๑ ขึ้น ๕ ค่า พร่าว่าได้เม็งวัน ๖ (วันศุกร์) ไทย เต้าเสดแล” และได้เพมิ่ เตมิ ข้อความบ้างส่วนใน ๑๐ ปี ให้หลงั ๑ (แปล ธรรมกปั น้ีไดเ้ ขียนข้ึน เม่ือวนั ศุกร์ ข้ึน ๕ ค่าเดือนสิงหาคม พุทธศกั ราช ๒๔๓๕ ปี นกั ษตั ร์ มะโรง) ๑ หลวงป่ ูครูบามาแกว้ , เล่มที่ ๑, แปลโดยพระครูสุธรรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั เหล่า นอ้ ย.

๓ วดั เหลา่ นอ้ ย หรือ วดั เหล่าไชย สร้างข้ึนเมอ่ื จุลศกั ราชได้ ๑๒๖๖ (พ.ศ. ๒๔๒๗๒ หรือ พ.ศ.๒๔๔๗ ยงั ไม่ปรากฏแน่ชดั ) เดือนกรกฎาคม ใน รัฐสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๕ ปฐมศรทั ธาไดพ้ ร้อมใจกนั ลงมอื ทาความสะอาดพ้ืนทที่ ี่ รกร้างเต็มไปดว้ ยตน้ ไมใ้ บหญา้ เพื่อสร้างให้เป็ นวดั วาอารามแห่งใหม่เฉลิม นามชื่อวดั ใหม่ว่า “วดั เหล่าไชย” เมื่อเดือนกรกฎาคม ข้ึน ๔ ค่าวนั พฤหัสบดี แลว้ ไดน้ ิมนตพ์ ระสงฆ์ “พระกนั ทาวงศ์” มาดารงพกั อยู่ ณ วดั แห่งน้ี ตรงกบั วนั จนั ทร์ ข้ึน ๑๐ คา่ รัตนโกสินทรศก ๑๒๓ (พ.ศ.๒๔๔๗) ไดล้ งมาสร้างวดั อย่ทู ี่ทา้ ยบา้ นเหล่า เมื่อเดือนกรกฎาคม ระยะอาณาเขตสถานที่ของวดั เหล่า ไชย ยาว ๑๔๕ เมตร กวา้ ง ๙๐ เมตร ดา้ น เหนือ ตดิ ร้ัวนอ้ ยหมา ดา้ นตะวนั ตก ตดิ สวนนอ้ ยตี ดา้ นใตต้ ดิ สวนนอ้ ยจู ดา้ นตะวนั ออกติดแม่น้าวงั ๓ (รูปภาพ ทะเบียนวัดเหล่าน้อย ปี ๒๕๐๐, รูปภาพหลวงป่ คู รูบามาแก้ว ถ่าย ณ วดั เหล่าหลวง) เหล่านอ้ ย. ๒ สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ,หนังสือรับรองวดั , (อดั สาเนา). ๓ หลวงป่ ูครูบามาแกว้ , เล่มที่ ๑, แปลโดยพระครูสุธรรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั

๔ ปัจจุบนั ต้งั อยู่เลขท่ี ๒๘๙ บา้ นเหล่า หมู่ที่ ๕ ตาบลล้อมแรด อาเภอเถิน จงั หวดั ลาปาง สังกดั มหานิกาย วดั เหล่านอ้ ยมีเน้ือทีป่ ระมาณ ๔ ไร่ ๘๓ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือประมาณ ๙๔ เมตร ติดถนน เถิน - เถินบุรี ทิศใต้ ประมาณ ๙๔ เมตรติดฌาปนสถานบ้านเหล่า ทิศตะวนั ออก ประมาณ ๖๐ เมตรตดิ ถนน เถิน - ทา่ เมล์ ทศิ ตะวนั ตก ประมาณ ๖๐ เมตร ติด ถนนเขา้ ฌาปนสถานบา้ นเหลา่ และมีท่ีธรณีสงฆอ์ กี ๑ แปลง มเี น้ือท่ปี ระมาณ ๒ งาน ๓๙ ตาราวา ทิศเหนือติดถนน สุขาภิบาล ใกลก้ บั ร้านคา้ ร้านอาหาร และชุมชนหมู่บ้าน ทิศตะวนั ตกติดถนน เถิน – ท่าเมล์ ทิศตะวนั ออก ติด แม่น้าวงั วดั เหล่านอ้ ยไดม้ ีเจา้ อาวาสผลดั เปลย่ี นปรับปรุงบรู ณะมาเร่ือย ๆ มา จนถึงทกุ วนั น้ีเดิมช่ือวดั เหล่าไชย ต้งั อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของวดั “ปัจจุบนั ซ่ึง มีแม่น้าวงั ไหลผ่านทางดา้ นหนา้ วดั และเป็ นท่าน้า” ปฐมเหตุแห่งการยา้ ยวดั เพราะแม่น้าเกิดเปลี่ยนทิศทางกดั เซาะทาให้ตล่ิงพงั มาเร่ือย ๆ จนเกิดความ เสียหายแกว่ ดั พอถงึ ฤดูฝนจะมีน้าเตม็ ตลิ่งตลอด พอน้ากดั เซาะมาเรื่อย ๆ จน มาถึงดา้ นหนา้ วหิ าร ซ่ึงในเหตุการณต์ อนน้นั เคร่ืองยนตก์ ลไกลตา่ ง ๆ ยงั ไมม่ ี และไม่ทนั สมยั แมแ้ ต่ท่กี ้นั ริมตลิง่ ยงั ไม่มี น้าจากแม่น้าวงั ก็เริ่มไหลบ่าเขา้ มา เอ่อล้นเข้าสู้ลานวดั กดั เซาะเอาดินถล่มลงไปท่ีละเล็กท่ีละน้อย ซ่ึงทางวดั มอิ าจจะหาทาง และสุดวิสยั ทปี่ ้องกนั ได้ • เกินจะหัก ห้ามจิต ให้คดิ ขา้ ม เมื่ออาราม วดั วา ถึงคราล่ม น้าทะลกั ดินทลาย คลา้ ยจะจม จิตตอ้ งตรม ระทมเศร้า เคลา้ น้าตา เฝ้ามองน้า กดั กร่อนดิน ทลี ะนอ้ ย สุดเศร้าสร้อย คอยฟ้า หนา้ วหิ าร อยากจะขอ พรให้ ฟ้าประทาน ความสงสาร มาช่วยเหลอื เก้ือบรรเทา

๕ แม่วงั เอ๋ย เผยความลบั ใหล้ ว่ งรู้ ใยไม่อยู่ เป็นแมน่ ้า ใหด้ ีเล่า หยดุ ระราน ทาหมิ่น วดั พวกเรา พงั ดินเขา้ จนไมเ่ หลอื ซ่ึงใยดี • เตชะบญุ อนุ่ จิต ไปสักหน่อย ไม่ตอ้ งกร่อย นานไป ไม่สุขี ดว้ ยอานาจ แลพระ บารมี จากคนดี ที่ฟ้า น้นั ให้กนั ท่านหลวงป่ ู ครูบา ทา่ นมาช่วย จากจะมว้ ย ป่ วยใจ ฤทยั หวน่ั ทอ้ งฟ้ามืด ก็ดู สดใสพลนั ดงั่ รุ้งอนั ช่วยทอแสง ส่องโลกา “ได้ประพันธ์ เมื่อพทุ ธศักราช ๒๕๖๓” (รูปภาพขณะทาพิธอี ัญเชิญพระประธาน มาประดิษฐาน ณ สถานที่แห่งใหม่)

๖ (รูปภาพ พระประธานทท่ี าการย้ายมา ณ ปัจจบุ ัน ๒๕๖๒) ในกาลขณะน้นั มี หลวงป่ ูครูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ผสู้ ืบเช้ือสาย เจ้านายเมืองเถิน สายสกุล ทาริยะอินทร์ ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาส จึงได้ ปรึกษาหารือกับคณะศรัทธาแก้สถานการณ์ในคร้ังน้ัน พอดีได้มีศรัทธา บริจาคที่ดินผืนหน่ึงอยทู่ างดา้ นหลงั เป็ นสวนอยทู่ างทิศตะวนั ตกของวดั เดิม พอได้เวลามงคลฤกษ์ วนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๐๐ จึงได้พา คณะศรัทธาชกั ลาก ดว้ ยวธิ ีการหนุนดว้ ยไมล้ ากดว้ ยเชือก มีพระภกิ ษุสามเณร คณะศรัทธาทวั่ ทุกสารทิศ และไดบ้ งั เกิดอศั จรรยเ์ พราะลากเท่าไรก็ไม่ขยบั เขยื้อน หลวงป่ ูครูบามาแกว้ จึงไดก้ ระทาพิธีสวดพระคาถามนต์ทางล้านนา ขออาราธนาพระพุทธปฏิมากรขยบั เคลื่อนย้ายเพ่ือจะไดอ้ ญั เชิญไปสถิต ประดิษฐาน ณ สถานที่แห่งใหม่ ทนั ใดน้ันองคพ์ ระประธานก็เบาประดจุ ปยุ นุ่น ทอ้ งฟ้าก็เปิ ดสว่างส่องแสงเป็ นสีแดงอาไพ ประดุจเทพเทวามาช่วยชัก ลาก ในคร้ังน้ีไดอ้ าราธนาองค์พระประธานในวิหารจานวน ๓ องค์ ได้แก่ พระพุทธรูปสมณะโคคม และพระอคั รสวาก ที่ป้ันข้ึนดว้ ยปูนเก่าโบราณอกี จานวน ๒ องค์ มาประดิษฐาน ณ สถานท่ีอยู่ปัจจุบนั น้ี หลวงป่ ูครูบามาแกว้

๗ ไดท้ าการเริ่มสร้างวิหาร ในวนั ที่ ๑๗ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๔๙๘ และจดั งานสมโภชฉลองวิหาร เมื่อปี พุทธศกั ราช ๒๕๐๕ ไดใ้ ช้ชื่อวดั ว่า (วดั เหล่า ไชย) ตามภูมิศาสตร์พ้ืนที่ เพราะตอนน้ันพ้ืนท่ีน้ีมีแต่สวนมีป่ าไมม้ ีหญา้ รก เป็ นเหล่าซ่ึงภาษาพ้ืนบ้านนิยมเรียกสวนว่า “เหล่า” และสอดรับกบั ช่ือของ หม่บู า้ นท่ีมชี ่ือวา่ บา้ นเหล่า จึงเป็นชื่อเรียกหมบู่ า้ นเหล่าในปัจจุบนั ๔ เม่ือปี พุทธศกั ราช ๒๕๑๙ หลวงป่ คู รูบาไดม้ รณภาพลง ทางคณะ ศรัทธาจึงไดพ้ ากนั ขอแต่งต้งั พระเล่ือน ถิระสงฺวโร ข้ึน เป็ นเจา้ อาวาส และไดข้ อต้งั วดั ให้ถูกต้องตามกฎหมาย เปลี่ยนชื่อเป็นวดั เหลา่ หนอ้ ย ซ่ึงมีตวั “ห”นาหนา้ ต่อมาได้ มีการเรียกช่ือ และเขียนกนั ต่อ ๆ มาจนเพ้ียนมาเป็ นวดั เหล่าน้อย ที่ไม่มี “ห” และ สณั นิฐานว่าบรเิ วณที่แมน่ า้ วงั ไหลผา่ นในปัจจบุ นั เป็นสถานทต่ี งั้ “วดั เหลา่ ไชย” ในอดีตกอ่ นปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๐ นามาใชจ้ นถงึ ปัจจุบนั คร้ังเมือ่ ทา่ นพระครูสุธรรมจินดากร ไดร้ บั แต่งต้งั เป็ น เจา้ อาวาส ต่อจากพระอธิการเลือ่ น ถิระสงฺวโร ท่านพระครูสธรรมจินดากรก็ ไดเ้ ริ่มเชิญชวนคณะศรัทธาทาการบูรณะวิหารหลงั เก่า และได้เริ่มพิธีสวด ถอนวิหารเพ่ือบูรณะตามจารีตล้านนา โดยเจ้าอธิการเปล่ียน ปุญฺญมโณ สณั นฐิ านวา่ บริเวณทีแ่ ม่นา้ วังไหลผ่านในปัจจบุ นั เป็นสถานทต่ี งั้ ๔ พุทธสมาคมจังหวดั ลาปาง,ท่ีระ“ลวดั ึกเหคลวา่ ไาชมย”เปใน็ นอดไตีปกขอ่ นอปงีพพุทธรศะกั พราุทช ๒ธ๕ศ๐า๐สนาในนคร ลาปาง ปี ๒๕๐๐, (ลาปาง :โรงพิมพพ์ งส์วรุตม์ นายพินิต พงส์วรุตมผ์ ูพ้ ิมพโ์ ฆษณา), ๒๕๐๐, หนา้ ๒๔๑.

๘ เจา้ คณะตาบลลอ้ มแรด เขต ๑ เจา้ อาวาสวดั เหล่าหลวง เป็นเจา้ พธิ ีในการสวด ถอน ๑) ภาพพิธีสวดถอนวิหารวดั เหล่านอ้ ย

๙ ๒) พิธียกช่อฟ้า หลงั บูรณะวิหารแลว้ เสร็จ ประธานสงฆใ์ นการ บูรณะพระครูสุธรรมจินดากร และได้ทาการฉลองวิหาร ในวนั ท่ี ๑๑-๑๕ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๘๕ ๕ วดั เหล่านอ้ ย, ฏีกาผ้าป่ าบอกบญุ , (อดั สาเนา)

๑๐ การบูรณะวิหารคร้ังน้ี คือการบูรณะแบบประยุกต์ศิลป์ สมยั ใหม่ และคงไว้ซ่ึงรูปแบบเดิมบางส่ิงบางอย่าง เช่น ลายรูปป้ัน ๑๒ นักษัตร์ เสาวิหาร พระพุทธรูป ไดค้ งไวใ้ นรูปแบบประติมากรรมเดิม แต่ในส่วนของ ซุม้ หนา้ ตา่ ง ซุม้ ประตูเลก็ ลวดลายตน้ เสา ใบระกา ช่อฟ้า ภาพวาดทศชาติ ได้ ทาข้ึนมาใหม่ เพ่ือให้เกิดความผสมผสานระหว่างยุคระหว่างสมัย จนกลายเป็ นศิลปะแห่งความสวยงามในปัจจุบัน และไดด้ ารงรักษาไวซ้ ่ึง สถาปัตยกรรมลา้ นนาโบราณ ท่งั ท่ีเป็ นของหลวงป่ ูครูบามาแกว้ และทงั่ ที่ สร้างข้ึนมาใหม่ เช่น ๑) รูปป้ัน นกั ษตั ร ๑๒ ราศี ป้ันดว้ ยปูนขาวจากหินผา โดยการนามา เผาให้ร้อน แลว้ เอาน้าเยน็ ลาดทุบจนเป็นผงซ่ึงจะมีความทนทานตอ่ สภาพอากาศ

๑๑ ๒) การติดลายเสาวิหารการประดับกระจกลายเสาวิหาร วดั เหลา่ นอ้ ย ข้นึ รูปดว้ ยกระจกขนาดใหญ่ และนามา ตดั เป็ นลวดลาย ดอกบวั ทาลายสีดว้ ยการใชส้ ีของ กระจก เป็ นการประดับกระจกท้ังหลัง ต้ังแต่ ดา้ นหนา้ ของวิหารตลอดจนถึงด้านหลงั ของวิหาร เป็ น ระยะของพ้ืนท่ียาว๒๔เมตรดว้ ยกนั สร้างสมยั หลวงป่ ู ครูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร และไดท้ าการบรู ณะคร้ัง ล่าสุดสมยั ท่านพระครูสุธรรมจินดากร โดยใชป้ ูน แทนดิน และปนู ขาว ประยกุ ตก์ บั ศิลป์ สมยั ใหม่ ๓) นาคขะตนั ไดต้ น้ แบบมาทางเมือง เชียงใหม่ เป็นไมค้ ้ายนั รูปสามเหลี่ยมทร่ี บั น้าหนกั ของชายคาลงมาที่เสาดา้ นข้างวิหาร ส่วนใหญ่ นิยมสร้างเป็ นรูปนาค๖ วัดเหล่าน้อยได้นามา ประยกุ ตเ์ ป็นรูปปูนป้ัน ลาตวั ตรงหัวของพญานาค จะอยู่ดา้ นล่างหันหนา้ ออกจากวิหาร ส่วนหางจะ ทาการค้ายนั ชายคาของวิหารไว้ และได้ดารง รักษาของเก่าไวเ้ พ่ือแสดงให้ลูกหลานรุ่นหลัง ศึกษาสืบไป ๖ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ล้ า น น า คุ้ ม เ จ้ า บุ รี รั ต น์ ,วิ ห า ร , [อ อ น ไ ล น์ ], แหลง่ ที่มา:http://www.lannaarch.net/art/sculpture_habitat/habitat-4 [๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๑].

๑๒ ๔) พระพทุ ธรูปไมส้ กั พระพทุ ธปฏิมาเก่าแก่ไมส้ ักประดบั กระจก ตะกวั่ พระพุทธรูปองคน์ ้ีไดอ้ าราธนามาพร้อม กับองค์พระประธานในวิหาร สันนิษฐานว่า พระพุทธรูปองค์น้ีสร้างในสมยั เร่ิมสร้างวดั ใน ปี พุทธศกั ราช ๒๔๔๗ เป็ นเน้ือไมส้ ักเก่าตรง ฐานประดบั กระจกตะกว่ั (กระจกจืน) ดา้ นบน ยอดพระเกตุโมลีสามารถถอดออกไดแ้ ยกเป็น สองชิ้น และทางวดั ไดอ้ ญั เชิญแกว้ โป่ งข่ามของ ดี เมืองเถิน และพระบรมสารี ริ กธาตุมา ประดิษฐานไว้ ๕) ภาพวาดฝาผนงั ตานานพระพุทธเจา้

๑๓ ๖) มณฑปประดิษฐานรูปเหมอื นและอฐั ิธาตหุ ลวงป่ คู รูบามาแกว้ มณฑปหลวงป่ ูครูบาหลงั น้ีได้ ประดิษฐานรูปเหมือนหลวงป่ ู ครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร (ผู้สืบเช้ือสายเจ้านายเมืองเถิน) และเป็ นเกจิ ครูบาประจาเมอื งเถิน เจา้ ตาราสืบชะตา และเจา้ ตาราก๋ินออ้ พญา มณฑปน้ีใต้ รูปหล่อองค์หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ได้บรรจุพระอฐั ิธาตุของหลวงป่ ูครูบา อฐั ิธาตุของหลวงป่ คู รูบามาแกว้ น้นั มีสีขาวนวล และสีครีมคงรูปมิไดแ้ ตกหัก หรือแตกสลายเป็นผงแตอ่ ยา่ งใด

๑๔ ๗) พระพทุ ธปฏมิ ากร พระประธานในวิหาร พระประธานองคน์ ้ี สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนในยุคสมยั พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ฯ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ ๕ ราวปี พุทธศกั ราช ๒๔๔๗ มีพุทธลกั ษณะปางมารวิชยั เบ้ืองบนยอดพระเกศ ทาดว้ ยไมส้ กั ลงรักปิ ดทองสามารถถอดออกได้ แยกออกเป็นสองช้ิน เบ้อื งมือ ขวามตี าหนิ เกิดข้ึนขณะการชกั ลากเคลื่อนยา้ ยมาประดิษฐาน ณ สถานที่แห่ง ใหม่ พระเนตรจรดลงต่า พระเกศาเป็ นปูนป้ันรูปขดหอย พระพกั ตร์เป็ น รูปทรงวงรีสงา่ งาม ผา้ จีวรปกคลุมถงึ ขอ้ มือซ้าย บนพระแท่นซ้ายขวามีดอก บวั ตูมประดบั ใกลก้ บั พระชานุ(เขา่ ) ท้งั ซา้ ยและขวา

๑๕ ๘) รูปทรงวิหารแบบลา้ นนาทรงแมไ่ กฟ่ ักไข่ “เป็ นวิหารท่ีมีผนงั ปิ ดทบึ ท้งั ส่ีดา้ น ลอ้ มรอบดว้ ยการประดบั กระจก แกว้ หลากหลายสี โดยมากจะประดบั ที่ซุ้มประตูวิหาร ซุ้มหนา้ ต่างท้งั น้อย ใหญ่รอบตวั วิหารเพื่อให้เกิดความสวยงาม และเบ้ืองบนตรงหลงั คา วิหาร เป็ นหลงั คาลดหลนั่ ซ้อนกนั ลงมาสามช้นั ตามลาดบั เพ่ือให้เกิดเป็ นมิติ ท่ีจะ ไดป้ ระดบั ใบระกา เบ้อื งหนา้ บนั ประดิษฐานรูปนกั ษตั ร์ ๑๒ ราศปี ระดบั ดว้ ย กระจกตะกวั่ (กระจกจืน)เบ้ืองบนสุดประดิษฐานสุวรรณหงส์ภายใต้ ฉัตร รัตนะมงคล หมายถึงความร่มเยน็ เป็นสุข ภายใตพ้ ระพทุ ธบารมขี องพระบรม ศาสดา

๑๖ ทาเนยี บเจ้าอาวาส ๑) เจ้าอาวาสรูปที่ ๑ พระกันทาวงศ์, พระป๊ ดุ สิทธวิ ะ (สละสมณเพศ) (เป็นเจา้ อาวาส เมอื่ พ.ศ. ๒๔๓๗ - พ.ศ. ๒๔๕๔)๗ ๒) เจ้าอาวาสรูปที่ ๒ พระก๋าอุ๊ก สุยะชัย (สละสมณเพศ) (เป็นเจา้ อาวาส เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๔ - พ.ศ.๒๔๖๔)๘ (สล่าเมืองเถนิ ) ๓) เจ้าอาวาสรูปที่ ๓ หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ธมฺลงกฺ าโร (ดารงตาแหน่งเจา้ อาวาส เมอ่ื พ.ศ.๒๔๙๐ - พ.ศ.๒๕๑๙)๙ ๔) เจ้าอาวาสรูปท่ี ๔ พระอธิการเลือ่ น ถริ ะสงฺวะโร (สละสมณเพศ) (ดารงตาแหน่งเจา้ อาวาส เมอ่ื พ.ศ.๒๕๒๒ - พ.ศ.๒๕๒๙)๑๐ ๕) เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ พระครูสุธรรมจนิ ดากร (วชั รากร สุธมฺโม (เตจะ๊ พรมวงั ) (ดารงตาแหน่งเจา้ อาวาส เมอ่ื พ.ศ.๒๕๒๙)๑๑ ๗ กรมการศาสนา, ประวัติวดั ทวั่ ราชอาณาจกั ร เล่ม ๘, กรุงเทพมหานคร ฯ :โรง พมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๓๒, หน้า ๓๔๒. ๘ งานฌาปนกจิ ศพพอ่ ปะขาวก๋าอกุ๊ สุยะชยั , ประวัตคิ ุณพ่อปะขาวก๋าอ๊กุ สุยะชัย, ๑๒ กนั ยายน ๒๕๒๔, (อดั สาเนา) ๙ วดั เหล่าน้อย, บัญชีพระคณาธิการเจ้าอาวาสวดั เหล่าน้อย. ๑๐ ตราต้งั เจ้าอวาส ที่ ๔๔/๒๕๒๒, ลงนามเจา้ คณะจงั หวดั ลาปาง. ๑๑ ตราตัง้ เจ้าอวาส ท่ี ๔/๒๕๓๖, ลงนามเจา้ คณะจงั หวดั ลาปาง.

๑๗ ประวตั กิ ารสร้าง พระพุทธศรีวรมนุ นี าถ (พระเจ้าต๋นหลวง) สร้างขนึ้ ตาม ตานาน ชมพูบดสี ูตร (สูตรว่าด้วยพระพุทธเจ้าทรงทรมานพญาชมพูบด)ี รูปแบบพระพุทธศรีวรมนุ นี าถ (พระเจ้าต๋นหลวง) ออบแบบโดยคณะช่างอาจารย์ ดร. พรศิลป์ รัตนชูเดช และอาจารย์วุฒกิ ร น้อยเงิน

๑๘ เร่ิมดาเนินการสร้างโดยท่านพระครูสุธรรมจินดากร เจ้าอาวาส วดั เหล่านอ้ ย พร้อมดว้ ยคณะศรัทธาทวั่ ทุกสารทศิ ไดว้ างศิลาฤกษ์ ในวนั ๗ ข้ึน ๑๔ ค่า เดือน ๑ ปี มะเมีย จลุ ศกั ราช ๑๓๗๖ ตรงกบั วนั เสาร์ ท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ลคั นาสถิตราศี ธนู เป็ นพระพุทธปฏิมาทรงเคร่ืองราชาภรณ์ หรือทรงเคร่ืองกษตั ริย์ พุทธศิลป์ ล้านนาประกอบดว้ ย สวมมงกุฎ กุณฑล กรองศอ สังวาล ทับทรวง พาหุรัด ป้ันเหน่ง และทองพระบาท ประทบั นั่งขัดสมาธิ ราบแสดงปางมารวิชัย โดยมีหลวงพ่อพระครู สุ วิมล ธรรมานุสิฐ เป็ นประธานฝ่ าย สง ฆ์ แล ะ ท่ าน น าย ก ชุ มพร ชมภูรัตน์ เป็ นประธ านฝ่ าย ฆราวาส พร้อมดว้ ยคณะศรัทธา ท่ัว ทุก สาร ทิศม าร่ ว ม ปร ะ ก อ บ พิธี (หลวงป่ ูครูบาดวงดี ยติโก ได้บริจาคเงิน และอธฐิ านจติ ในการ คร้ังเม่ือได้ดาเนินการ รเิ รมิ่ ก่อสร้างพระพทุ ธปฏิมากร พ.ศ. ๒๕๕๗) วางศิลาฤกษ์เสร็จ ท่านพระครู สุ ธรรมจินดากร พร้ อมด้วย คณะกรรมการ และคณะศรทั ธาไดใ้ คร่ควรพจิ ารณาในหลกั เกณฑ์ และความ เชื่อโบราณลา้ นนาในเรื่องของการหันพระพกั ตร์ของพระพุทธรูปไปทางทิศ มงคล จึงไดพ้ ร้อมใจกนั ตกลงเป็นมติเอกฉนั ทว์ า่ จะทาการยา้ ยศลิ าฤกษ์ เนื่อง ด้วยองค์พระพุทธปฏิมากรหันพระพักตร์ออกไปทางทิศเหนือ ซ่ึงไม่ สอดคลอ้ งตามทศิ มงคลของพระประธานในวหิ ารที่หนั พระพกั ตร์ไปทางทิศ

๑๙ ตะวนั ออก จึงไดท้ าการยกศิลาฤกษ์ให้ขาดจากแม่ธรณี มาประดิษฐานไว้ ณ ฐานพระพทุ ธปฏิมากรท่ปี ระดิษฐานแห่งใหม่ (ภาพการเคลือ่ นย้ายศิลาฤกษ์มาประดิษฐาน ใต้ฐานพระพุทธปฏมิ ากร คร้ังใหม่) เมือ่ กาลเวลาล่วงเลยประกอบกบั มงคลฤกษ์ วนั ที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เวลา ๐๙:๐๙ น. ตรงกับวันศุกร์ ข้ึน ๖ ค่า เดือนเจ็ด ปี วอก จุลศักราช ๑๓๗๘ คริ สตศักราช ๒๐๑๖ , มหาศักราช ๑๙๓๘ , รัตนโกสินทรศก ๒๓๕ ไดก้ ารทาการพิธียกเสาเอก ต้ังเสามงคลฐาน พระพุทธรูปท้งั ๑๒ ตน้ ในคร้ังน้ี ไดก้ าหนด เ อ า ต า ม ต า ร า ห ล ว ง ป่ ู ค รู บ า ม า แ ก้ ว ท้งั ฤกษย์ ามในการขุดหลุม, การนาดินในหลมุ ไปไวต้ ามมงคลทิศ, และการนาเสาเอกมงคล ลงหลุมเป็ นปฐมฤกษ์ตามทิศตาราโบราณ ภาพพิธียกเสาเอก พระพทุ ธปฏิมากร หลวงป่ ูครูบาได้เขียนบ่งบอกอย่างชัดเจน

๒๐ พร้อมประกอบการคานวณวนั เวลาอนั เหมาะสมจาก ครูบาหยดั บา้ นแม่พริก บน จึงทาให้การสร้างคร้ังน้ีลุลว่ งไปดว้ ยดี โดยมีหลวงพ่อทา่ นพระครูสุวิมล ธรรมานุสิฐ์ เจา้ คณะอาเภอเถิน ประธานพิธี เม่ือทาการลงเสาเอกมงคลสร้าง ฐานพระพุทธปฏิมากรสาเร็จ ก่อนเมอื่ จะมีการก่อสร้างป้ันองคพ์ ระพทุ ธปฏมิ ากรข้ึน ซ่ึงเป็นองค์ ขนาดใหญ่ท่ีสุดในอาเภอเถิน จึงจาเป็ นต้องมีพิธีทางความเชื่อมาเกี่ยวขอ้ ง ท่านพระครูสุธรรมจินดากร จึงไดจ้ ดั ให้มีพิธีบวงสรวง และวางศิลาฤกษอ์ ีก คร้ังหน่ึงโดยคณะครูช่างอาจารย์พรศิลป์ รัตนชูเดช และอาจารย์วุฒิกร น้อยเงิน เริ่มกระทาพิธีบวงสรวงในวนั ที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๐ เวลา ๐๙:๐๙ น. ตรงกบั วนั อาทิตย์ แรม ๑๐ คา่ เดือนย(ี่ ๒) ปี วอก จลุ ศกั ราช ๑๓๗๘, คริสตศกั ราช ๒๐๑๗, มหาศกั ราช ๑๙๓๘, รตั นโกสินทรศก ๒๓๕ ประกอบ ไดด้ ว้ ยฤกษ์ ปกตสิ ุรทนิ ปกติมาส ปกติวาร, อาทิจวาร(อ) ปสุ ยมาส อฐั ศก ซ่ึง เป็ นฤกษ์มงคลจึงได้เริ่มการทาพิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างองค์พระพุทธรูป ขนาด ๘ เมตร มีความสูง ๑๖ เมตร โดยหันพระพกั ตร์ไปทางทิศตะวนั ออก จรดแม่น้าวงั มลี กั ษณะสวยงามทรงยิม้ พระสรวล พระเนตรจรดลงต่า ประทบั นัง่ บนอุทุมพรมาลา เหนือพระแท่นราชอาสนใ์ ตพ้ ระราชอาสน์มหี ้องโถโลง่ ไวเ้ ป็นทป่ี ระดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูปจาลองสาคญั เบ้อื ง หนา้ มซี ุม้ ประตูโขงทรงลา้ นนาสามารถลอดเขา้ ออกไดเ้ พอื่ คลายเคราะห์หมด โศกตามคติความเช่ือโบราณ

๒๑ เมื่ อได้ ก่ อสร้ างองค์ พระมาจวนใกล้ ถึงพิธีบรรจุหัวใจพระพุทธ ปฏิมากรก็ได้ดาเนินการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ (กระดูกของ พระพทุ ธเจ้า) จานวน ๒ คร้ัง ค ร้ั ง ที่ ๑ ไ ด้ใ ห้ พ ร ะ สมุ ห์ อ าทิตย์ อินฺทปญฺโญ ได้นาความกราบเรียนพระเดช พระคุณพระราชธรรมาลงั การ เจา้ อาวาสวดั บุญ วาทยว์ ิหาร คร้ังเมื่อดารงตาแหน่งที่ปรึกษาเจา้ คณะจังหวัดลาปาง เรื่ องขอเมตตาพระบรม สารีริกธาตุ เพอื่ นามาบรรจุในองค์ พระมงคลชยั ศรีตรีโลกนาถ (พระพทุ ธศรีวรมนุ ีนาถ) หลวงป่ ู พระราชธรรมาลังการ ก็ได้มีเมตตา ท่านจึง เดินทางข้ึนไปที่สถานปฏิบตั ิธรรมอุทยานดอยสุนทรมุนี ท่านก็ไดน้ ั่งสวด มนต์อธิฐานจิต แต่เนื่องดว้ ยบุญฤทธ์ิท่ีพระเดช พระคุณหลวงป่ ูมีความประสงค์ใคร่ถวาย พระบรมสารีริกธาตุแก่วดั เหล่าน้อย พระ เดชพระคุณหลวงป่ ูก็ไดม้ องเห็นพระบรม สารีริกธาตุหลายองค์ และเห็นว่าเป็ นนิมิต หมายอันดี จึงบอกบุญแก่ผู้ดูแลสถาน ปฏิบัติธรรม (พระครูใบฎีกาเกษมสันต์ พระบรมสารีริกธาตุ ภู ริ ป ญฺ โ ญ ) แ ล ะ ไ ด้ น้ อ ม อั ญ เ ชิ ญ ท่ีหลวงป่ ูพระราชธรรมาลงั การ ถวาย พระบรมสารีริกธาตุ มาถวายใหแ้ กว่ ดั เหล่า น้อย เพื่อท่ีจะอญั เชิญประดิษฐานในองค์

๒๒ พระพุทธปฏิมากรต่อไป ดว้ ยบุญแห่งการสร้างพระพุทธรูปซ่ึงเป็ นบุญอนั ย่ิงใหญ่ ผูท้ ี่ไดย้ ินไดฟ้ ังย่อมยินดีอนุโมทนา ดงั น้ันพระเดชพระคุณหลวงป่ ู พระราชธรรมาลังการ จึงขออนุโมทนาถวายพรอันประเสริฐน้ีไว้ โดยได้ จารึกเป็ นลายมือว่า “นับว่าเป็ นนิมิตรหมายอันเป็ นศิริมงคลยิ่งแล้ว ขอ อาราธนาอานุภาพแห่งพระบรมสารีริกธาตุน้ี สถติ มน่ั สถาพรกับวัดเหล่าน้อย ให้เจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนานเทอญ” ณ วันองั คาร ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐๑๒ คร้ังที่ ๒ พระครูสุธรรมจินดากรได้ นาความข้ึนกราบ เจา้ ประคุณ สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พราหมณ์พิทักษ์) กรรมการมหาเถรสมาคม เจา้ อาวาสวดั บวรนิเวศราชวรวิหาร และผปู้ ฏบิ ตั ิหนา้ ทแี่ ทนเจา้ คณะใหญค่ ณะ ธรรมยตุ เพอ่ื ขอประทานพระบรมสารีริกธาตุ เพอื่ นามาประดิษฐาน ๑๒ พระราชธรรมลงั การ เจา้ อาวาสวดั บญุ วาทยว์ หิ าร, ทีป่ รึกษาเจา้ คณะภาค ๖, ขออนโุ มทนา, (อดั สาเนา).

๒๓ ในพระเศียร และพระอุระ เม่ือเจ้าประคุณสมเด็จพระวนั รัตทราบจึงได้ กาหนดวนั เวลา และได้ให้พระเทพวิสุทธิกวีปฏิบัติหน้าท่ีแทน ณ พระ อุโบสถ์ วดั บวรนิเวศราชวรวิหาร มอบถวายพระบรมสารีริกธาตุ พร้อมท้งั แสดงโอวาท (ภาพเข้ารับพระบรมสารีริกธาตุ ณ วดั บวรนิเวศราชวรวหิ าร กรุงเทพมหานครฯ )

๒๔ (ภาพถ่าย ผอบทองคาบรรจุพระบรมสารีริกธาตจุ ากวดั บวรนิเวศราชวรวิหาร ทไี่ ดอ้ ญั เชิญประดษิ ฐานบนพระเศียรของพระพทุ ธศรีวรมนุ ีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง) คร้ังเมื่อได้พระบรมสารีริกธาตุครบแลว้ พระครูสุธรรมจินดากร พร้อมดว้ ยคณะกรรมการ และคณะศรัทธาจึงไดพ้ ร้อมใจกนั กาหนด วนั เวลา อันสมควร ซ่ึงตรงกับ วันท่ี ๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑ เวลา ๐๙.๐๙ น. ตรงกับวันเสาร์ แรม ๕ ค่า เดือนย่ี(๒) ปี ระกา จุลศักราช ๑๓๗๙, คริสตศกั ราช ๒๐๑๘ , มหาศกั ราช ๑๙๓๙ , รตั นโกสินทรศก ๒๓๖ ไดท้ าพธิ ี บรรจหุ วั ใจพระพทุ ธปฏิมากร โดยมีคณะศรัทธาทวั่ สารทิศร่วมพธิ ีคร้ังน้ี เหตุ เพราะว่าในอาเภอเถินไม่เคยมีพิธีบรรจุหัวใจพระพุทธปฏิมากรองค์ใหญ่ ขนาดน้ี โดยพิธีคร้ังน้ี มีการอญั เชิญหัวใจ โดยใช้วิธีการชกั ลากข้ึนไปสู้องค์ พระพุทธปฏิมากร และไดก้ ระทาการชักลากด้วยหาบบุง้ ที่บรรจุพระบรม สารีริกธาตุจานวน ๒๙ เจดียแ์ กว้ บรรจไุ วท้ ่พี ระเศียร และพระอุระ พร้อมท้งั วตั ถุมงคล รุ่นกตญั ญู พระเหรียญรูปไข่ของหลวงป่ ูครูบามาแกว้ , พระรอด,

๒๕ พระคง,พระเหรียญเกจิคณาจารย์ต่าง ๆ จานวนหน่ึง จึงเฉลิมพระนาม พระพุทธปฏิมากรน้ี เพื่อเป็ นมงคลอนุสรณ์ในยุครัฐสมัยแผ่นดินของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี ๙ ว่า “พระมงคลชัยศรีตรีโลกนาถ ภูมิสิรินริศร” กาลต่อมาท่านพระครูสุธรรมจินดากร ได้นาถวายรายงานกราบทูล สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระองค์ท่ี ๒๐ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ เรื่องขอ พระกรุ ณา กราบทูลขอประทานนามพระพุทธปฏิมากร ณ วันท่ี ๑๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ สานกั เลขานุการ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ไดม้ ีลขิ ติ มาถงึ ทา่ น พระครูสุธรรมจินดาการ เน้ือหาใจความว่า “สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงมีพระบัญชา พระกรุณา ขนานพระนามพระพุทธปฎมิ ากร ท่ีพุทธบริษัทวัดเหล่าน้อย ตาบลล้อมแรด อาเภอเถนิ จงั หวัดลาปาง สร้างขนึ้ เป็ นทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ เพ่ือ เป็ นท่ีสักการของพุทธบริษัท ว่า พระพุทธศรีวรมุนีนาถ หมายความว่า “พระพุทธเจ้าทรงเป็ นพระมุนีผู้ประเสริฐด้วยพระสิริ ทรงเป็ นท่ีพึงของ สรรพสัตว์” ดว้ ยพระกรุณา ของฝ่ าพระบาทเกลา้ พระกระผม พระครูสุธรรม จินดากร พร้อมท้งั คณะศรัทธาอาเภอเถิน ขอสานึกในพระกรุณายิ่ง จึงถือวา่ เป็ นมงคลยิ่งในการก่อสร้างองค์พระพุทธปฏิมากร และเป็ นสถานที่แรกที่ องคส์ มเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี ๒๐ ไดพ้ ระกรุณาประทานไว้ ในอาเภอเถิน โดยได้มีพระบัญชาเป็ นลายพระหัตถ์ใจความว่า “ขอถวายพระนาม พระพุทธรูปว่า พระพุทธศรีวรมุนีนาถ” ตามด้วยพระนามย่อ “สด.พระ อริยวงศา” ณ วนั ท่ี ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓

๒๖ (ลายพระหัตถ์ (ลายมือ) ของเจ้าพระคุณสมเด็จ พระอริยวงศา- คตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก องค์ท่ี ๒๐๑๓ ภาพถ่าย ขณะอญั เชิญพระบญั ชาสมเด็จอริยวงศาคตญาณพระสังฆราช มา ประดิษฐานวดั เหลา่ นอ้ ย โดยผอู้ านวยการพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ลาปาง ๑๓ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, บันทึกข้อราชการ ขอรับพระบัญชาสมเด็จ พระสังฆราช, ๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓,(อดั สาเนา)

๒๗ ประมวลภาพการก่อสร้าง (คร้ังท่ี ๑) ๑) การเร่ิมตน้ ก่อสรา้ งพระพทุ ธศรีวรมุนีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง)

๒๘ ประมวลภาพการก่อสร้าง (คร้ังที่ ๒) ๒) พธิ ีวางศิลาฤกษ์ พระพุทธศรีวรมนุ ีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง)

๒๙ ประมวลภาพการก่อสร้าง (คร้ังท่ี ๓) ๓) พธิ ียกเสาเอกฐานพระพุทธศรีวรมนุ ีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง)

๓๐ ประมวลภาพการก่อสร้าง (คร้ังท่ี ๔) ๔) พธิ ีวางศลิ าฤกษ์ ป้ันองคพ์ ระพุทธศรีวรมุนีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง)

๓๑ ประมวลภาพการก่อสร้าง (คร้ังที่ ๕) ๕) พธิ ีบรรจหุ วั ใจองคพ์ ระพทุ ธศรีวรมนุ ีนาถ (พระเจา้ ต๋นหลวง)

๓๒ จารึกภาพมงคลอนั เป็ นเกยี รติประวัติ ๑) เขา้ รบั พระบรมสารีริกาตุ จากสมเดจ็ พระวนั รัต โดย พระเทพวิสุทธิกวี ปฏิบตั ิหนา้ ที่แทน ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร กรุงเทพมหานครฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๐

๓๓ ๒) เขา้ รบั พระบรมสารีริกธาตุ จากพระเดชพระคณุ หลวงป่ ู พระราชธรรมลงั การ ท่ปี รึกษาเจา้ คณะภาค ๖ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๖๐

๓๔ ๓) พุทธาภเิ ษก พระกร่ิงเงนิ ลา้ น แจกงานกฐินวดั เหลา่ นอ้ ย โดย สมเด็จพระวนั รตั และเกจคิ ณาจารย์ ณ วดั บวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานครฯ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๖๑

๓๕ ๔) สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ วดั ไตรมติ รวิทยาราม ประทานผา้ ไตร และรูปภาพ แดพ่ ระครูสุธรรมจนิ ดากร เจา้ อาวาสวดั เหล่านอ้ ย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๖ ๕) สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี วดั ไตรมติ รวทิ ยาราม ประทานผา้ ไตร และรูปภาพ แด่พระครูสุธรรมจินดากร เจา้ อาวาสวดั เหลา่ นอ้ ย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๗ \\ \\ ๖) รับพระบญั ชาขนานนามพระพทุ ธศรีวรมนุ ีนาถ ประทานจาก สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก โดยผอู้ านวยการสานกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั ลาปาง อญั เชิญมาถวาย เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๖๓

๓๘ ๗) เจา้ ดวงเดือน ณ เชียงใหม่ เจา้ นายฝ่ายเหนืออาวุโส ขนานนามพระพุทธนิลรตั นปฏมิ ากร พระเจา้ สมหวงั ถวายแดว่ ดั เหลา่ นอ้ ย เม่ือ พ.ศ. ๒๕๖๑

๓๙ ๘) เจา้ ดวงเดอื น ณ เชียงใหม่ เจา้ นายฝ่ ายเหนืออาวุโส ดาเนินมาร่วมงานกฐิน ประธานคณุ ชมช่ืน เครือนอ้ ยมณี คุณภาสกร ภาทเี พราะ ถวาย ณ วดั เหล่านอ้ ย ตาบลลอ้ มแรด อาเภอเถนิ จงั หวดั ลาปาง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๑

๔๐ ๙) เจา้ ดวงเดือน ณ เชียงใหม่ เจา้ นายฝ่ ายเหนืออาวโุ ส ร่วมอนุโมทนา และมอบผา้ ไตร แด่พระสงฆท์ ีเ่ ขา้ ร่วมปฏิบตั ิธรรมรุกขมลู วดั เหล่านอ้ ย เมอื่ พ.ศ. ๒๕๖๑

๔๑ ประวัติ (หลวงป่ คู รูบามาแก้ว ธมมฺ ลงกฺ าโร) หลวงป่ ูครูบามาแก้ว ธมฺมลงฺกาโร อายุ ๘๐ ปี พรรษา ๖๓ เดิมท่านชื่อ “หม่าแก้ว” หรือ “มาแก้ว” นามสกุล ทาริยะอินทร์ ถือกาเนิดใน วนั เสาร์ ที่ ๑๘ เดือน เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๙ ณ บ้านเหล่า ตาบล ล้อมแรด อาเภอเถิน จังหวัดลาปาง บิดาช่ือพ่อเจ้าคามูล มารดาชื่อ แมเ่ จา้ คานนท์ นามสกลุ ทาริยะอนิ ทร์ มีพี่นอ้ งร่วมบดิ ามารดาเดียวกนั (เท่าท่ี สืบทราบ) ๑) ครูบามาแกว้ ธมฺมลงฺกาโร ๒) นางจนั ทร์สม ทาริยะอนิ ทร์ ๓) นางคา ทาริยะอินทร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook