Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรรมแนะแนว ป.5-1

ชุดกิจกรรมแนะแนว ป.5-1

Published by Rattikan Youtsook, 2021-04-27 18:04:32

Description: ชุดกิจกรรมแนะแนว ป.5-1

Search

Read the Text Version

ป.5 ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ วิชากิจกรรมแนะแนว ช่ือ-สกุล.......................................................... เลขท.ี่ .......................... โดย นางสาวรตั ตกิ าล ยศสขุ ตาํ แหนง่ ครู โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ

1 แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ 1 กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 5 กจิ กรรม แนะแนว เวลา 16 ชว่ั โมง เรือ่ ง คณุ คาตนเอง เวลา 1 ชว่ั โมง วนั ท…ี่ ……………………………………………………………………………………………………………………………… สาระสำคญั การรจู กั คณุ คาของตนเอง จะทำใหเ ราเปนคนทม่ี ีสขุ ภาพจิตที่ดี จุดประสงคการเรยี นรู 1. เพือ่ ใหผ เู รียนบอกคุณลกั ษณะพิเศษของตนเองได K 2. เพื่อฝกใหผ ูเรยี นกลา แสดงออกในดา นความรูสกึ นกึ คดิ P 3. เพื่อใหผ เู รียนมเี จตคติทด่ี ีตอ ตนเอง และนำไปใชประโยชนได A สาระการเรียนรู การรูจกั คุณคาตนเอง กระบวนการจดั การเรียนรู 1. แจกบทความ “คุณคาของตวั เรา” ใหผ ูเ รยี นอาน 2. ผูเรียนแสดงความคดิ เหน็ ขอ สรุปท่ไี ดจ ากบทความ โดยสมุ ถามผูเรียน 3 – 4 คน 3. แจกใบงาน ฉัน…..เปนคนพิเศษ และปากกาสีเมจิกใหกบั ผเู รยี น 4. ใหผูเรยี นทบทวน และสำรวจตนเองวา ถาจะใชสญั ลักษณ หรือภาพแทนตนเอง ผูเรียนคิดวา จะเปน อะไร ยกตัวอยาง เชน นางสาวองนุ คดิ วา สญั ลักษณข องเธอ คือ ผีเสื้อ เพราะเธอรกั สวยรักงาม ชอบอิสระ และชอบชวยเหลอื ผอู น่ื 5. ผเู รยี นวาดภาพสัญลักษณข องตนเองลงในใบงาน ตกแตง ภาพใหสวยงามใชเวลา ประมาณ 10- 15 นาที พรอมอธิบายความหมายและรายละเอยี ดของภาพสญั ลักษณนนั้ 6. ผเู รยี นจบั คู พดู คยุ ถงึ ภาพและความหมายของสญั ลกั ษณของตนเอง โดยผูฟงกลาว คำช่นื ชมผพู ดู ในทางบวกซึง่ กนั และกัน 7. สุม ผูเรยี น 3 – 4 คู แสดงความรูสึกท่ีไดรบั จากการพดู คุยแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ 8. ผเู รยี นและผูดำเนินกจิ กรรมชวยกนั สรุปขอ คิดทไี่ ดจากกิจกรรมตามแนวทางตอไปนี้ การพูดถึงความดงี ามของผูอืน่ ทำใหผ พู ดู และผูฟ งเกดิ ความรูสึกท่ีดี มคี วามสขุ เกดิ กำลังใจ และเกิดการนับถือ ไวว างใจซง่ึ กนั และกนั สงผลใหเกิดความรัก ความผกู พันและเหน็ คณุ คา และนบั ถือตนเองและผอู ืน่ ส่อื / แหลง เรยี นรู 1. บทความ “คุณคาของตวั เรา” 2. ใบงาน เรื่อง ฉัน….เปน คนพิเศษ 3. หอ งสมดุ การวดั และประเมินผล ผปู ระเมิน ครปู ระเมนิ นักเรยี นประเมิน

2 สงิ่ ทต่ี อ งการวดั และวิธีวดั ประเมนิ พฤติกรรมความมีวนิ ัย ความเปนผนู ำและผตู ามท่ีดี และความรบั ผิดชอบ โดยครูและเพอื่ นนกั เรยี นเปน ผปู ระเมนิ สงั เกตการเขารวมกิจกรรมและการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยครูและเพอ่ื นนกั เรียนเปน ผู ประเมิน ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ โดยครแู ละเพ่ือนนักเรยี นเปน ผูประเมนิ เคร่ืองมอื วดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สังเกตเวลาการเขารว มกจิ กรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม แบบประเมิน กระบวนการทำงานกลุม เกณฑก ารวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤตกิ รรม เกณฑผานรอยละ 80 สงั เกตเวลาการเขารว มกิจกรรมและการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผ านรอ ยละ 80

3 บทความ เรือ่ ง “คณุ คาของตวั เรา” เราแตล ะคนมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกตางกัน ดังน้ันขอใหเ รามีความม่ันใจในตนเอง แมวาเราจะชื่นชม ชอบ และก็อยากจะเหมือนกับใครสักคน แตมิใชหมายความวา เราจะไมยอมรับ ตวั ของเราเอง จรงิ อยูเราอาจไมห ลอ ไมสวย ไมเ ดน ไมเกง ไมมคี วามสามารถ อยางท่หี ลายๆคนเปน  เขาอาจรองเพลงเกง  แตเราเลน ดนตรีได  เขาพูดเกง  แตเราเปน ผฟู งท่ดี ี  เขาเปน ท่ีรักของครู  แตเราเปนท่ีรักของเพอื่ น  เขาเกง คณิต  แตเราเกงสงั คม  เหนอื สงิ่ อ่นื ใด  เขา…….ก็คือ……….เขา  เรา……...ก็คอื ………เขา เรามีสิทธิ์จะภูมิใจในความสำเร็จของตนเอง เล็ก ๆ นอย ๆ คอยๆ เปน คอย ๆ ไป เราไวว างใจตนเอง พอ ๆ กบั ไวว างใจผูอ น่ื รสู กึ และเหน็ คณุ คาของตนเอง บางตอนจาก “เพียงฟากฟา…ท่ีเปลี่ยนไป” “ธนั ยภฤศ” เรียบเรยี ง

4 ใบงาน ฉนั ……………..เปนคนพเิ ศษ ใหน ักเรียนวาดภาพสัญลักษณข องตนเอง แลว ตกแตง ใหส วยงาม สญั ลกั ษณข� องขา� พเจา� อธบิ าย ความหมาย……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………

5 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 2 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชั่วโมง เรอื่ ง ความดีและความเกง เวลา 1 ชั่วโมง วันท.่ี .............................................................................................................................................. สาระสำคัญ การบอกความดี ความเกง ของตนเองใหผูอืน่ รู และบอกความดี ความเกงของผอู ืน่ ได ทำใหเกิดความภาคภมู ิใจและเหน็ คุณคา ในตนเอง รวมท้ังเปน การเสริมความเชือ่ มั่นใหแกกนั และกนั ซึง่ จะเปนประโยชนตอ ตนเองและผอู นื่ จดุ ประสงคการเรียนรู 1. บอกความดีและความเกงของตนเองและผอู นื่ ได (A) 2. บอกเหตุผลและมีความเชื่อม่ันตอ บุคคลที่มีความดีและความเกงได (K) 3. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรว มกนั (P) 4. มพี ฤตกิ รรมดานการเปน ผนู ำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรยี นรู ความภาคภูมิใจของตนเอง กระบวนการจัดการเรียนรู 1. นักเรยี นดปู ายนเิ ทศเกย่ี วกับพระราชประวตั ิในพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั ภมู พิ ลอ ดลุ ยเดช และสนทนาในหัวขอตอ ไปนี้ – บคุ คลในภาพคอื ใคร – บคุ คลในภาพมีความสำคญั อยางไร – นกั เรียนเคยแสดงหรอื เห็นใครแสดงความเคารพพระองคบ า ง–ไหม เพราะเหตุใด 2. แบงกลุมนกั เรียนกลุม ละ 5 คน ใหศกึ ษาจากปายนเิ ทศ และบอกความดคี วาม เกงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัวภมู พิ ลอดุลยเดช 3. ใหน ักเรยี นบอกผลของความดี ความเกง ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ภูมพิ ลอ ดุลยเดช ทรงกระทำ วา มผี ลดีตอใครบาง 4. ครสู รปุ การเปนคนดี คนเกง สามารถชวยเหลือผูอื่นได ทำใหเกดิ ความมั่นใจในการ ทำกจิ กรรมตาง ๆ และเกดิ ประโยชนตอตนเองและผูอนื่ 5. แจกกระดาษรปู ดอกไมใ หนกั เรยี นคนละ 1 แผน ทุกคนเขยี นชอ่ื ตนเองสวนท่ีเปน เกสรดอกไม และใหเ ขยี นความดี ความเกงของตนเองลงในกลีบดอกไม 1 กลีบ แลว สง กระดาษให เพือ่ นทนี่ ัง่ ถัดไป (วนซายหรอื ขวาก็ได) 6. ผูที่ไดร บั กระดาษรปู ดอกไม ใหเขียนความดี ความเกงของเพ่อื นท่ีมีชอ่ื ในเกสร ดอกไมลงในบนกลบี ดอกไม 1 กลบี และสงตอ คนถัดไป 7. ดำเนนิ กิจกรรมตามขอ 6 จนครบทกุ คน ดอกไมจ ะวนกลบั มาอยทู ีเ่ จาของชอื่ พอดี

6 8. ครูสมุ นกั เรยี นอา นความดี ความเกง ของตนใหเ พอื่ นฟง วธิ กี ารรายงานใหบ อกถงึ ความดี ความเกงทีเ่ พือ่ นเขียนบอกไวใ นกลบี ดอกไม และเจาของดอกไมรูสึกอยางไร และจะนำไปทำ ประโยชนอ ะไรบา ง 9. ครแู ละนักเรยี นรว มกันสรุปถงึ ความดี ความเกง “ความดแี ละความเกงของคนเรามี ดวยกันทกุ คน มีมากมนี อยแตกตางกนั ขึน้ อยกู ับศักยภาพของแตละบคุ คล สถานการณแ ละเวลา ซ่ึง คนรอบขางจะมองเห็นความดีและความเกง จากการกระทำของเราและจะเปนการสรา งความเชื่อมั่น ใหแ กตัวเราดว ยเชน กัน” 10. ครใู หน กั เรยี นนำดอกไมของตนไปตกแตงปรบั ปรุงใหสวยงามแลวนำไปจัด นิทรรศการหรือใสแฟมสะสมผลงาน สอื่ / แหลงเรียนรู 1. ปา ยนิเทศพระราชกรณยี กิจในพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ภมู พิ ลอดุลย เดช 2. กระดาษรปู ดอกไม การวดั และประเมนิ ผล ผูประเมนิ ครูประเมนิ นักเรยี นประเมิน ส่งิ ท่ตี อ งการวดั และวธิ ีวัด ประเมินพฤติกรรมความมีวนิ ัย ความเปนผนู ำและผตู ามท่ีดี และความรบั ผดิ ชอบ โดยครูและเพือ่ นนักเรยี นเปน ผปู ระเมนิ สงั เกตการเขารว มกจิ กรรมและการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครแู ละเพอ่ื นนกั เรยี นเปนผู ประเมนิ ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพ่ือนนกั เรยี นเปน ผปู ระเมิน เครอ่ื งมอื วดั แบบประเมินพฤตกิ รรม สังเกตเวลาการเขารว มกจิ กรรมและการปฏิบัตกิ ิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑก ารวัดและประเมนิ ประเมินพฤตกิ รรม เกณฑผานรอยละ 80 สงั เกตเวลาการเขารวมกิจกรรมและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผา นรอ ยละ 80

7

8 แบบบันทกึ การทำความดี ช่อื …………………………………….……….นามสกลุ ………………………………………เลขท…่ี ………ชัน้ ………/…….. วนั /เดอื น/ป ความดที ข่ี าพเจา ทำ สถานที่ ผูรบั รอง บา น โรงเรยี น อื่น ๆ

9 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 3 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ช่วั โมง เร่อื ง จดุ เดน จุดดอย เวลา 1 ชั่วโมง วนั ท่.ี .............................................................................................................................................. สาระสำคญั การรบั รูจดุ เดน จุดบกพรองของตนเองทง้ั ทางดา นรางกาย อารมณ ความรูสกึ และ ความสามารถ จะนำไปสกู ารเขาใจและยอมรับตนเอง จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. บอกจุดเดน จุดบกพรองของตนเองได (K) 2. ยอมรบั จดุ เดน จุดบกพรองของตนเองไดอ ยา งมเี หตผุ ล (A) 3. มที กั ษะกระบวนการในการทำงานรวมกัน (P) 4. มพี ฤติกรรมดานการเปน ผนู ำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรียนรู จดุ เดน จุดดอยตนเอง กระบวนการจัดการเรยี นรู 1. ครเู ลานิทานเร่อื ง “จงรจู ักขอจำกดั ของตน” 2. นักเรียนแสดงบทบาทสมมติเรื่อง “จงรูจ กั ขอจำกัดของตน” 3. นกั เรียนรวมกันตอบคำถาม – นายรักสุนัข เพราะอะไร – นายไมรักลา เพราะอะไร – ทำอยา งไร นายจงึ จะรักลา 4. นกั เรยี นบอกจุดเดน จุดบกพรองของสนุ ัขและลา และรว มกนั สรุปความคิดเหน็ ของนกั เรยี นที่มีตอ การมองจดุ เดน จุดบกพรอ งของสุนขั และลา 5. นักเรียนบอกจุดเดน จดุ บกพรอ งของตนเอง และพจิ ารณาวาจุดบกพรองใดบางท่ี พัฒนาได พรอมทั้งอธบิ ายเหตผุ ล 6. นักเรยี นสรุปความคดิ เห็นทีม่ ีตอการยอมรบั ตนเองในเร่ืองจดุ เดน จุดบกพรองของ ตนเอง 7. ครูสรุปการยอมรับตวั เองตามสภาพความเปน จริงและต้งั คำถามใหน กั เรยี นรว มกัน พิจารณาวาดานใด พฒั นาหรือเปลีย่ นแปลงได และใหยกตวั อยางสงิ่ ที่สามารถพฒั นาไดจ ากนิทานท่ี ไดฟ ง 8. นักเรียนแบง กลมุ กันทำงานตามใบงาน เรื่อง จงรูจ กั ขอ จำกัดของตน และใบงาน เรื่อง จุดเดนและจุดดอ ยของตนเอง 9. นักเรยี นทำงานตามความถนดั เก่ียวกับจุดเดน จุดบกพรองของตนเอง เชน วาดภาพ แตง นิทาน แตงประโยคสั้น ๆ

10 10.นำผลงานของนกั เรยี นมาจัดนิทรรศการและรวมกันประเมินอยา งสรางสรรค สอื่ / แหลง เรยี นรู 1. นทิ านเรอื่ ง จงรูจกั ขอจำกัดของตน 2. ใบงาน เรื่อง จงรูจักขอจำกัดของตนเอง 3. ใบงาน เรื่อง จุดเดนและจุดบกพรองของตนเอง การวดั และประเมินผล ผูประเมนิ ครปู ระเมนิ นกั เรียนประเมิน สงิ่ ทีต่ องการวดั และวิธวี ดั ประเมนิ พฤตกิ รรมความมีวนิ ยั ความเปนผูน ำและผตู ามท่ีดี และความรบั ผิดชอบ โดยครูและเพอ่ื นนักเรยี นเปน ผปู ระเมิน สังเกตการเขารว มกิจกรรมและการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูและเพอ่ื นนักเรียนเปน ผู ประเมิน ประเมินกระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพอื่ นนกั เรยี นเปน ผูประเมิน เครื่องมอื วดั แบบประเมินพฤตกิ รรม สังเกตเวลาการเขารวมกิจกรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมินพฤตกิ รรม เกณฑผ า นรอยละ 80 สังเกตเวลาการเขา รว มกจิ กรรมและการปฏิบัติกิจกรรม เกณฑผ านรอยละ 80 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผ า นรอยละ 80

11 เรือ่ ง จงรจู ักขอ จำกัดของตน ชายคนหนง่ึ เล้ยี งสนุ ขั ข้ปี ระจบและลาไวอยางละตวั เขามักจะเลน กับสนุ ัขอยูเสมอ ๆ คราวใดท่อี อกไปกจิ อาหารนอกบาน ก็จะนำอาหารตอิ ดมอื กลบั มาฝากสุนัขทเ่ี ขามาประจบประแจง ทำใหลาเกิดความอจิ ฉา คิดอยากทำเหมือนสุนขั บา ง วนั หนึง่ มนั จงึ ควบปเุ ลง ๆ เขาไปหานายของ มนั และกระโดดโลดเตนรอบ ๆ ตวั นาย การกระโดดโลดเตน ทำใหมันเตะนายของมันเขา นายโกรธ มากเรียกคนใชม าชว ยกันตเี จาลา และส่งั ใหนำไปผกู ไวในคอก ใบงาน เรอื่ ง จงรจู ักขอจำกดั ของตน รา งกาย อารมณความรสู ึก ความสามารถ จุดเดน จุดบกพรอ ง จดุ เดน จดุ บกพรอง จดุ เดน จดุ บกพรอ ง

12 ใบงาน เร่อื ง จดุ เดนและจดุ บกรองของตนเอง 1. ดานรา งกาย จุดเดน……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. จดุ ดอย…………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ดา นอารมณค วามรสู กึ จุดเดน ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. จดุ ดอ ย…………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ดานความสามารถ จดุ เดน ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. จุดดอ ย…………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………….

13 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 4 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชวั่ โมง เรื่อง คำตชิ ม เวลา 1 ชัว่ โมง วนั ท่ี............................................................................................................................................... สาระสำคญั การยอมรบั คำติชมของผอู ื่น แลวนำไปปรับปรงุ แกไขใหด ขี ้ึน จะทำใหบุคคลเหลานัน้ สามารถแสดงพฤติกรรมไดถ กู ตองเหมาะสม ซงึ่ จะนำไปสกู ารอยรู ว มกนั ในสังคมไดอยางมคี วามสุข จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. นกั เรยี นไดสำรวจตนเอง (P) 2. นักเรียนรจู กั ยอมรบั ฟงความคดิ เห็นของผอู นื่ (A) 3. มีทกั ษะกระบวนการในการทำงานรว มกนั (P) 4. มีพฤติกรรมดา นการเปน ผูนำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรียนรู การยอมรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผอู ืน่ กระบวนการจดั การเรียนรู 1. ครถู ามนักเรยี นที่แตงกายเรียบรอย สวมเสอื้ ผาถูกระเบียบวา “มคี นกลาวขวัญถงึ ตนเองอยา งไรและรสู กึ อยา งไรกับคำพดู น้นั ” 2. ครสู อบถามนกั เรยี นวา “เมอื่ ตอ งการสำรวจความเรยี บรอ ยในการแตงตวั หรือ ใบหนา นักเรียนใชอะไรสำรวจ 3. แบง กลมุ นกั เรียน กลุมละ 8 คน จากน้นั ครูแจกซองจดหมายท่ใี สกระดาษเปลา จำนวน 7 แผน ใหคนละ 1 ซอง ใหน ักเรยี นเขยี น ช่อื – นามสกุล พรอ มช่อื เลนของตนไวห นา ซอง และทำตารางไวข า งลางซองเทาจำนวนกระดาษเปลา (7 ชอ ง) 4. สมาชิกกลุมแตละคนแลกเปล่ยี นกันเขยี นจุดเดนของเพ่อื นเจาของซองจดหมายลงใน กระดาษเปลาภายในซอง เมือ่ แตล ะคนเขยี นเสร็จใหทำเคร่อื งหมาย / หนาซองจดหมาย เมื่อครบ ทกุ คนใหส งซองคนื เจา ของ 5. ครูซกั ถามถงึ ขอ ความทไี่ ดรบั พรอมทง้ั ใหเจาของซองอธบิ ายจุดเดน จดุ ดอ ย ของ ตนเพ่มิ เติม 6. ใหน ักเรยี นจับคู จากนน้ั ใหแ ตละคูสัมภาษณซ ่ึงกันและกัน ตามใบงานเร่ือง เธอ รูเทาที่ฉนั รู 7. นกั เรยี นและครูรวมกนั สรปุ “การใชกระจกสอ งดตู ัวเอง จะเห็นเพยี งรปู ลกั ษณ ภายนอกเทา น้ัน สวนภายในจติ ใจของเราแตละคนจะตองใหค นใกลชิดและตัวเองคอยสังเกตและบอก ดงั นน้ั การเปดใจยอมรับคำติชมจากผอู ืน่ จะทำใหรขู อ บกพรอ งของตน เพื่อนำไปปรบั ปรุงแกไ ขใหดี ขนึ้ และรสู ึกภาคภูมใิ จ เม่อื มีคนเหน็ ขอ ดีของเราและช่นื ชมเรา”

14 สอ่ื / แหลง เรียนรู 1. ซองจดหมาย 2. กระดาษเปลา 3. ใบงาน เธอรเู ทาท่ีฉนั รู การวดั และประเมินผล ผปู ระเมิน ครปู ระเมนิ นักเรียนประเมิน สง่ิ ท่ีตอ งการวัดและวิธีวดั ประเมินพฤตกิ รรมความมีวนิ ยั ความเปนผูน ำและผตู ามท่ีดี และความรบั ผดิ ชอบ โดยครแู ละเพอ่ื นนกั เรียนเปน ผูประเมนิ สังเกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูและเพ่อื นนักเรียนเปน ผู ประเมนิ ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพอ่ื นนกั เรยี นเปน ผปู ระเมิน เครอื่ งมอื วดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สังเกตเวลาการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ัติกิจกรรม แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ เกณฑก ารวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤตกิ รรม เกณฑผา นรอ ยละ 80 สงั เกตเวลาการเขา รวมกิจกรรมและการปฏิบัตกิ ิจกรรม เกณฑผานรอ ยละ 80 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม เกณฑผานรอ ยละ 80 กจิ กรรมเสนอแนะ / กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ –

15 ใบงาน เธอรูเทา ท่ีฉนั รู คำชี้แจง ใหน กั เรียนสมั ภาษณคูของตนตามขอความตอไปน้ี ช่อื ผูสัมภาษณ…………………………สกลุ ……………………….ชั้น………… 1. ช่อื นกั เรยี นมีความหมายวา อยางไร……………………………………………… 2. บุคคลท่ีตัง้ ชอ่ื ให คอื ……………………………………………………………… 3. ชอ่ื เลน …………………………………………………………………………….. 4. วนั /เดือน/ปท ่ีเกดิ …………………………………………………………………. 5. อาหารที่ชอบ……………………………………………………………………….. 6. สที ่ีชอบ……………………………………………………………………………… 7. ส่งิ ทกี่ ลวั มากทีส่ ดุ …………………..……………………………………………… 8. สถานที่ทปี่ ระทบั ใจท่ีสุด…………………………………………………………… 9. ดอกไมท ี่ชอบ………………เหตผุ ล……….……………………………………… 10. นกั รองคนโปรด คอื ………………………เพลง……………….………………… 11. รายการโทรทัศนท ี่สนใจ…………………………………………………………… 12. ส่ิงท่ีชอบทำยามวา ง…..…………………………………………………………… 13. เวลาโกรธมาก ๆ จะทำอยา งไร……………………………………………………… 14. เคยพูดโกหกหรอื ไม…………………………ถา เคยพดู เรื่องอะไร………………… 15. บคุ คลทไี่ ววางใจมากท่ีสุด คือ..…………………………………………………… 16. ถาเลอื กไดอยากเปนใคร…………………………………………………………… 17. ความรูสึกท่ีมีตอ การเรยี น..…………………………………………………………

16 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 5 กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชัว่ โมง เรอ่ื ง การวางแผนชวี ติ เวลา 1 ชั่วโมง วนั ท่.ี .............................................................................................................................................. สาระสำคญั การคน พบศักยภาพ ความถนัด ความสนใจ ความสามารถ และบคุ ลิกภาพ ทีแ่ ทจรงิ ของตนจะชวยใหสามารถพัฒนาตนไดเ ต็มตามศกั ยภาพ รวมทง้ั มีแนวทางในการวางแผนชีวติ และ อาชีพ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนเห็นความสำคญั ของการวางแผนชีวติ การเรยี นและอาชีพ (K) 2. นักเรยี นรูจักสำรวจตนเองเกีย่ วกบั ความถนดั ความสามารถของตน และรจู กั สำรวจ ขอ มูลทางดานการศกึ ษาและอาชพี (K) 3. นกั เรียนสามารถวางแผนชีวติ การเรยี น อาชีพ และอนาคตของตนเองไดสอดคลอ ง กบั ความถนัด ความสนใจ (P) 4. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรว มกนั (P) 5. มพี ฤติกรรมดา นการเปนผนู ำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรยี นรู การวางแผนชวี ิต กระบวนการจัดการเรียนรู 1. ใหนักเรยี นจับคกู นั พูดคุยถึงอาชพี ทีต่ นเองชอบหรอื อาชพี ในฝน คนละ 3 อาชีพ และใหน ักเรยี นทำใบงาน เรื่อง อาชพี ในฝน 2. ใหน กั เรียนแตล ะคสู ลบั ใบงานและใหอา นขอมูลของคูของตนใหเ พ่ือนคน อืน่ ๆ ฟง ครอู าจใชวธิ ีถามวา อยากจะฟงขอมูลจากคูไหน ใหน กั เรียนเปน ผเู ลือกรายงานเปน คู ๆ ไป 3. เม่อื จบกิจกรรมในขอ 2 ครูใหนกั เรียนแตล ะคูสงใบงานกลับคืนมาใหเจาของแลวใหผู ทช่ี อบอาชีพเดยี วกนั เขากลมุ เดยี วกนั รวมกนั อภิปรายอาชีพทแี่ ตละคนชอบในประเด็นตอไปนี้ ♦คนทจ่ี ะประกอบอาชีพนน้ั ๆ ตอ งมีคุณสมบัติอยางไร ♦ปญหา อปุ สรรคท่ีอาจเกิดข้นึ กบั การท่ีจะเขาไปสูอาชีพนี้ ♦ตนเองมคี ุณสมบัตอิ ะไรบา งที่สอดคลองกบั อาชีพท่ชี อบ ♦มีความเปน ไปไดม ากนอ ยเพยี งใดท่จี ะประกอบอาชีพนีใ้ นอนาคต 4. ใหแตละกลุม ออกแบบโปสเตอร เขียนขอมลู แตละอาชพี ท่ีไดจากการอภปิ รายตดิ ไว ที่ผนงั หองเรยี นหรือทอี่ นื่ ๆ ตามความเหมาะสม 5. ครูและนักเรยี นรว มกันสรุปคุณสมบัติท่ีเหมาะสมของผูท ่ปี ระกอบอาชีพ น้นั ๆ พรอมท้ังวธิ ีการหาขอมูล เพอ่ื เตรยี มตัวสอู าชีพดังกลา ว

17 ใบงาน อาชพี ในฝน ชองวาง ใหน กั เรียนเขียนอาชพี ทต่ี นเองชอบหรอื อาชพี ในฝนมา 3 อาชีพ และเติมขอ มูลใน อาชีพที่ ขาพเจา ชอบ เหตผุ ลที่ ลักษณะอาชพี แหลง คณุ สมบัติที่ การเตรยี มตัว ความพรอ ม 1. ชอบ (ทำอะไร) อาชีพ ดที ีจ่ ำเปน เขา สอู าชพี ของตนเอง ของอาชีพ 2. 3.

18 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 6 กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 กจิ กรรม แนะแนว เวลา 16 ชว่ั โมง เรอื่ ง การอานและเขียน เวลา 1 ช่วั โมง วนั ท่ี............................................................................................................................................... สาระสำคญั การอา นและจับใจความไดด ี จะชว ยใหก ารจดบนั ทึกไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ จดุ ประสงคการเรียนรู 1. นกั เรียนอานขอ ความทก่ี ำหนดแลวบนั ทึกตามเวลาท่ีกำหนดได(P) 2. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรว มกัน (P) 3. มีพฤตกิ รรมดานการเปน ผนู ำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรยี นรู การอา นและเขียนอยา งมปี ระสิทธภิ าพ กระบวนการจดั การเรยี นรู 1. ครนู ำเสนอสนทนาประโยชนของการอานเร็ว และเขยี นเรว็ และบอกวิธีปฏบิ ัติ กจิ กรรมคือ เมอ่ื ครชู ูบตั รแถบประโยค นักเรยี นใชเวลาอานและจดจำขอความภายใน 1 นาที แลวลงมือเขยี นขอความน้นั ภายในเวลา 2 นาที เมอื่ ทำกิจกรรมเสร็จแลวครูชูบตั รแถบประโยค เฉลยใหน กั เรียนดูอีกคร้งั ประเมินผลงาน 2. ครูและนักเรียนรวมกนั อภปิ รายถงึ เหตุทนี่ ักเรยี นบางคนอา นเร็ว เขยี นเรว็ ถูกตอ ง และนกั เรียนบางคน อา นชา จำขอ ความ บนั ทึกไดไ มสมบรู ณ 3. ครูซกั ถามนกั เรียนเพื่อนำไปสูก ารวเิ คราะหต นเอง วาเปน คนอานเรว็ เขียนเรว็ หรือไม การอานเรว็ เขียนเร็วมปี ระโยชนอยา งไร นักเรยี นจะฝก ฝนตนเองใหเปน คนอานเร็ว จะมี วธิ ีการอยา งไร 4. ครูและนักเรียนชว ยกนั สรปุ วา การที่นกั เรียนเขียนสรปุ จากการอา นเรว็ เขยี นเรว็ นนั้ มพี น้ื ฐานมาจากการฝก การอาน การเขยี น บนั ทึกอยูเ ปน ประจำ ส่ือ/แหลงการเรยี นรู 1. บัตรแถบประโยค 2. หองสมดุ การวัดและประเมนิ ผล ผูประเมิน ครปู ระเมนิ นกั เรียนประเมิน ส่งิ ทต่ี องการวดั และวธิ วี ดั ประเมินพฤติกรรมความมีวินัย ความเปน ผนู ำและผตู ามที่ดี และความรับผดิ ชอบ โดยครูและเพือ่ นนกั เรียนเปนผปู ระเมิน สงั เกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูและเพ่ือนนักเรียนเปนผู ประเมนิ

19 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ โดยครแู ละเพ่อื นนกั เรยี นเปนผูป ระเมนิ เครื่องมอื วัด แบบประเมนิ พฤตกิ รรม สงั เกตเวลาการเขารว มกจิ กรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤติกรรม เกณฑผ านรอยละ 80 สงั เกตเวลาการเขา รวมกิจกรรมและการปฏบิ ัติกิจกรรม เกณฑผานรอ ยละ 80 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผ านรอ ยละ 80

20 บนั ทึกการเรียนรู “การอานและเขียน” ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

21 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 7 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 5 กจิ กรรม แนะแนว เวลา 16 ชว่ั โมง เรอื่ ง สรา งนิสัยรักการอาน เวลา 1 ชว่ั โมง วันที่………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระสำคญั อา นหนงั สือ ทำใหไ ดรับความรู และเปนคนทนั ตอเหตกุ ารณทนั สมัยท้งั ยังชว ยใหเ รียน วิชาตาง ๆ ไดด ี จุดประสงคการเรียนรู 1.นักเรยี นอธบิ ายเหตผุ ลเรอ่ื งที่ตนชอบอานได (K) 2. นกั เรียนบอกประโยชนข องการอา นหนังสอื ได (K) 3. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรว มกนั (P) 4. มพี ฤติกรรมดา นการเปน ผูนำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรียนรู การสรา งนสิ ยั รกั การอาน กระบวนการจดั การเรียนรู 1. ครูนำสนทนาเก่ียวกับหนงั สอื แลวใหน ักเรียนออกมาบอกเหตผุ ลทีเ่ ลอื กยมื หนังสือ เลม นนั้ ไปอานลว งหนา เลาเรอ่ื งยอบอกสิ่งที่ประทบั ใจ และประโยชน ทไ่ี ดรบั จากการอาน 2. ครซู กั ถามนกั เรยี นเพือ่ นำไปสกู ารวิเคราะหตนเอง ดังนี้ – นกั เรียนชอบอา นหนังสืออะไร ทำไม – หนังสือมปี ระโยชนต อนักเรียนอยางไร – ใครมอี ทิ ธพิ ลตอนิสัยรักการอา นของนกั เรียนเขาทำอยางไรบาง 3. ครแู ละนักเรียนชวยกันสรปุ วา การอา นมาก ทำใหไดร บั ความรูมากแลว สามารถนำ ความรไู ปใชใ นชวี ติ ประจำวันได และการเรยี นวชิ าตา ง ๆ 4. ใหน ักเรยี นบันทกึ การอานนทิ าน 1 เร่ือง สื่อ/แหลงการเรยี นรู 1. หนังสอื นทิ าน 2. หนงั สอื การตูน 3. หองสมุด การวัดและประเมินผล ผปู ระเมนิ ครูประเมิน นกั เรยี นประเมนิ ส่งิ ทีต่ อ งการวดั และวิธีวัด ประเมินพฤติกรรมความมีวนิ ยั ความเปนผนู ำและผตู ามที่ดี และความรบั ผิดชอบ โดยครูและเพ่อื นนกั เรียนเปนผูป ระเมนิ

22 ประเมนิ สังเกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยครูและเพอ่ื นนักเรียนเปนผู ประเมินกระบวนการทำงานกลุม โดยครูและเพ่อื นนักเรียนเปน ผูประเมนิ เครอื่ งมอื วดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สงั เกตเวลาการเขา รว มกิจกรรมและการปฏิบตั กิ ิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤตกิ รรม เกณฑผ านรอยละ 80 สงั เกตเวลาการเขารว มกจิ กรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม เกณฑผ านรอยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผานรอ ยละ 80

23 แบบบันทกึ การอา นนทิ าน ช่อื ……………………………………………………………………………………………ช้ัน……………………………………….. วนั ที…่ ……………………………………………กลมุ ………………………………………………………….…………………….. คำช้แี จง ใหน กั เรยี นอานนทิ าน คนละ 1 เรอื่ ง แลวสรุปเร่อื งยอ ลงในแบบบันทกึ นิทานเร่อื ง………………..…………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ประโยชนท่ไี ดรบั จากการอา นนิทาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

24 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 8 กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชว่ั โมง เรื่อง อาชพี ท่ีสุจริต เวลา 1 ชั่วโมง วนั ท่ี………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระสำคญั อาชพี ที่สุจรติ เปนประโยชนตอตนเองและสังคม จดุ ประสงคการเรียนรู 1. นกั เรียนบอกประโยชนตอ ตนเองและสงั คม (K) 2. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรว มกัน (P) 3. มีพฤตกิ รรมดานการเปนผูนำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรยี นรู ประโยชนของอาชพี แตละอาชพี กระบวนการจัดการเรยี นรู 1. ครสู นทนากบั นักเรยี นถงึ เรือ่ งอาชีพตา ง ๆ ที่มีอยใู นชมุ ชนของเราวา มีอาชีพ อะไรบาง 2. นักเรียนรว มกันอภปิ รายวาถาคนในชุมชนไมม อี าชีพตา ง ๆ จะเกิดผลอยางไร 3. นักเรียนเลอื กอาชีพทีต่ นเองชอบคนละ 1 อาชพี รายงานหนาช้นั เรยี นวา อาชพี ท่ี ตนเลอื กมีประโยชนอ ยางไรตอ ตนเองและเปนประโยชนตอคนอื่น สังคมหรอื ไม แลว บนั ทึกลงในใบ งาน 4. ครูนำภาพคนกวาดขยะ ชางไม ทหาร พยาบาล ตำรวจ ครู นักรอ ง เปน ตน ใหนกั เรียนรวมกนั อภปิ รายตามประเด็นตอไปน้ี – อาชพี ตา ง ๆ มปี ระโยชนต อ ผปู ระกอบอาชพี และตอ ผอู น่ื อยา งไร – ผูประกอบอาชีพเหลา น้มี ีปญหาอะไร เพราะอะไร – ผปู ระกอบอาชีพเหลา นี้มคี วามกาวหนา เพราะอะไร 5. ครแู ละนกั เรยี นรวมกนั สรปุ ใหไ ดสาระสำคัญวา ผูประกอบอาชีพท่ปี ระสบ ความสำเร็จและความกาวหนา จะตองเลือกประกอบอาชีพท่ีสุจรติ มีความขยนั อดทน รับผิดชอบ และเปนประโยชนตอชมุ ชน สื่อ/แหลงการเรยี นรู 1. หนังสือเกีย่ วกับอาชีพ 2. หองสมดุ 3. บตั รภาพ 4. ใบงาน การวดั และประเมนิ ผล ผปู ระเมนิ ครปู ระเมนิ นกั เรียนประเมิน

25 สิ่งทตี่ อ งการวัดและวิธีวดั ประเมินพฤติกรรมความมวี นิ ยั ความเปนผนู ำและผูตามท่ีดี และความรบั ผดิ ชอบ โดยครูและเพื่อนนกั เรยี นเปนผูป ระเมิน สงั เกตการเขารว มกจิ กรรมและการปฏิบัติกิจกรรม โดยครแู ละเพอ่ื นนกั เรียนเปนผู ประเมิน ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพือ่ นนกั เรยี นเปนผปู ระเมิน เครอ่ื งมอื วดั แบบประเมินพฤติกรรม สังเกตเวลาการเขา รวมกจิ กรรมและการปฏิบตั กิ ิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤตกิ รรม เกณฑผ า นรอ ยละ 80 สังเกตเวลาการเขารว มกิจกรรมและการปฏิบตั กิ ิจกรรม เกณฑผานรอ ยละ 80 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม เกณฑผานรอ ยละ 80 1. ใหนกั เรียนเลา บทบาทสมมติอาชพี ตาง ๆ ท่ีมีในชมุ ชน 2. สมั ภาษณบุคคลในอาชีพตาง ๆ ในดานการทำประโยชนเ พอื่ สังคมจากอาชพี ที่แต ละคนทำอยู

26 ใบงาน ประโยชนข องอาชีพแตละชนดิ คำช้ีแจง ใหน กั เรียนอภิปรายวาแตละอาชีพ มีประโยชนอยางไรบา ง ลงในแบบบันทกึ อาชีพ ประโยชน 1…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 3…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 4…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 5…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 6…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… 7…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………

27 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 9 กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5 กจิ กรรม แนะแนว เวลา 16 ชัว่ โมง เรอ่ื ง อาชพี ในชมุ ชน เวลา 1 ช่ัวโมง วันท่ี………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระสำคัญ ในความกาวหนาของเทคโนโลยีสมัยใหม มีอาชพี ตาง ๆ เกิดขึน้ มามากมายเพือ่ สนอง ความตองการของสงั คมความรเู กี่ยวกบั อาชีพและชวยใหนักเรียนสามารถพัฒนาตนเองไปสูการเลือก ประกอบอาชีพไดอยา งเหมาะสม จุดประสงคการเรยี นรู 1. นักเรียนบอกชอ่ื อาชพี ที่ตนเองรูจ ักไดอ ยางนอ ย 10 อาชีพ (K) 2.นกั เรยี นบอกชอ่ื อาชพี ใหม ๆ ในชุมชนได(P) 3. มที กั ษะกระบวนการในการทำงานรวมกนั (P) 4. มพี ฤตกิ รรมดานการเปนผูน ำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรียนรู อาชีพในชุมชน กระบวนการจัดการเรยี นรู 1. แบง นักเรียนออกเปน 2 กลุม เลมเกมใบค ำเกีย่ วกบั อาชีพกลมุ ใดสามารถใบคำ อาชีพทม่ี ผี ูทายถูกมากทส่ี ุด เปนผชู นะ ครเู ฉลยคำอาชพี ท่ีนักเรยี นทายไมถ ูก อธบิ ายเพ่มิ เติม 2. ครอู า นคำถามใหนกั เรยี นเขียนคำตอบลงในกระดาษดังน้ี ถาในหมบู า นของนกั เรียนเปนแหลงทอ งเทย่ี วทสี่ วยงามมีภูเขา ถ้ำ คนมา ทองเทย่ี วเปน จำนวนมากนักเรยี นคดิ วา จะทำอาชีพอะไรไดบ าง ถาในหมบู า นของนกั เรยี นมีสนาม กฬี า สระวา ยนำ้ สนามกอลฟ นักเรียนคดิ วาจะทำอาชพี อะไรไดบาง 4. อานคำตอบของนกั เรยี นวา นกั เรียนจะคดิ อาชีพอะไรจากคำถามที่ 1 และ 2 และ ใหชวยกันคดิ อาชพี ใหม ๆ ในชมุ ชนของนักเรยี นเพิม่ เติม เขียนรายชอ่ื อาชีพท่ีไดทั้งหมดบนกระดาน 5. ครใู หนกั เรียนสรปุ วา ปจจุบันมีอาชีพใหม ๆ เกิดขนึ้ มากมายและเปนอาชพี ที่ ตองการของสังคม การรจู ักอาชพี วามีอะไรบา งจะเปน ประโยชนในการเตรียมตวั เขาสอู าชีพ เลือก อาชีพในอนาคตอยา งถกู ตองเหมาะสม สอ่ื /แหลง การเรียนรู 1. คำถาม 2. หนงั สอื 3. หอ งสมุด การวดั และประเมนิ ผล ผูประเมิน ครปู ระเมนิ นกั เรยี นประเมนิ

28 สิ่งทต่ี อ งการวัดและวธิ วี ดั ประเมนิ พฤติกรรมความมีวนิ ัย ความเปน ผูนำและผตู ามที่ดี และความรบั ผดิ ชอบ โดยครแู ละเพ่อื นนกั เรยี นเปน ผูประเมนิ สงั เกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูและเพื่อนนกั เรยี นเปน ผู ประเมิน ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพ่ือนนักเรียนเปน ผปู ระเมนิ เครอื่ งมอื วดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สงั เกตเวลาการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤตกิ รรม เกณฑผ า นรอ ยละ 80 สังเกตเวลาการเขา รวมกิจกรรมและการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เกณฑผานรอ ยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑผา นรอยละ 80 เกมใบอ าชพี อุปกรณ คำท่ีเปน อาชพี ตา ง ๆ เชน แพทย นางพยาบาล ครู ชา งเสริมสวย สตั วแพทย ทหาร ตำรวจ นกั รอ ง ชางภาพ คนขับรถเมล ชางตัดเสือ้ ชางตัดรองเทา คนขายของ ฯลฯ กติกา คนใบค ำหา มพดู คำทเี่ ปนคำทาย วิธีเลน ใหผ เู ลนคนหน่ึงเปน คนใบค ำ ผูเลน อีกคนเปนคนทายคำ ตัวอยาง คนท่ีทำหนาทร่ี กั ษาคนไขอ ยใู นโรงพยาบาล เรียกวา อะไร ตอบ หมอ นายแพทย แพทย เปนตน คำตอบถกู คอื แพทย เลอื กคแู ขงขันมาประมาณ 2 – 4 คู ใชเวลาใบคำคูละ 1 นาที ผูใดทายไดคำมากทส่ี ุด เปน ผชู นะ

29 บันทกึ กกิ จกรรมการเรยี นรู “อาชพี ในชมุ ชน” ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

30 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 10 กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 5 กจิ กรรม แนะแนว เวลา 16 ชัว่ โมง เรอื่ ง ความถนดั เปนพน้ื ฐาน เวลา 1 ช่วั โมง วันที่ ...................................................................................................................................................... สาระสำคัญ การรูจกั ความถนัดของตนเอง จะเปนขอมูลในการเลอื กอาชีพใหตรงกับความถนดั ของ ตนได จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. นกั เรยี นสามารถวิเคราะหความถนดั ของตนเองได (K) 2. มีทกั ษะกระบวนการในการทำงานรวมกัน (P) 3. มีพฤติกรรมดานการเปนผูนำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรยี นรู การวเิ คราะหความถนดั ของตน กระบวนการจดั การเรยี นรู 1. ใหนกั เรียนเขยี นเรียงความเรอ่ื งงานอดิเรกของฉัน 2. แบง กลมุ ตามลกั ษณะทน่ี กั เรยี นทำแลวเลาใหเ พื่อนในกลุมฟง 3. ใหก ลุมเลือกผูทม่ี งี านอดิเรกทน่ี า สนใจทีส่ ุดมาเลาใหเพอื่ น ๆ ฟง 4. ครูและนักเรียนชวยกนั สรปุ เกย่ี วกบั ประโยชนของการทำงานอดเิ รก 5. ครแู ละนักเรียนรวมกนั จดั ประเภทของงานอดเิ รก และซกั ถามความคิดเห็นของ นกั เรียนเกีย่ วกับงานอดเิ รกท่ที ำดังนี้ – งานอดิเรกจะนำไปสูอาชีพอะไรไดบาง – นกั เรยี นจะพัฒนางานอดเิ รกไปสูอาชพี จะทำอยา งไร 6. ครแู ละนักเรียนรว มกนั สรปุ วา งานอดิเรกจะเปนงานทน่ี กั เรียนสนใจและมีความ ถนดั เปน พ้นื ฐานหากนกั เรยี นไดปรบั ปรุงงานใหพ ฒั นาอยูเสมอจะเปน แนวทางไปสูอ าชีพได สอ่ื /แหลง การเรยี นรู 1. หนังสอื เกยี่ วกับอาชพี 2. หอ งสมดุ การวัดและประเมนิ ผล ผูป ระเมิน ครปู ระเมนิ นักเรียนประเมิน ส่ิงท่ตี อ งการวัดและวิธวี ัด ประเมนิ พฤตกิ รรมความมวี นิ ยั ความเปนผูนำและผตู ามท่ีดี และความรบั ผิดชอบ โดยครูและเพ่อื นนักเรยี นเปน ผูประเมิน

31 ประเมนิ สังเกตการเขารวมกิจกรรมและการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยครูและเพือ่ นนักเรยี นเปน ผู ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ โดยครูและเพอ่ื นนักเรียนเปน ผูประเมนิ เครอ่ื งมือวัด แบบประเมินพฤตกิ รรม สงั เกตเวลาการเขา รว มกิจกรรมและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม เกณฑก ารวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤตกิ รรม เกณฑผ า นรอยละ 80 สงั เกตเวลาการเขา รว มกจิ กรรมและการปฏิบตั กิ ิจกรรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผ านรอยละ 80

32 บันทึกการเรยี นรู “ความถนดั เปนพ้นื ฐาน” ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

33 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 11 กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชั่วโมง เรือ่ ง แหลง อาชพี เวลา 1 ช่ัวโมง วันท.ี่ .............................................................................................................................................. สาระสำคญั แหลงขอ มูลทนี่ ักเรยี นจะใช จะตองเปน แหลง ขอมูลท่เี ชือ่ ถอื ได ซ่งึ สามารถหาไดจ าก หนังสอื พมิ พ ฟง วทิ ยดุ ูโทรทัศน และอื่น ๆ จดุ ประสงคการเรียนรู 1. นกั เรยี นบอกวธิ หี าแหลงขอมูลอาชพี (K) 2. มที กั ษะกระบวนการในการทำงานรวมกนั (P) 3. มพี ฤติกรรมดานการเปนผนู ำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรียนรู แหลงอาชพี กระบวนการจัดการเรยี นรู 1. แบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม ใหแ ตละกลมุ ตดั ขอความโฆษณาการรับสมคั รงาน จากหนังสอื พิมพ ทากาวติดลงในกระดาษที่แจกให 2. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาอา นขอ ความโฆษณาการรบั สมัครงาน 3. ครูใหน กั เรียนชว ยกันตอบวา นอกจากหนงั สือพมิ พแ ลวเราจะหาขาวการรับสมัคร งานไดจากทไี่ หนบา ง 4. ถามคี นมาชวนใหนักเรียนไปทำงานหารายไดในวนั หยดุ โดยบอกวา มีรายไดด มี าก นกั เรยี นจะไปทำงานหรือไม เพราะเหตใุ ด 5. ครูนกั เรยี น ชว ยกันสรปุ วา ขอมูลขาวสารตา ง ๆ เกี่ยวกบั การทำงาน การ ประกอบอาชีพ จำเปนตอ งไดม าจากแหลง ที่เชื่อถือได เชน แรงงานจงั หวดั สอบถามจากครใู น โรงเรียนอา นประกาศแจงตำแหนง วางในหนงั สือพมิ พ ฟงวทิ ยุ ดโู ทรทัศน ฯลฯ สื่อ/ส่อื /แหลงการเรียนรู 1. หนงั สือพิมพ 2. สารสนเทศเกีย่ วกบั อาชพี การวัดและประเมินผล ผปู ระเมิน ครูประเมนิ นักเรยี นประเมิน สิง่ ท่ีตองการวดั และวิธวี ัด ประเมนิ พฤติกรรมความมีวินยั ความเปน ผนู ำและผูต ามท่ีดี และความรับผิดชอบ โดยครูและเพอื่ นนกั เรียนเปนผูประเมนิ สงั เกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยครูและเพือ่ นนักเรยี นเปนผู ประเมิน

34 ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ โดยครแู ละเพ่ือนนักเรียนเปน ผปู ระเมิน เครือ่ งมอื วดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สังเกตเวลาการเขา รว มกิจกรรมและการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ เกณฑการวัดและประเมิน ประเมินพฤติกรรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 สงั เกตเวลาการเขารว มกิจกรรมและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เกณฑผ านรอยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผ า นรอยละ 80

35 บันทึกการเรียนรู “แหลงอาชีพ” ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

36 แผนการจดั การเรียนรูที่ 12 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 กจิ กรรม แนะแนว เวลา 16 ชว่ั โมง เร่อื ง อาชีพท่ที ำใหเ กิดมลพษิ เวลา 1 ชั่วโมง วนั ท.่ี .............................................................................................................................................. สาระสำคัญ มลพิษเปนอันตรายตอ สขุ ภาพของมนุษย จุดประสงคการเรยี นรู 1. นกั เรียนบอกสาเหตุการเกดิ มลพิษในชีวิตประจำวนั ได (K) 2. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรว มกนั (P) 3. มีพฤติกรรมดา นการเปนผนู ำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรียนรู อันตรายจากการประกอบอาชพี กระบวนการจัดการเรยี นรู 1. ครใู หน ักเรียนทุกคนมองไปรอบ ๆ โรงเรียนของเราแลวเขยี นสงิ่ ท่ีนักเรียนไมพ อใจ มาคนละ 1 ขอความ 2. ครูใหนักเรยี นแบง กลุม ๆ ละ 4 – 8 คน 3. ใหน กั เรยี นแตละกลุมนำขอความของแตล ะคนมาอภิปรายวาขอความใดมีผลเสยี ตอ สุขภาพของนักเรียนหรอื คนทว่ั ไปอยางไร 4. นกั เรียนรว มกนั สรปุ วา สง่ิ มีอยูรอบตัวเราและเปนอนั ตรายตอสุขภาพ เชน กลิ่น เหม็น นำ้ เนา ฝนุ ละออง สารพิษตา ง ๆ เชื้อโรคในอาหาร 5. ครใู หนกั เรยี นแตล ะกลมุ ศกึ ษากรณตี ัวอยางเร่ือง “ควันอนั ตราย” 6. นักเรียนแตละกลุมรวมกนั วเิ คราะหก รณีตวั อยางดังน้ี – ถานกั เรยี นเปนโนรี นักเรียนจะทำอยา งไร เพราะอะไร – เพอื่ มิใหเ กิดเหตุการณเชนนี้ นกั เรียนคิดวา โรงงานควรทำอยางไร – นกั เรยี นคิดวา ในชุมชนของนกั เรยี นมมี ลพษิ อะไรบา งเกิดจากสาเหตอุ ะไร และ ปองกันไดอ ยางไร แลว บันทึกลงในใบงาน 7. นกั เรียนรวมกนั สรปุ อาชพี ที่ทำใหเ กดิ มลพษิ ในชุมชน เชน โรงงาน อตุ สาหกรรม รถยนต ปยุ เคมี ยาฆา แมลง ฯลฯ ส่อื /แหลงการเรยี นรู 1. กรณตี วั อยา งเร่อื ง “ควนั อนั ตราย” 2. หนังสอื เก่ยี วกบั มลพิษสงิ่ แวดลอ ม 3. หอ งสมุด การวัดและประเมนิ ผล ผูประเมนิ ครูประเมนิ นักเรยี นประเมิน

37 สิ่งทต่ี อ งการวัดและวิธีวดั ประเมินพฤตกิ รรมความมีวนิ ัย ความเปน ผนู ำและผตู ามที่ดี และความรบั ผิดชอบ โดยครแู ละเพื่อนนกั เรียนเปน ผูประเมนิ สงั เกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยครแู ละเพื่อนนักเรยี นเปนผู ประเมนิ ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพือ่ นนกั เรียนเปนผปู ระเมนิ เครอ่ื งมอื วดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สงั เกตเวลาการเขา รวมกจิ กรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมิน ประเมินพฤตกิ รรม เกณฑผา นรอยละ 80 สังเกตเวลาการเขารวมกิจกรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม เกณฑผานรอยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผา นรอ ยละ 80

38 เรอ่ื งควันอนั ตราย โรงเรียนแหงหนึ่ง อยใู กลกับโรงงานทำแบตเตอรร ่ี โนรี วงิ่ เลนอยูก ับเพ่อื น ๆ กลาง สนามแลเหน็ ควันสีขาวลอยข้ึนมาจากกองเศษเหลก็ ขางโรงเรียน จงึ ชวนเพอ่ื น ๆ วง่ิ ไปดูดว ย ความอยากรอู ยากเห็น เมอื่ เขา ไปใกล ๆพบวา ควันสขี าวนนั้ มกี ลิ่นเหม็นมาก จึงพากันมาบอกกบั คณุ ครู หลังจากนนั้ โนรี และเพอ่ื น ๆ มอี าการคลน่ื ไส อาเจียน และหมดสติ เมอื่ นำสง โรงพยาบาล แพทยลงความเหน็ วาไดร บั อนั ตรายจากควนั พิษ ซงึ่ อาจเปน ผลทำใหเสียชีวติ ได ตอ มาอาการของโนรี และเพอื่ น ๆ ก็ทรุดลงตามลำดับไมส ามารถรักษาใหห ายได พอ แมข องโนรี เสียใจมาก เพราะโนรีเปนลกู คนเดียว ตน เหตุทท่ี ำใหโ นรีเปนอยา งน้ี คือโรงงานท่ีอยูใกลๆ โรงเรยี น และที่โรงงานกไ็ มไ ดส นใจในส่ิงทีเ่ กดิ ขนึ้ กับเด็ก ๆ เลย

39 ใบงาน เร่ือง อนั ตรายรอบตัว ชื่อ………………………………………….. ช้ัน………………………………………... วันท่ี……………………………………..กลุม ท่…ี ……………………………………… คำช้ีแจง ใหน กั เรียนอภปิ รายเกีย่ วกับปญ หามลพิษส่งิ แวดลอ ม มลพษิ ส่งิ แวดลอมในดา น…………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………….……………………………………………………………………

40 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 13 กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชว่ั โมง เรือ่ ง การเปนผูนำและผูต ามท่ีดี เวลา 1 ชั่วโมง วันท.่ี .............................................................................................................................................. สาระสำคญั การเปนผนู ำและผูตามท่ีดีจะทำใหเราอยูในสงั คมไดอยา งมีความสขุ จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. เพือ่ ใหนักเรยี นมองเห็นถึงความสำคญั ของการเปนผนู ำ (K) 2. เพอ่ื ใหนกั เรียนรจู กั ผลัดกันเปนผูนำและผตู ามทด่ี ี (P) 3. มที กั ษะกระบวนการในการทำงานรว มกัน (P) 4. มีพฤติกรรมดา นการเปนผูน ำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรียนรู การเปนผูน ำและผูตามทดี่ ี กระบวนการจัดการเรยี นรู 1. ครแู บงนกั เรียนออกเปน 3 กลมุ โดยวิธีเปด เทปและใหน กั เรียนรำ และครูจะปด เทป แลวจงึ สั่งใหจบั กลุม 3 คน, 4 คน หรอื หญิง 2 คน ชาย 1 คน จนกวา จะ ไดจำนวนตามตอ งการ 2. ใหผ ูเลน เอาของที่ตนเองมีอยูจะเปนอะไรกไ็ ดเชน หวี ปากกา ดินสอ ผา เช็ดหนา ใหแตละคนนำของทีต่ นเองมอี ยู 1 ชนิ้ ไปซอ นไวใ นท่บี รเิ วณที่ผูนำกลมุ กำหนดไวให แตอ ยา เอไป ซอ นไวใ นท่ีรกหรอื ทเี่ ดินลำบาก และพยายามจำไวดวยวา เอาไปวางไวท ่ีตรงไหน 3. ครบู อกใหน ักเรียนเขาอยตู ามกลมุ ยอยของตนและอธบิ ายกติกาดงั นี้ – ทกุ คนในกลุมยอ ยตองจับมอื กันไวไ มใหหลุด – ใหแ ตละกลมุ วง่ิ ไปเอาของท่สี มาชิกในกลุม ซอ นไวใ หเ ร็วทีส่ ดุ – ระหวา งท่จี ับมอื ว่ิงไปเอาของน้ัน หา มทุกคนพูดแตอนญุ าตใหใ ชสัญญาณกันได – เม่ือกลุมไดเ อาของทแี่ ตล ะคนในกลมุ ของตนซอ นไวไ ดครบถวนแลว ใหรบี วิง่ นำ ของนน้ั มามองใหแ กค รู และทกุ คนตองจบั มือกันตลอดเวลา – กลุมใดท่ีนำของมามองใหแ กค รูชาจะถกู ลงโทษ (เดนิ เปด ) 4. ครใู หน กั เรยี นอภปิ รายในขอตอไปนี้ – นักเรยี นรูสกึ อยางไรเมือ่ ตอ งการไปหาของ ๆ ตนเองกอน แตถูกตีอน่ื ดึงไปและ รูส ึกอยางไรเม่อื พูดไมไ ด และเมอื่ กย็ งั ตองจบั กนั อยู – กจิ กรรมนใี้ หขอ คดิ และใหความรอู ะไรแกเ ราบา ง 5. ครสู รุปใหน กั เรยี นฟง อีกครงั้ หน่งึ วา ในการอยรู ว มกนั ในสังคมนน้ั จะตอ งรจู กั ประพฤตติ นเปน ผูนำและผูตามท่ดี ี 6. ครูใหน กั เรยี นจดบันทกึ ขอ อภปิ รายและขอสรุปลงในสมุดบนั ทกึ 7. นกั เรยี นทำใบงาน เรอื่ ง ลักษณะของผนู ำและผตู ามท่ดี ี สงครูนอกเวลาเรยี น

41 ส่ือ/แหลง เรียนรู 1. หวี ปากกา ดนิ สอ ยางลบ ไมบรรทดั ฯลฯ 2. ใบงาน เรื่อง ลกั ษณะของผูนำและผูตามที่ดี การวัดและประเมนิ ผล ผูประเมิน ครูประเมิน นกั เรยี นประเมนิ สง่ิ ทตี่ อ งการวัดและวธิ ีวัด ประเมินพฤตกิ รรมความมีวนิ ยั ความเปน ผนู ำและผูต ามที่ดี และความรบั ผดิ ชอบ โดยครแู ละเพ่ือนนักเรยี นเปน ผปู ระเมนิ สังเกตการเขารวมกจิ กรรมและการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยครแู ละเพ่ือนนักเรยี นเปนผู ประเมนิ ประเมินกระบวนการทำงานกลุม โดยครูและเพ่อื นนกั เรียนเปนผูประเมิน เครอื่ งมือวัด แบบประเมนิ พฤตกิ รรม สังเกตเวลาการเขารว มกจิ กรรมและการปฏบิ ัติกิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑก ารวัดและประเมิน ประเมินพฤตกิ รรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 สงั เกตเวลาการเขารว มกจิ กรรมและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เกณฑผานรอ ยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผานรอยละ 80

42 ใบงาน เร่อื ง ลกั ษณะของผนู ำและผตู ามทด่ี ี คำช้แี จง ใหนักเรยี นเขยี นอภปิ รายลกั ษณะของผูนำและผูตามทด่ี ี ในความรสู ึกของ นักเรียนลงในแบบบันทึกกจิ กรรม แลว ใหนักเรียนประเมินตนเองวาเปน ผนู ำท่ีดี หรือผูต ามทด่ี ี โดยใสเครอ่ื งหมาย / หนาขอ นน้ั ลักษณะของผนู ำที่ดี ลกั ษณะของผูตามท่ีดี ลกั ษณะของนักเรียน ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……. เปนผูนำทดี่ ี ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……. เปนผูตามที่ดี ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… ………………………………………………… ……………………………………… …………………………………………………

43 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 14 กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ช่ัวโมง เรือ่ ง ความสามัคคี เวลา 1 ชว่ั โมง วันท.ี่ .............................................................................................................................................. สาระสำคญั การทำงานรวมกันใหป ระสบความสำเรจ็ นนั้ สมาชิกของกลุม ควรรว มมือกัน โดยไมม ี การเก่ียงงอน ความรวมมอื กนั ภายในกลุมจะชวยใหก ลมุ เกิดความกา วหนา มีความม่นั คงเปน ปก แผน และพฒั นาไดเปน อยา งดี จุดประสงคการเรยี นรู 1. นักเรยี นบอกวธิ กี ารปฏิบัติตนในการทำงานรว มกนั เปน กลมุ ได (K) 2. นักเรียนทำกจิ กรรมกลุมรวมกันได (P) 3. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรวมกัน (P) 4. มีพฤติกรรมดานการเปน ผูนำและผูตามท่ีดี (A) สาระการเรยี นรู ความสามัคคี กระบวนการจัดการเรยี นรู 1 .ครุเลานิทานเรื่อง “นกเขาชวา” แลวแบงนกั เรียนเปน กลมุ ทำทา บินเหมือนนกใน นทิ าน 2. ครูใหนกั เรยี นวเิ คราะหต ามประเด็นตอ ไปนี้ – เพราะเหตุไรในคร้ังแลกนกเขาชวาจึงไมถกู จับ – เพราะเหตไุ รในครัง้ ที่สอง นกเขาชวาจงึ ถกู จับได – ตองปฏิบัตอิ ยางไรจงึ จะอยูรว มกนั อยางมีความสุข 3. ครูและนกั เรียนชวยกนั สรปุ ถึงผลดีของการรว มมอื กนั ทำงานและผลเสียงของการไม รวมมอื กนั วา มีอยางไรบาง และนักเรียนจะสามารถนำไปปฏิบัตใิ นชีวติ ประจำวันไดอยา งไร 4. ใหนกั เรยี นเขียนเรยี งความเรอ่ื ง “สามคั คี คือพลงั ” ส่อื /แหลงการเรียนรู 1. นิทานเรอ่ื ง นกเขาชวา 2. หอ งสมดุ การวดั และประเมินผล ผูประเมนิ ครูประเมนิ นกั เรียนประเมนิ ส่งิ ท่ีตอ งการวดั และวิธีวัด ประเมนิ พฤตกิ รรมความมีวินยั ความเปน ผนู ำและผตู ามที่ดี และความรับผิดชอบ โดยครแู ละเพ่ือนนกั เรยี นเปน ผูป ระเมิน

44 ประเมนิ สังเกตการเขารวมกิจกรรมและการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยครูและเพือ่ นนักเรยี นเปน ผู ประเมนิ กระบวนการทำงานกลมุ โดยครูและเพือ่ นนักเรียนเปน ผูประเมนิ เครื่องมือวดั แบบประเมนิ พฤตกิ รรม สังเกตเวลาการเขา รว มกิจกรรมและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมินพฤตกิ รรม เกณฑผ า นรอยละ 80 สังเกตเวลาการเขา รว มกจิ กรรมและการปฏิบตั ิกิจกรรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ เกณฑผ า นรอ ยละ 80

45 นิทาน เร่อื ง “ นกเขาชวา” นานมาแลว มีฝูงนกเขาชวาอยฝู ูงหนึง่ เทยี่ วบินหากนิ เมลด็ ขาวในนาของชาวนา ชาวนารูส ึก โกรธนกฝูงนี้มาก เพราะมาทำลายพืชผลใหเสยี หาย ชาวนาจงึ เอาตาขา ยมาดักไว เมอื่ นกทั้งฝงู บนิ ลง มาจิกเมล็ดขาว จึงติดตาขายหมดทกุ ตัว ฝายหวั หนาฝูงนกเหน็ ดังนน้ั จงึ ใหสัญญาณนกทุกตัวบินขน้ึ พรอม ๆ กัน นกท้งั ฝงู จงึ หลดุ รอดออกไปได เมื่อเปน เชนนัน้ นกแตละตวั จึงคดิ ลำพองในใจวา ตนเกง สามารถชว ย ใหน กทงั้ ฝงู หลุดรอดจากการจบั กุมไปได ตอ มาฝูงนกลงไปกนิ ขา วของชาวนาและตดิ ตาขายอีกครง้ั หนงึ่ นกแตละตวั ตา งเกยี่ งกันวา ใครเกง ก็บินขนึ้ ไปเองเถิด ไมมีนกตวั ใดบินข้นึ เลย นกทัง้ ฝงู จึงถูกชาวนาจบั ได

46 เรยี งความ เรื่องสามคั คี คือพลงั คำชีแ้ จง ใหนกั เรียนเขียนเรยี นความ เก่ยี วกบั ความสามัคคี คือพลงั ลงในแบบบนั ทกึ เรือ่ ง…………………………………. ……………………………………….………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ประโยชนท่เี กดิ จากความสามคั คี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…..

47 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 15 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 กิจกรรม แนะแนว เวลา 16 ชวั่ โมง เรือ่ ง การยอมรบั และแสดงความคิดเห็นในหมูคณะ เวลา 1 ชัว่ โมง วันที่............................................................................................................................................... สาระสำคญั การยอมรับและการแสดงความคิดเห็นเปน สง่ิ ทเ่ี ราควรปฏิบัตเิ มื่ออยูในสงั คม จดุ ประสงคการเรียนรู 1.เพอื่ ฝก ใหนักเรียนเคารพในความคิดและเหตุผลของของผอู ื่น (A) 2.เพื่อใหน กั เรยี นอยรู ว มกนั อยางมคี วามหมายและเห็นความสำคญั ของการอยูรว มกนั (A) 3. มที ักษะกระบวนการในการทำงานรวมกนั (P) 4. มีพฤติกรรมดา นการเปน ผูนำและผูตามที่ดี (A) สาระการเรยี นรู การยอมรบั และแสดงความคิดเห็นในหมูค ณะ กระบวนการจัดการเรยี นรู 1.แบงนักเรยี นออกเปน 2 กลุม โดยวิธีการนบั 1,2 ใหน กั เรยี นแตล ะกลุมสง ตัวแทน เปนผูส ังเกตการณกลุมละ 1 คน 2.ใหน ักเรียนแตล ะคนนำสง่ิ ของของตนที่มีอยซู ง่ึ แตล ะคนรักหรอื มคี วามหมายสำหรับ เขา คนละ 1 อยาง อาจเปน ปากกา แวนตา ดนิ สอ หรือส่งิ ของอยา งอน่ื 3.ใหผสู งั เกตการณของแตล ะกลุม ไปยืมสังเกตปฏิกริ ยิ าของคนในแตละกลมุ โดยไมบ อก ใหคนในกลุมรวู า จะตอ งถูกรายงานภายหลงั 4.ใหน ักเรียนแตล ะกลุมนงั่ เปน วงกลมวางสงิ่ ของของแตละคนลงกลางวง ใหแ ตละคน ชว ยกนั จดั โดยจัดเรียงในขณะทสี่ ง่ิ ของหา มทกุ คนพูดกนั 5.เมอ่ื จดั เสร็จแลว ถา คนไหนในกลุม ไมพ อใจอยางทจ่ี ัดไวก อน กใ็ หจ ดั ใหม แตถาเกิด มคี นไมพ อใจอีกกใ็ หเ ขาจัดใหม จดั จนกวาทกุ คนจะพอใจ (โดยใหพ ยักหนา) 6.เมื่อทุกคนจดั เสร็จเรียบรอยแลวใหปรบมือและใหแ ตละคนหยบิ ของของตนเองออกไป 7.คราวน้ใี หท ุกคนจัดวางใหมใหร ปู แบบเปล่ยี นไปโดยพูดกนั ได 8.เมอื่ ทัง้ สองกลมุ ทำเสร็จเรยี บรอ ยแลว ใหผสู ังเกตการณร ายงานถงึ ปฏกิ ิรยิ าของการ ทำงานในกลุม 9.ถามความรสู ึกของแตละคนในหวั ขอ ตอไปน้ี –ทำไมจงึ เลอื กเอส่ิงของชนิดนนั้ ข้ึนมา มคี วามหมายสำหรบั ตนเองอยางไร –ทำงานโดยไมพูดกนั และไดพูดรูส กึ แตกตางกันอยางไรบา ง –รูส กึ อยางไรเม่อื ผูอนื่ นำสงิ่ ของของตนไปวางไวใ นท่ีที่ตนคดิ วา ไมเหมาะสม –รสู ึกอยางไรเมือ่ คนอ่นื เปลย่ี นแปลงสิ่งทีเ่ ราจดั ไวแลว –ในตอนสดุ ทายท่ีจดั เสรจ็ รูสึกพอใจมากนอ ยเพยี งใด

48 10.ครูสรุปในการทำงานรวมกัน เราจำเปนตองรับฟงความคิดเห็นของผอู ืน่ เน่ืองจาก คนอนื่ อาจมคี วามคดิ ทแ่ี ตกตางไปจากของเรา เพราะเขาอาจมปี ระสบการณไมเ หมือนเรา การรับฟง ความคดิ ทแ่ี ตกตางกนั ออกไปนี้ จะชว ยใหเ ราตัดสินใจไดดหี รอื ถูกตองยง่ิ ขนึ้ ดงั นนั้ ในการทำงาน รว มกนั เราควรใหความเคารพในความคิดเหน็ ของคนอืน่ ไมด ถู ูกเขา รบั ฟง และพจิ ารณาความ คิดเห็นของเขา และรจู กั ใชความคดิ เหน็ ของเขาใหเ ปนประโยชนแ กกลุม 11.ครูใหนักเรียนรวมกนั อานกลอน และจดบนั ทึกลงในสมดุ งาน “จะทำการสง่ิ ใดควรใจกวา ง ถาเพอื่ นคดิ แตกตางไปจากฉนั สวนผดิ ถกู ของเราอาจเทากันเอาใจ ใสฟ งกนั ไวน นั่ แหละดี” สือ่ /แหลงการเรยี นรู –หองสมดุ การวดั และประเมินผล ผูประเมิน ครูประเมนิ นกั เรียนประเมนิ ส่ิงท่ีตองการวดั และวธิ วี ัด ประเมนิ พฤตกิ รรมความมีวนิ ยั ความเปนผนู ำและผตู ามท่ีดี และความรบั ผิดชอบ โดยครูและเพอ่ื นนกั เรยี นเปน ผูป ระเมนิ สงั เกตการเขารว มกิจกรรมและการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยครูและเพือ่ นนักเรยี นเปน ผู ประเมนิ ประเมินกระบวนการทำงานกลุม โดยครแู ละเพอื่ นนกั เรยี นเปน ผปู ระเมิน เครือ่ งมือวดั แบบประเมนิ พฤติกรรม สงั เกตเวลาการเขา รวมกจิ กรรมและการปฏิบัตกิ ิจกรรม แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑการวัดและประเมนิ ประเมนิ พฤติกรรม เกณฑผ านรอยละ 80 สังเกตเวลาการเขารวมกจิ กรรมและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เกณฑผ านรอ ยละ 80 ประเมินกระบวนการทำงานกลุม เกณฑผ านรอยละ 80

49 แบบบนั ทกึ การเรยี นรู “การยอมรับและแสดงความคดิ เห็นในหมูค ณะ” ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook