Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว

แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว

Published by Rattikan Youtsook, 2018-10-23 11:15:09

Description: ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2561

Keywords: นางสาวรัตติกาล ยศสุข

Search

Read the Text Version

51 นักเรียนรู้จักบทบาทและหน้าที่ของบุคคลในครอบครัวและสามารถวางแผนสาหรับการใช้ชีวิตครอบครวั ในอนาคตไดอ้ ยา่ งอบอนุ่ และเป็นสขุ2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1. อธิบายบทบาทหนา้ ท่ีของบคุ คลในครอบครวั 2.2. บอกแนวทางการวางแผนการใชช้ ีวติ ครอบครวั ในอนาคตไดอ้ ยา่ งอบอุ่นและเป็นสุข3. สาระสาคญั ครอบครวั เป็นสถาบนั สาคัญในการสร้างชวี ิตท่ีเป็นสุขและเปน็ รากฐานของสงั คมที่เข้มแข็ง ดังนั้นการศึกษาเพอ่ื ความเขา้ ใจและเตรียมตวั วางแผนชวี ติ ในครอบครัวในอนาคตจึงเป็นส่ิงสาคัญทน่ี ักเรยี นต้องเรยี นรู้4. สาระการเรยี นรู้ 4.1. บทบาทและหน้าทขี่ องบุคคลในครอบครวั 4.2. แนวทางการวางแผนการใชช้ ีวติ ครอบครวั ในอนาคตอยา่ งอบอนุ่ และเปน็ สุข5. ช้นิ งานภาระงาน ใบงาน เร่อื ง ครอบครัวดีมีสุขของฉัน6. วิธกี ารประเมินผล 6.1. สังเกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม 6.2. ตรวจใบงานในแต่ละแผน7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1. วิเคราะห์บทบาทและหน้าที่ของบุคคลในครอบครัว ที่ส่งผลต่อการสร้างครอบครัวที่อบอุ่นและเป็นสุข 7.2. อภปิ รายแนวทางการสร้างครอบครวั ทีอ่ บอุ่นและเป็นสุข8. เวลา 4 ชั่วโมง

52 แผนการจดั การเรียนร้กู ิจกรรมแนะแนว เรอื่ ง ครอบครัวดมี ีสุขหนว่ ยการจัดกิจกรรม ครอบครวั ดีมสี ุข ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลา 4 ชว่ั โมง1. สาระสาคัญ ครอบครวั เปน็ สถาบนั สาคัญในการสร้างชวี ิตท่เี ป็นสุขและเปน็ รากฐานของสงั คมท่ีเข้มแข็ง ดงั น้ันการศกึ ษาเพือ่ ความเข้าใจและเตรยี มตวั วางแผนชีวิตในครอบครวั ในอนาคตจึงเป็นสงิ่ สาคญั ทนี่ กั เรยี นตอ้ งเรยี นรู้2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1. อธบิ ายบทบาทหนา้ ท่ีของบุคคลในครอบครัว 2.2. บอกแนวทางการวางแผนการใช้ชวี ติ ครอบครัวในอนาคตได้อยา่ งอบอุน่ และเปน็ สุข3. สาระการเรยี นรู้ 3.1. บทบาทและหน้าที่ของบุคคลในครอบครวั 3.2. แนวทางการวางแผนการใช้ชวี ิตครอบครวั ในอนาคตอย่างอบอนุ่ และเป็นสุข4. วิธกี ารจดั กิจกรรม ช่ัวโมงที่ 1 4.1. ครูต้งั คาถามถามให้นกั เรยี นตอบ ดังนี้ 4.1.1. ชายและหญิงในครอบครวั ทาหนา้ ทีอ่ ะไรบา้ ง 4.1.2. ครอบครัวใครผชู้ ายทางาน และผู้หญงิ ก็ทางานด้วย 4.1.3. นกั เรียนตอ้ งการครอบครัวแบบใด 4.1.4. เมอ่ื ใดครอบครวั ขาดคนใดคนหนงึ่ ไป นกั เรียนจะทาอย่างไรครถู ามให้นักเรยี นตอบ หรอื ยกมือ

53 4.2. แจกกระดาษขนาด 3 5 น้ิว ให้นักเรียนคนละแผ่น และตอบคาถามว่า ครอบครัวของนักเรียนเปน็ สุขหรอื ไม่ ถา้ สขุ เพราะอะไร แตถ่ ้าทุกข์ เพราะอะไร 4..3. ครูจัดกล่อง 2 กล่อง เขียนท่ีกล่องท่ี 1 ว่า กล่องสุข และกล่องท่ี 2 ว่า กล่องทุกข์ ให้นักเรียนนากระดาษทเ่ี ขียนคาตอบแล้วมาใสใ่ นกล่อง โดยไม่ต้องเขยี นชือ่ นากระดาษมานบั จานวน สรุปวา่ นักเรียนในหอ้ ง มคี รอบครัวสขุ กค่ี น ครอบครวั ทกุ ขก์ ค่ี น4.4. ครแู จกใบความรู้ที่ 1 เร่อื ง ปญั หาครอบครัวไทย ให้นักเรียนศกึ ษา และซักถามความเขา้ ใจชว่ั โมงที่ 2 4.5. ทบทวนการเรยี นรู้ในช่ัวโมงที่ผา่ นมา และการวเิ คราะห์ปัจจยั ที่ทาให้เกิดรูปแบบครอบครัวทีห่ ลากหลายในปจั จบุ ัน และวเิ คราะห์ปัจจัยทท่ี าให้ครอบครัวมีความสุข4.6. ครูตั้งคาถามให้นักเรยี นตอบ 4.6.1.ครอบครวั ท่ีมีความสขุ หมายถงึ .....(ใหน้ กั เรยี นจดคาตอบไวบ้ นกระดาน) 4.6.2.ครอบครวั จาเปน็ ต้องประกอบด้วยพ่อแม่ลกู หรือไม่ เพราะเหตใุ ด 4.6.3.ครอบครัวที่ไม่ได้มีองค์ประกอบครบพ่อแม่ลูก สามารถเป็นครอบครัวทีมีความสขุ ไดห้ รอื ไม่4.7. แบ่งนักเรยี นออกเป็น 6 กลมุ่ โดยแตล่ ะกลุม่ จะไดล้ กั ษณะครอบครัวแบบต่างๆ ดังนี้ก. ครอบครัวใบเลี้ยงเด่ยี ว – ลกู ๆอยูก่ บั พ่อหรอื แม่ คนใดคนหน่ึงข. ครอบครวั บุญธรรม – พ่อแม่อยูก่ ับเดก็ ที่ขอมาเล้ียงเป็นลูกบุญธรรมค. ครอบครัวท่ีเดก็ ๆอยู่กับพ่อหรอื แม่ ซ่งึ แต่งงานใหม่ (พอ่ เลีย้ ง/แม่เลี้ยง)ง. ครอบครวั ของคเู่ กย์ทข่ี อเดก็ มาเลยี้ งเป็นลกูใหเ้ วลากลุ่มยอ่ ย 10 นาที ในการอภปิ รายแลกเปลี่ยนและตอบคาถาม ดังนี้-สังคมส่วนใหญจ่ ะมองครอบครวั รูปแบบน้ีอย่างไร-ความท้าทายทีส่ มาชิกในครอบครวั นจ้ี ะต้องเผชิญมีอะไรบ้าง

54 -คดิ วา่ เดก็ ๆท่เี ตบิ โตในครอบครัวแบบน้ี จะเป็นเดก็ ทม่ี ีปญั หาหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ดใหแ้ ตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนนาเสนอ จากนั้นครซู กั ถาม ดงั นี้ - ครอบครวั ทง้ั 6 แบบนี้ เปน็ ครอบครัวสมบูรณ์” หรือไม่ อยา่ งไร - ครอบครัวทงั้ 6 แบบนสี้ ามารถเปน็ ครอบครวั ทีม่ คี วามสขุ หรือไม่ อยา่ งไร - ทศั นคตใิ นทางลบท่สี งั คมมตี ่อครอบครัวแบบนี้ อาจส่งผลอย่างไรบ้าง - จริงหรือไม่ ท่หี ากพ่อแม่ไม่ได้อย่ดู ว้ ยกนั แลว้ จะทาให้เด็กมปี ัญหาใหอ้ ธบิ ายเหตผุ ลประกอบ - ตวั เราจะสามารถทาใหค้ รอบครัวมคี วามสขุ ไดห้ รอื ไม่ อย่างไร 4.8. ครแู จกใบความรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง “ครอบครัวของฉัน” ใหน้ กั เรียนศกึ ษา และซกั ถามความเข้าใจ ชว่ั โมงที่ 3 4.9. ทบทวนการเรียนรู้ในช่ัวโมงที่ผ่านมา 4.10. แบ่งกลุ่มนกั เรียน กลมุ่ ละ4 – 6 คน ให้อภิปรายวิธีท่ีจะทาให้ครอบครวั มีสุข และสาเหตุท่ีทาให้ครอบครวั มีปัญหา และส่งตวั แทนรายงานหนา้ ชน้ั 4.11. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายถงึ บทบาท หน้าทรี่ บั ผดิ ชอบของบคุ คลในครอบครวั ทีจ่ ะทาให้ครอบครัวเป็นสขุ และหากละเลยหนา้ ท่คี รอบครัวจะไมเ่ ป็นสุข 4.12. ครูแจกใบความร้ทู ี่ 3 เร่อื ง ครอบครัวมสี ุข ให้นักเรียนศกึ ษาและซักถามเพ่มิ เติม ชวั่ โมงท่ี 4 4.13. ทบทวนการเรียนรูจ้ ากชว่ั โมงทีผ่ ่านมา 4.14. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับความคาดหวังถึงคนที่จะมาเป็นคู่ครองสร้างครอบครัวร่วมกันในอนาคต ว่าหากนักเรียนสามารถขอพรได้ 3 ประการ เกี่ยวกับคนท่ีจะมาเป็นคู่ครองของนักเรียนนักเรยี นอยากขอพรใหค้ นทจี่ ะมาเปน็ คู่ครองมคี ณุ ลกั ษณะอย่างไรบ้าง ( พร 1 ข้อ ขอได้ 1 คณุ ลกั ษณะ ) 4.15. ใหน้ กั เรียนทกุ คนบอกคณุ ลกั ษณะทีต่ ้องการ และหาอาสาสมัครชว่ ยเขียนคาตอบลงบน

55 กระดาน หากซ้ากันใช้กาเครื่องหมาย / ในคุณลักษณะนั้นๆว่ามีคนต้องการคุณลักษณะดังกลา่ วจานวนเทา่ ใดใหน้ กั เรียนพิจารณาคาตอบที่ไดบ้ นกระดาน และแสดงความคิดเหน็ หรอื ความร้สู ึกทีเ่ กดิ ข้ึน 4.16. ครูต้ังคาถามให้นักเรียนช่วยกันคิดต่อว่า คุณลักษณะของคู่ครองทีน่ กั เรยี นตอ้ งการใช้เวลาในการศึกษาเรียนรู้นานเท่าใดจงึ จะทราบ และหากค่คู รองท่ีต้องการไมม่ คี ุณลักษณะดังกล่าวจะทาอยา่ งไร 4.17. ครูแจกใบความรู้ท่ี 4 เร่ือง เร่ืองของครอบครัว ให้นักเรียนศึกษาแล้วร่วมกันอภิปรายแสดงความคดิ เห็น 4.18. ครูเช่ือมโยงกิจกรรมกับชวี ิตของนักเรียนว่า ตัวนักเรียนมีความคาดหวังให้เพศตรงข้ามมีคุณลกั ษณะอยา่ งที่ตนต้องการ และในทางตรงกนั ข้าม เพศตรงข้ามมคี วามคาดหวังในตัวนกั เรียนให้มคี ุณลักษณะอยา่ งที่เขาต้องการเชน่ เดียวกันหรือไม่ และให้นกั เรียนทาใบงาน “ทาอย่างไร” 4.19. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดและประโยชน์ท่ีได้จากกิจกรรม และบันทึกลงในใบงานท่ี 1 เรอื่ ง ครอบครัวดีมสี ขุ ของฉนั และสง่ ใบงาน 5. สื่อ/อปุ กรณ์ 5.1. กระดาษขนาด 3 x 5 นวิ้ เท่าจานวนนักเรยี น 5.2. ใบความรู้ เรอื่ ง ปัญหาของครอบครวั ไทย 5.3. ใบความรู้ เรือ่ ง ครอบครวั ของฉัน 5.4. ใบความรู้ เรอ่ื ง ครอบครัวมสี ุข 5.5. ใบความรู้ เรื่อง เร่ืองของครอบครวั 5.6. ใบงาน เรอ่ื ง ครอบครัวดีมสี ขุ ของฉนั6. การประเมนิ ผล 6.1 วิธีการประเมิน 6.1.1. สงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรม 6.1.2. ตรวจใบงาน 6.2. เกณฑ์การประเมิน

56 6.2.1. สังเกตการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเกณฑ์ ข้อความบ่งชี้ผ่าน มีความต้ังใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็น และตอบคาถามครบ ทกุ ข้อ และส่งงานตามกาหนดไมผ่ ่าน ไม่ให้ความรว่ มมือ หรือ ขาดส่งิ ใดสงิ่ หนงึ่ 6.2.2. ตรวจใบงานเกณฑ์ ขอ้ ความบง่ ช้ีผ่าน บอกวิธ/ี แนวทาง/วางแผนในการปฏบิ ตั ติ นอยา่ งน้อย 1 วิธีไม่ผา่ น ไม่สามารถบอกวธิ ี/แนวทาง/วางแผนในการปฏิบัตติ นได้

ใบความรกู้ ิจกรรมแนะแนว หน่วยการจัดกิจกรรมครอบครัวดมี ีสุข 57 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6ใบความรู้ เร่อื ง ปัญหาของครอบครัวไทยเขียนโดย ณัฏฐพัชร์ ทัศนรงุ่ เรือง วนั อังคารท่ี 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2010 เวลา 13:17 น.ทาสูญเงิน 5.5 แสนลา้ นบาท/ปี นักวิชาการม.มหิดล ช้ีเหมือนเส้นผมบังภูเขา พบครอบครัวไทย 67 % ไม่เคยประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาร่วมกนั ในบ้าน 58 % ไม่เคยออกกาลังกายรว่ มกัน และ 20 % ไมเ่ คยกล่าวคาขอโทษหรอื ขอบคณุ ใหแ้ กก่ นั เมื่อเร็วๆนี้ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยแผนงานสุ ขภาวะครอบครวั รว่ มกับ 21 องคก์ รทัง้ ภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม จัดการประชมุ วิชาการครอบครวั ศกึ ษา ปี 2553

58“ร่วมคิด ร่วมเรียนรู้ สู้วิกฤตครอบครัวไทย” ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช นายวันชัย บุญประชา ผู้จัดการมูลนิธิเครือข่ายครอบครัว ผู้จัดการแผนงานสุขภาวะครอบครัวสสส. กล่าวว่า ปัจจบุ ันครอบครัวในสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปมาก ไม่มีเพยี งแค่ครอบครวั สมบรู ณ์ ที่มีพ่อแม่ลูกเท่านน้ั ยงั มีครอบครัวพเิ ศษ ท่ไี มไ่ ดร้ ับบรกิ ารอย่างท่ัวถงึ จากรัฐ ซ่งึ การจดั การประชมุ ครัง้ น้ี เป็นการรวมตวั กันของนักวิชาการและคนทางานด้านครอบครัวในประเทศไทยมาช่วยกันหาแนวทางพัฒนางานวิชาการด้านครอบครัวและวิธีการจัดการปฏิบัติการ เพื่อนาความรูท้ ี่ได้มาทาให้เกิดกลไกและการทางานที่ถูกต้องเกี่ยวกับครอบครัวคนไทย ให้ครอบครัวแบบต่างๆท่ีมีหลากหลายได้เข้มแขง็ และอยู่รอดได้ในสังคม พร้อมท้ังมีการตั้งสมาคมครอบครัวศึกษาแหง่ ประเทศไทย ซึ่งไม่ใช่องคก์ รของรัฐ มีหน้าทจี่ ัดการองค์ความรู้ งานวจิ ัย เพ่ือนาไปสกู่ ารปฏบิ ัตนิ โยบายท่ีดีและถกู ต้องของรฐั“หลังจากการประชุมคร้ังน้ี จะมีการเช่ือมโยงกับองค์กรท่ีทางานด้านครอบครัวในประเทศไทย คือคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตรค์ รอบครัวแห่งชาติ มนี ายกรัฐมนตรีเปน็ ประธาน ทาหน้าทกี่ าหนดนโยบายส่งเสริมเรื่องครอบครัว โดยสมาคมครอบครัวศึกษาแห่งประเทศไทยจะนาเสนอองค์ความรู้เร่ืองครอบครัวต่อคณะกรรมการชุดน้ี เพ่ือนาไปประกอบการกาหนดนโยบาย ซึ่งหลังการประชุมครั้งนี้ ก็พร้อมจะเสนอให้คณะกรรมการ” นายวนั ชยั กล่าว ด้านน.ส.ศิวพร ปกป้อง รองผู้อานวยการสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดล กลา่ วถึงการศึกษาสถานการณ์สุขภาวะครอบครัวไทยวา่ ประเด็นหลักที่เราทาวิจยั เรื่องนี้ จะสอดรับกับแผนงานสุขภาวะครอบครัว ในเร่ืองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครอบครัวตามกรอบแนวคิด หยุดทุกข์สรา้ งสุข เพ่ือครอบครวั นั่นคือ หยุด 4 คอื อบายมุข หน้ีสิน ความรุนแรง การนอกใจ และสร้าง 4 คือ ส่ือสารดี มีเวลาร่วมกัน แบ่งปนั ใส่ใจ ห่วงใยสขุ ภาพ ซ่ึงในเรือ่ งของอบายมุขนั้นจะเปน็ ตวั หลักใหญ่ ที่จะโยงไปถงึ อกี 7 เร่ืองที่เหลอื คอื หากครอบครวั ใดมีสมาชิกเข้าไปเก่ียวขอ้ งกบั อบายมขุ จะมีสภาพดา้ นอ่นื ไมด่ ี แต่ก็ยังโชคดที ่ีมีครอบครัวไทยอยู่ 25 % หรือประมาณ 4.5 ล้านครอบครัวไทยที่ปลอดอบายมุข ไม่มีสมาชิกในครอบครัวด่ืมสุรา เล่นการพนัน และเล่นหวยใต้ดิน“เมอ่ื เปรียบเทียบกับขอ้ มลู หรืองานวิจัยก่อนหน้าน้ีจะพบว่า ในแต่ละปี เงินที่สูญเสียไปกับอบายมุขท้งั 3 ด้าน คือสุรา การพนัน และหวยใต้ดิน จะสูงถึง 5.5 แสนล้านบาทต่อปี มีครอบครัวจานวน 16.2 % ของครอบครัวไทยท้ังหมด ที่มีสมาชิกเกี่ยวข้องกับอบายมุขทั้ง 3 ด้านน้ี ทาให้มีเงินท่ี สูญเสียไป 2.2 แสนล้านบาทต่อปี ส่วน

59ครอบครวั ท่ีมีสมาชิกดื่มสุราและเล่นหวยใต้ดิน มี 29.5 % สูญเงิน 2 แสนล้านบาทต่อปี” น.ส.ศิวพร กล่าว และสนับสนนุ เรอ่ื งที่นายกรฐั มนตรไี ม่สร้างอบายมุขเพมิ่ คอื เรอ่ื งหวยออนไลน์น.ส.ศวิ พร กล่าวต่อว่า ยงั พบว่า ครอบครวั ไทยจานวน 67 % แทบไม่เคยประกอบพิธีกรรมทางศาสนาร่วมกนั ในบา้ น ส่วน 58 % แทบไม่เคยออกกาลังกายร่วมกัน และครอบครวั ไทย 20 % ไม่เคยกล่าวคาขอโทษหรือขอบคุณใหแ้ กก่ ัน ซึง่ เรื่องเหล่านี้ อาจจะเหมือนเสน้ ผมบังภเู ขา อาจจะมองว่าต่างคนตา่ งทาก็ได้ ทงั้ ๆที่เปน็ เร่อื งที่ควรจะทาโดยเฉพาะการประกอบพธิ ที างศาสนาหรือการออกกาลงั กาย ครอบครวั ควรมโี อกาสทารว่ มกนัด้านรศ.ดร.ชาย โพธิสิตา อาจารย์สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล นาเสนองานวิจัยเร่ือง“โครงสร้างประชากรและครอบครวั ” จากการศึกษาพบวา่ ประชากรไทยในวัยเด็ก วัยรุ่น และวัยแรงงาน ลดลงอย่างต่อเนอื่ ง จากปี 2543 มปี ระชากรอายุ 0-14 ปี จานวน 14.843 ล้านคน คาดว่าในปี 2563 จะเหลอื 11.172ลา้ นคน และปี 2583 เหลือเพียง 8.493 ล้านคน ส่วนวัยสูงอายุจะเพม่ิ ขึน้ และจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เร่งเร็วข้ึนด้วยโดยจากปี 2543 ที่มปี ระชากรอายุ 60 ปขี ้ึนไป จานวน 5.793 ล้านคน คาดวา่ ปี 2583 มีถงึ 16.6 ล้านคนสว่ นความเปลี่ยนแปลงในครอบครัวไทย พบว่า 1.คนไทยชะลอเวลาในการเริ่มสร้างครอบครวั จากขอ้ มูลสามะโนประชากร ต้ังขอ้ สงั เกตได้ว่า พฤติกรรมการแต่งงานตอบสนองต่อความเจรญิ ทางเศรษฐกิจและสังคม ในเมอื งใหญ่หรือภาคท่ีมีความเจริญทางเศรษฐกิจมาก คนจะเริ่มต้นชีวิตครอบครัวช้ากว่าในภาคอื่นๆ 2.การครองโสดเร่ิมแพร่หลายมากข้ึน พบว่า คนไทยท่ียังไมเ่ คยแต่งงานเลยในอายุสูงๆ เช่น 40 ปีขึ้นไป มีสดั สว่ นเพิ่มขนึ้ ผู้ชายที่ไม่มีการศึกษามีโอกาสครองโสดสูงมาก แต่สาหรับผู้หญิงกลับตรงกันข้าม คือ ยิ่งมีการศึกษาสูง โอกาสท่ีจะโสดย่ิงมี

60สูงขึ้น ทั้งนี้ หญิงไทยกลุ่มอายุ 40-44 ปี ที่อาศัยใน กทม. มีอัตราการครองโสดสูงที่สุด เมื่อเทียบกับหญิงกลุ่มเดียวกัน ท่ีอาศัยอยู่ในเมืองหลวงประเทศอืน่ ในภูมิภาคเดียวกนั 3.รปู แบบการแต่งงานเริม่ ถูกท้าทาย และ 4.การหย่ารา้ งเพิม่ ขน้ึท่มี า: ศูนยข์ อ้ มลู ขา่ วสารปฏริ ปู ประเทศไทย โดย สานกั ข่าว สถาบันอิศรา

ใบความรกู้ จิ กรรมแนะแนว หนว่ ยการจดั กิจกรรมครอบครัวดีมสี ุข 61 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ใบความรู้ เรื่อง ครอบครัวของฉนั ในสภาพสังคมปจั จุบันและในอนาคต รูปแบบครอบครัวอาจมีหลากหลายมากขึ้น และอาจไม่ใชภ่ าพอดุ มคติของ “พ่อ – แม่ – ลูก” แต่เพียงอย่างเดียว ท้ังนี้ ส่ิงสาคัญคือ ครอบครัวเป็นรากฐานสาคัญของบุคคล และองคป์ ระกอบสาคัญท่ีทาใหค้ รอบครวั มคี วามสุข คอื การดูแล ใส่ใจ และส่อื สารกันด้วยความเข้าใจ และปรารถนาดีต่อกันของสมาชิกในครอบครัว และความมั่นใจว่าจะมีคนท่ีพร้อมจะรัก ยอมรับ และช่วยเหลือเราเสมอ โดยไม่จาเป็นตอ้ งมีองคป์ ระกอบของครอบครวั แบบในอุดมคติ การท่ีพ่อและแมไ่ ม่ได้อยู่ดว้ ยกัน ไม่ได้หมายความวา่ “ครอบครัวแตกแยก” ในความหมายท่ีสังคมมักพูดถงึ และไมจ่ าเป็นว่าเด็กๆทีอ่ ยู่กับพอ่ หรอื แมค่ นใดคนหนง่ึ จะต้องกลายเปน็ เด็กทมี่ ปี ัญหาเหมอื นท่ีสังคมมกั ตตี รา

62ใบความร้กู จิ กรรมแนะแนว หนว่ ยการจดั กจิ กรรมครอบครัวดมี สี ขุ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ใบความรู้ เร่ือง ครอบครัวมีสุขความหมายของครอบครัว ครอบครัว หมายถึง การอยู่ร่วมกันของกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิก ซึ่งมีความสัมพันธ์กันผูกพันกัน เช่นความสัมพันธ์ทางสายเลือด หรือการรับเป็นบุตรบุญธรรม สมาชิกที่มีความสัมพันธ์กันและมีบทบาทและหน้าที่แตกต่างกัน เช่น เป็นบิดา เป็นมารดา เป็นสามีหรือภรรยา หรือเป็นบุตร ฯลฯ ซ่ึงสมาชิกเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทยได้ใหค้ วามหมายของครอบครัวในเชงิ สหวทิ ยาการ ดงั น้ี (รจุ า ภู่ไพบลู ย์ , 2537 : 1-4)ด้านชีววิทยา ครอบครัวหมายถึง กลุ่มคนที่มีความผูกพันทางสายโลหิต ด้านเศรษฐศาสตร์ ครอบครัวหมายถึงกลุ่มบุคคลท่ีใช้จ่ายเงินจากงบประมาณเดียวกัน แม้จะอาศัยอยู่ต่างสถานท่ีกัน ด้านสังคมศาสตร์ ครอบครัวหมายถงึ กลมุ่ คนที่อยู่ร่วมเคหะสถานหรือบ้านเดียวกันมีปฏิสัมพันธ์ สนใจต่อทุกข์ซึ่งกันและกัน มคี วามผูกพนั กันมคี วามรักความปรารถนาดีต่อกัน โดยไมจ่ าเป็นต้องสืบสายโลหิตเดยี วกนั ทางกฎหมาย หรือนิติศาสตร์ ครอบครัวหมายถึง ครอบครัวท่ชี ายหญิงจดทะเบยี นสมรสอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซ่ึงครอบคลุมถงึ บตุ รและบุตรบุญธรรมกฎหมายยงั ได้กาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบของบิดา มารดา สามี ภรรยา และบตุ รที่มตี ่อกัน และกาหนดสิทธิในการรับมรดกตามกฎหมายสรปุ ได้ว่าครอบครวั จะมลี กั ษณะ ดังนี้ประกอบดว้ ยคนมากกวา่ 1 คนขึน้ ไป ท่ีมีความผกู พันกันสมั พันธก์ นั ทางสายโลหิต หรอื กฎหมายความสมั พนั ธ์ของสมาชกิ ในครอบครวั มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มอ่นื ๆในสังคม

63สมาชิกในครอบครวั จะมบี ทบาทตามท่ีสงั คมใหค้ วามหมาย เช่น บิดา มารดา บุตร เป็นตน้ความสาคญั ของครอบครัว ครอบครัวเป็นการรวมตัวของบุคคลท่ีมีความรัก ความผูกพันกัน มีปฏิสัมพันธ์กันช่วยเหลือเก้ือกูลกันครอบครวั เป็นสถาบันสงั คมที่เล็กที่สุดแต่เป็นสถาบันที่มีความสาคัญท่ีสดุ เพราะเปน็ หน่วยสังคมแรกท่ีหล่อหลอมชีวิตของคนในครอบครัวให้การเล้ียงดูอบรมสั่งสอน ครอบครัวเป็นแหล่งผลิตคนเข้าสู่สังคม สังคมจะดีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นสถาบันแรกท่ีให้การอบรมส่ังสอน หล่อหลอมพฤติกรรม การกระทา ความคิด ความร้สู ึก เรียกโดยรวมว่า ช่วยหล่อหลอมบุคลิกภาพของมนุษย์ สร้างและพัฒนาคุณภาพของมนุษยใ์ นสังคม สังคมไทยในอดีต สภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวจะมีความใกล้ชิดสนิทสนมมีความผูกพัน มีสมั พันธภาพแน่นแฟน้ มคี วามเคารพนับถอื ให้ความช่วยเหลอื ดแู ลกันอย่างทัว่ ถงึ มีการตดิ ต่อไปมาหาส่หู มู่ญาติพ่ีน้องสม่าเสมอ ครอบครัวสว่ นใหญ่เป็นครอบครวั ขยาย (Extended Family) คือเป็นครอบครัวใหญ่ท่ีประกอบไปด้วยญาติพี่น้องของสามีหรอื ภรรยา เช่น พี่ ป้า นา้ อา ปู่ ยา่ ตา ยาย เป็นต้น อยรู่ ่วมในครอบครวั ด้วย ปัจจุบันความเปล่ียนแปลงในสังคม ส่งผลให้สภาพครอบครัวไทยในอดีตเปล่ียนแปลงไป เช่นเดียวกันกล่าวคือ ครอบครวั ปัจจบุ นั สว่ นใหญ่จะเป็นครอบครัวเดยี่ ว (Nuclear Family ) จะมีเฉพาะสามี ภรรยา บุตร และ

64อาจมผี ้ชู ่วยทางานบา้ น พ่อแมล่ ูก ไมค่ ่อยมคี วามใกลช้ ดิ กนั มากนัก เพราะจะตอ้ งออกไปหารายไดน้ อกบ้าน มาชว่ ยจนุ เจอื ครอบครัว ลกู ต้องจ้างคนอ่ืนเล้ียง หรือใหญ้ าติดแู ล หรอื ตอ้ งฝากเข้าโรงเรียนกอ่ นวัยเรียน การไปมาหาสู่กับญาติพ่ีนอ้ งน้อยลง ความผูกพัน ความเอาใจใส่ซึง่ กันและภายในครอบครัวลดลง สิ่งแวดล้อมภายนอก คอื “กลุ่มเพื่อนมีความสาคัญมากกว่าครอบครัว” ถ้าได้ไปเข้ากลุ่มกับเพ่ือนที่ไม่ดีเป็นคนเลวร้าย ปัญหาอ่ืนๆ อาจตามมา เช่น ติดการพนัน ยาเสพติด ซอ่ งโจร สาสอ่ นทางเพศ ก่ออาชญากรรม เป็นต้น สภาพทเี่ กิดข้นึ เชน่ น้ีสะท้อนใหเ้ ห็นถึง “ความล้มเหลวของสถาบันครอบครัว” ซง่ึ สาเหตุสาคัญประการหนึ่ง คือ ความแตกแยกของพ่อแมใ่ นการครองชีวติ คู่ ความไม่สนใจ ใส่ใจดูแลลกู การท่มุ เทให้กับการทามาหากนิ หรอื สิ่งอน่ื ๆ มากกวา่ ลกู ปัจจัยเหล่านี้ทาให้เด็กในครอบครัวรู้สึกขาดความม่ันคง ขาดความรักความอบอุ่นและขาดรูปแบบที่เหมาะสมท่จี ะยึดเปน็ แนวทางได้ ทาให้เดก็ มีโอกาสง่ายตอ่ การเดนิ “หลงทางชวี ติ ” ครอบครัวจึงเป็นสถาบันสังคมที่สาคัญที่สุดในการสร้างรากฐานอนาคตให้กับมวลสมาชิก ซ่ึงสมาชิกของครอบครัวจะมาเป็นสมาชิกของสังคมต่อไป อาจเขียนเป็นแผนภาพของครอบครัวท่ีมีผลกระทบต่อสังคมได้ดังนี้ จะเห็นได้ว่าครอบครัวเป็นรากฐานที่สาคัญของสังคม ถ้าครอบครัวเข้มแข็งอยู่ได้อย่างมีความพอดี มีความสุขตามอัตภาพของแต่ละครอบครัว พออยพู่ อกินและมอี ยู่มีกนิ ครอบครัวก็จะสร้างสมาชิกของครอบครัวท่ีดีและมีคุณภาพตอ่ สงั คมหนา้ ท่ขี องครอบครวั 1. ตอบสนองความต้องการด้านร่างกายโดยจัดหาสิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น อาหาร น้า ที่อยู่ อาศัย เสอ้ื ผา้ เป็นต้น รวมทัง้ การดแู ลสุขภาพเม่ือจาเปน็ 2. ตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์ โดยการให้ความรักความเอาใจใส่ให้แก่สมาชิกในครอบครวั ซึ่งส่ิง ต่างๆ เหล่าน้ีจะทาให้สมาชิกรู้สึกอบอุ่นใจ มั่นใจ มีคุณค่าในตนเอง มองโลกในแง่ดี มีบุคลิกภาพ มนั่ คง เนื่องจากได้รบั ความรกั ความอบอุน่ ตอบสนองความต้องการด้านจิตใจและอารมณอ์ ยา่ งเหมาะสม

653. เลี้ยงดู อบรมสมาชิก ให้สามารถเป็นสมาชิกท่ีมีคุณภาพของสังคมเป็นคนดีของสังคม โดยการอบรมส่ัง สอนให้คาแนะนาดูแลความประพฤติของสมาชิก เพ่ือนาความรู้ทักษะท่ีได้รับไปใช้ในการดารงชีวิตและ ประกอบอาชีพในอนาคต4. สืบเช้ือสายหรือการผลิตสมาชิกใหม่เป็นผู้สืบสกุลให้แก่สังคม โดยการทางาน มีบุตรหรือรับบุตรบุญ ธรรม ครอบครัวมีบทบาทสร้างสมาชกิ ใหม่ทม่ี คี ณุ ภาพสสู่ งั คม5. สร้างฐานะทางเศรษฐกิจและสถานภาพของสังคม โดยการเตรียมสมาชิกที่อยู่ในวัยอันสมควรได้เข้า สงั คม และสนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวมีเกียรติเป็นท่ียอมรับของสังคม โดยมีผู้นาครอบครัวที่ต้อง เป็นแบบอย่างท่ีดีในการประกอบอาชีพสุจริตและรู้จักเก็บออมเงิน เพ่ือให้มีฐานะม่ันคงอยู่อย่างมี ความสุข มีสภาพทางสงั คมท่ดี ี

ใบความร้กู จิ กรรมแนะแนว หน่วยการจดั กจิ กรรมครอบครวั ดีมีสุข 66 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ใบความรู้ เร่อื งของครอบครัว ดร. สายจุรี จุติกุล ใหค้ วามเห็นว่า ครอบครัวท่ีมีความสุขนัน้ จะต้องมีความรกั ความอบอุ่นระหว่างกันและกันในครอบครัว โดยมีพฤติกรรมแสดงความรักในลักษณะต่างๆ เช่น ต้องเอาใจใส่ดูแลและเออาทรต่อกันต้องเคารพกันและกัน ต้องมีความรับผิดชอบ ต้องใช้เวลาด้วยกันอย่างมีคุณค่าและมีคุณภาพ และต้องมีการปรบั ตัวตามภาวะท่ีเปลยี่ นแปลงของบุคคลในครอบครวั กรมประชาสงเคราะห์ ได้สร้างคุณลักษณะของ “ครอบครัวผาสุก” ประกอบด้วย 4 หมวด 20 ตัวช้ีวัดดงั นี้ หมวดที่ 1 : ครัวเรือนมีองค์ประกอบสมบูรณ์มี 7 ตัวชี้วัด เช่น มีสมาชิกอย่างน้อย พ่อ แม่ ลูก ในแต่ละครอบครัวอยู่พร้อมหน้าเป็นการถาวร มีสมาชิกอยู่ในวัยแรงงานหาเลี้ยงครัวเรือน เด็กอายุแรกเกิด – 14 ปี อยู่รว่ มกบั พ่อแม่ ไม่มสี มาชกิ เจบ็ ปว่ ยเร้ือรงั ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หมวดท่ี 2 : ครัวเรือนมีความสัมพันธภาพท่ีอบอุ่น มี 3 ตัวชี้วัด คือ เด็กในครัวเรือนไม่เคยหนีออกจากบา้ น ผู้สงู อายุไดร้ ับการดแู ลเอาใจใส่ สมาชกิ ในครวั เรอื นปฎิบัติตอ่ กนั ดว้ ยความรักและปรบั ทุกข์เฉลย่ี สุขกันอยา่ งมีเหตผุ ล หมวดที่ 3 : ครัวเรือนสุขสมบูรณ์พ่ึงตนเองได้ มี 7 ตัวชี้วัด เช่น มีความม่ันคงในท่ีอยู่อาศัย รายได้หรือผลผลติ พอกนิ พอใช้ในครัวเรือน สมาชกิ ในครวั เรือนอายุ 14 – 50 ปี สามารถอ่านอกเขยี นไดท้ กุ คน หมวดที่ 4 : ครัวเรือนสามารถใช้บริการของรัฐ มี 3 ตัวชี้วัด คือ สมาชิกในครวั เรือนเป็นสมาชิกกลุ่มหรือชมรม ครัวเรือนรู้แหลง่ บรกิ ารทางสงั คม และมีความสามารถไปรับบริการตามสทิ ธิข้ันพ้ืนฐาน สถาบนั วจิ ยั สังคม จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ไดส้ รปุ ความหมายของความอยดู่ มี สี ุขของชวี ติ ครอบครัว จากการระดมความคดิ เห็นของประชาชนในพ้นื ท่ี 4 ภาค คือ 1.ภาคใต้ ความอยดู่ มี สี ุขของชวี ติ ครอบครัว หมายถึง สมาชกิ ในครอบครวั ไมท่ ะเลาะววิ าท

67เข้าอกเข้าใจกัน พูดคยุ ปรกึ ษาปญั หาต่างๆ ให้อภยั ซง่ึ กนั และกัน มเี วลาใหล้ กู พอ่ แมเ่ ปน็ ตวั อย่างท่ดี ี 2.ภาคเหนือ ความอยู่ดีมีสุขของชีวิตครอบครัว หมายถึง ครอบครัวไม่แตกแยก เยาวชนไม่ติดยา ไม่เล่นการพนนั แมบ่ ้านไมด่ ่มื สุรา ครอบครัวไมแ่ ตกแยกจากการหางานทา 3. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ความอยูด่ ีมีสุขของชีวิตครอบครัว หมายถงึ พ่อแม่อยู่พรอ้ มหนา้ กนั ลกู เรยี นสงู ไมต่ ้องการทาเกษตรกรรม พ่อแม่ไมท่ ะเลาะกัน ผนู้ าครอบครัวเปน็ คนดี 4. ภาคกลาง ความอยู่ดีมีสุขของชีวิตครอบครัว หมายถึง การมคี รอบครัวท่ีอบอุ่นปราศจากการทะเลาะววิ าทการใช้ความรนุ แรงในครอบครัว การไม่ทอดทิ้งเด็กและคนชราให้อยู่กนั ตามลาพังในครอบครวั จาก http://www.forums.dmh.go.th/indeX.php?action=printpage;topic=13.0

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หน่วยการจดั กิจกรรมครอบครวั ดีมีสขุ 68 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ใบงาน เร่ือง ครอบครวั ดมี ีสขุ ของฉันคาสั่ง ใหท้ กุ คนตอบคาถามต่อไปน้ี ขอใหบ้ รรยายจากความต้องการที่แท้จรงิ1. การท่ีครอบครัวจะดีและมีความสุข อบอุ่น ข้าพเจ้าจะต้องมีบทบาท........................................ และจะทาหนา้ ที่ในครอบครัว ดงั นี้ 1.1.............................................................. 1.2............................................................ 1.3.............................................................. 1.4............................................................2. ขา้ พเจา้ วางแผนการใช้ชีวิตครอบครวั ในอนาคตได้อย่างอบอุ่นและเปน็ สขุ ดงั นี้ หน่วยการจัดกิจกรรม พฒั นาตน พฒั นาชาติ

วตั ถปุ ระสงค์ที่ 3 การปรับตัวและอยู่รว่ มกับผู้อื่นอยา่ งเหมาะสมและมีความสุข 69 3.4 นกั เรียนมีทักษะการดารงชวี ิตอย่างเป็นประโยชนแ์ ละปลอดภยั ภาคเรียนที่ 2ระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 61. วัตถุประสงค์ช้ันปี นักเรียนรู้จักคุณลักษณะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิตอย่างเป็นสุขและเป็นประโยชน์และวางแผนพฒั นาตน2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธบิ ายคณุ ลักษณะทจ่ี าเปน็ ในการทางานอย่างเปน็ ประโยชนแ์ ละเปน็ สขุ 2.2 วางแผนพัฒนาตน เพือ่ เตรยี มตัวเขา้ ส่โู ลกของงาน3. สาระสาคัญ คุณลักษณะส่วนตนเปน็ ปัจจยั สาคัญทมี่ ีผลตอ่ การดาเนนิ ชวี ิตการทางานและการสร้างประโยชน์ให้สังคมและประเทศชาติ นักเรียนควรพัฒนาคุณลักษณะส่วนตนที่เหมาะสม เพ่ือการดารงชีวิตอย่างมีความสขุ ประสบความสาเรจ็ และเป็นประโยชน์4. สาระการเรียนรู้ 4.1 คณุ ลกั ษณะท่ีจาเป็นต่อการครองตน การดาเนนิ ชวี ติ การทางานอยา่ งเปน็ สุข และเป็นประโยชน์ 4.2 การวางแผนพัฒนาตนเพอ่ื ชีวติ ท่ีเป็นสุขและเป็นประโยชน์5. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงาน เพื่อชวี ติ ท่ีเป็นสขุ และเปน็ ประโยชน์6. การประเมนิ ผล 6.1 สงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม

70 6.2 ตรวจใบงานในแต่ละแผน7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ศึกษาและวิเคราะห์คุณลักษณะท่ีจาเป็น ต่อการครองตนในการทางาน อย่างเป็นสุขและเป็นประโยชน์ 7.2 วางแผนการพฒั นาตน เพือ่ เตรียมตัวเข้าสโู่ ลกของงาน8. เวลา 4 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว 71เรือ่ ง พฒั นาตน พฒั นาชาติ เวลา 4 ชั่วโมงหน่วยการจดั กิจกรรม พฒั นาตน พฒั นาชาติ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 61. สาระสาคญั คุณลักษณะสว่ นตนเป็นปัจจัยสาคญั ท่ีมีผลต่อการดาเนนิ ชีวติ การทางานและการสร้างประโยชน์ให้สังคมและประเทศชาติ นักเรียนควรพัฒนาคุณลักษณะส่วนตนที่เหมาะสม เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีความสุขประสบความสาเร็จ และเป็นประโยชน์2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 อธิบายคุณลกั ษณะทจี่ าเป็นในการทางานอยา่ งเปน็ เปน็ ประโยชนแ์ ละเป็นสขุ 2.2 วางแผนพฒั นาตน เพอ่ื เตรียมตวั เข้าสโู่ ลกของงาน3. สาระการเรียนรู้ 3.1 คณุ ลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ตอ่ การครองตน การดาเนินชีวิต การทางานอยา่ งเปน็ สขุ และเป็นประโยชน์ 3.2 การวางแผนพฒั นาตนเพื่อเข้าสู่โลกของงานและการดาเนนิ ชวี ติ ท่ีเปน็ สุขและเปน็ ประโยชน์4. วธิ กี ารจดั กิจกรรม ชัว่ โมงท่ี 1 4.1 ครใู ห้นักเรยี นเลน่ เกมสรา้ งตกึ เพ่ือฝกึ ทกั ษะการทางานเป็นทีม พัฒนาความคดิสรา้ งสรรค์ ฝกึ การยอมรับความคิดเหน็ ของผ้อู นื่ (ครไู ม่ตอ้ งแจง้ ให้นกั เรียนทราบถึงจุดประสงค)์ 4.2 ครแู บ่งนกั เรยี นเปน็ กลุม่ 10-15 คน ตามความเหมาะสม 4.3 ครแู จกแผ่นฟวิ เจอรบ์ อรด์ ขนาด 18 X18 น้ิวหลากสหี รอื สีเดียวก็ได้ ให้กลมุ่ ละ 15 แผ่น 4.4 ครอู ธบิ ายกตกิ า - ให้แตล่ ะกลมุ่ ใช้ฟวิ เจอรบ์ อร์ดสร้างตึกให้มคี วามสงู อย่างนอ้ ย 1.50 เมตร

72 โดยไมใ่ ห้ล้ม และไมม่ อี ปุ กรณ์ใดๆ ชว่ ย - ใช้เวลา 10 นาที 4.5 ครใู ห้นกั เรยี นอภปิ รายผล และทาใบงาน เร่อื งข้อคดิ จากเกมสร้างตึก 4.6 กลุ่มนาเสนอ และนักเรียนร่วมกันสรุปข้อคิดท่ีได้จากการทางาน ด้านคุณลักษณะความสามารถ และทกั ษะทีจ่ าเป็น 4.7 ครูเช่ือมโยงให้เห็นคุณลักษณะที่สาคัญในการทางาน และทักษะที่จาเป็น(ตั้งเป้าหมายคดิ แกป้ ญั หา การสอื่ สาร การรบั ฟังความคดิ เห็น ความคดิ สรา้ งสรรคฯ์ ลฯ) 4.8 ให้นักเรยี นอา่ นใบความรู้ เรอ่ื ง6 ทักษะหลกั ทน่ี ายจา้ งต้องการเสมอ ช่ัวโมงท่ี 2 4.9 ทบทวนสงิ่ ที่เรยี นรชู้ ่วั โมงท่ีแลว้ 4.10 ให้นักเรียนทาใบงาน เร่ืองคดิ สรรคส์ ร้าง 4.11 ครสู ่มุ ถามคาตอบ นกั เรียนที่แกป้ ัญหาได้สาเร็จ โดยครู ช้ีใหเ้ ห็นความสาคัญของการคิดนอกกรอบ ฝึกคิดแงม่ ุมใหม่ๆ คิดให้กวา้ ง จะเปน็ การฝึกฝนความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงเป็นความสามารถในการคิดระดับสงู และเปน็ ประโยชน์ต่อความกา้ วหนา้ ในการทางานในอนาคต 4.12 ให้นักเรียนฝึกการคิดสร้างสรรค์ โดยทากิจกรรมผูกเรื่องจากกลุ่มคา แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม 5-6 คน ใหแ้ ต่ละกล่มุ ช่วยกันผกู เร่ืองโดยใช้ช่อื เพลงลูกทุ่ง (หรือเพลงไทยสากล หรอื ช่อื ภาพยนตร์ หรือชือ่ ละคร หรอื คาที่ขน้ึ ตน้ ดว้ ยตวั สะกดตวั เดียว) มาร้อยเรยี ง แลว้ ขดี คาท่ีกาหนดไวเ้ ป็นเงอ่ื นไข 4.13 ให้กลุ่มนาเสนอเรื่องที่ผูก ครูให้ข้อเสนอแนะ(เรื่องที่แต่งควรได้ใจความ /ไพเราะ/สนกุ สนาน) 4.14 ให้นกั เรียนสรุปสิง่ ที่เรียนรู้ ครูชใี้ ห้เห็นความสาคัญของการฝึกคิดในแง่มุมใหม่ๆ จะชว่ ยพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ และเสนอแนะให้นักเรียนนาไปฝึกฝนด้วยตนเอง หากฝกึ บ่อยๆก็จะสามารถคดิ หาคาประโยค เรอื่ งราวท่แี ปลกใหม่ นา่ สนใจ ยิง่ ขึน้

73ชวั่ โมงท่ี 3 4.15 ทบทวนส่ิงทเ่ี รยี นรจู้ ากชัว่ โมงก่อนๆ 4.16 ครูสนทนาว่านักเรียนได้เรียนคุณลักษณะและทักษะที่จาเป็นต่อการทางานในอนาคตและการดารงชวี ติ ในสงั คมตอ่ ไป นอกจากน้ียงั มคี ณุ ลักษณะอน่ื ๆทจ่ี ะช่วยสง่ เสรมิ ใหค้ นประสบความสาเร็จในชวี ติ 4.17 ใหน้ กั เรยี นอ่านใบความรู้ เรือ่ งบุคคลท่ปี ระสบความสาเรจ็ 4.18 ใหน้ กั เรียนทาใบงาน เรอื่ ง สู่ความสาเร็จ 4.19 สุ่มถามนกั เรยี นตามประเดน็ ในใบงาน 4.20 ใหน้ กั เรยี นสรปุ ขอ้ คิดท่ไี ด้ ชัว่ โมงที่ 4 4.21 ให้นกั เรียนทบทวนกจิ กรรมและสงิ่ ทเี่ รยี นรู้จากช่วั โมงทแ่ี ล้ว 4.22 ครแู ละนักเรียนสนทนาเร่ืองคุณลกั ษณะท่ีจาเป็นในการประกอบอาชีพ และการใช้ชวี ิต อย่างเป็นประโยชน์และมีความสุข ให้นักเรียนดูสื่อคลิป บุคคลตัวอย่างท่ีทางานและใช้ชีวิตอย่างเป็น ประโยชน์ ได้แก่ ดร. กฤษณา เภสัชกรทผ่ี ลิตยาต้านโรคเอดส์ใหแ้ ก่ชาวแอฟรกิ ัน และได้รับรางวัลแมก ไซไซ หมอเขยี วท่ชี ว่ ยรกั ษาคนโดยไมห่ วงั ผลประโยช์ตอบแทน และหมอเดินเทา้ ที่ไปชว่ ยรกั ษาชาวบา้ น อยา่ งใกล้ชิด 4.23 ให้นักเรยี นทาใบงาน เร่อื งชวี ิตท่เี ปน็ ประโยชน์และเป็นสุข 4.24 ครสู มุ่ ถามนักเรียน ให้นักเรียนร่วมกันสรุป 4.25 ให้อา่ นใบความรู้ เรื่องคุณลกั ษณะของคนไทยทพ่ี ึงประสงค์ 4.26 ให้นักเรียนทาใบงาน เรอ่ื งเพอื่ ชีวติ ทเี่ ปน็ ประโยชน์และเปน็ สขุ 4.27 สุ่มถามคาตอบ และใหน้ กั เรยี นช่วยกันสรุป 4.28 ใหก้ าลังใจนกั เรียน5. สือ่ /อปุ กรณ์ 5.1 แผ่นฟิวเจอรบ์ อรด์ 5.2 ใบงาน เร่ืองขอ้ คิดจากเกมสรา้ งตกึ 5.3 ใบความรู้ เร่อื ง 6 ทักษะหลกั ทีน่ ายจ้างต้องการเสมอ 5.4 ใบงาน เรื่อง ข้อคดิ ท่ไี ด้จากเกมสร้างตกึ 5.5 ใบงาน เรื่องคิดสรรคส์ ร้าง 5.6 ใบความรู้ เร่อื งบุคคลทป่ี ระสบความสาเร็จ 5.7 ใบงาน เร่อื ง สคู่ วามสาเร็จ

74 5.8 สอ่ื คลิป ดร. กฤษณา หมอเขียว และหมอเดนิ เท้า 5.9 ใบงาน เรอ่ื งชวี ติ ท่ีเป็นประโยชน์และเป็นสขุ 5.10. ใบความรู้ เรือ่ งคุณลกั ษณะของคนไทยท่ีพึงประสงค์ 5.11 ใบงาน เรือ่ งเพ่อื ชวี ิตท่เี ปน็ ประโยชนแ์ ละเปน็ สขุ6. การประเมนิ ผล 6.1 วิธกี ารประเมนิ 6.1.1. สังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรม 6.1.2. ตรวจใบงาน 6.2 เกณฑก์ ารประเมิน 6.2.1 สังเกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เกณฑ์ ขอ้ ความบ่งชี้ ผ่าน มีความตั้งใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือกับกลุ่ม ในการอภิปราย แสดง ความคดิ เหน็ และการสง่ งานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไม่ให้ความรว่ มมือกับกลุม่ หรอื ขาดสง่ิ ใดส่ิงหน่งึ 6.2.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ข้อความบ่งชี้ ผ่าน สามารถวางแผนพัฒนาตน เพ่ือชีวิตที่เป็นประโยชน์และเป็นสุข ได้อย่าง น้อย 3 ขอ้ ไมผ่ า่ น ไมส่ ามารถวางแผนพัฒนาตน เพือ่ ชีวติ ทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ละเปน็ สุขได้ถึง 3 ข้อ

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หนว่ ยการจัดกจิ กรรมพัฒนาตน พัฒนาชาติ 75 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6ชอื่ -สกุลนกั เรียน...............................................................................ชั้น ม.6/..........เลขท.่ี .......... ใบงาน เรอ่ื ง ขอ้ คดิ จากเกมสร้างตึก หลงั จากทน่ี ักเรียนเลน่ เกมนแ้ี ล้วให้ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. กลุ่มนักเรียนได้ลาดบั ที่........................... ปจั จยั ทช่ี ว่ ยให้งานสาเรจ็ ไดแ้ ก่................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ สง่ิ ทค่ี วรแกไ้ ขปรบั ปรุงในการทางาน ได้แก่................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 2. ทักษะ/คณุ ลักษณะ/ความสามารถทจี่ าเปน็ ในการทางานช้ินนีใ้ ห้สาเร็จ ไดแ้ ก่................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 3. จากทกั ษะ/คณุ ลักษณะ/ความสามารถ ในข้อ 2 จุดแข็งของนกั เรียน(นกั เรียนมคี ุณลกั ษณะเหลา่ นัน้ มากพอ) ได้แก่................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ส่ิงท่ีนักเรยี นต้องพัฒนา (นกั เรียนมคี ุณลักษณะเหลา่ นน้ั ยังไมพ่ อ) ได้แก่................................................................................................................................................................

ใบความรกู้ จิ กรรมแนะแนว หน่วยการจัดกิจกรรมพัฒนาตน พัฒนาชาติ 76 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ใบความรู้ เร่อื ง 6 ทักษะหลักที่นายจา้ งต้องการเสมอ 6 ทกั ษะต่อไปนี้ คือคุณสมบัติทีเ่ ป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญมากสาหรับการทางาน ไดแ้ ก่ 1. มีความสามารถในการส่อื สารไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ1. 2. มีความสามารถในการทางานเป็นทีม2. 3. มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา3. 4. มีความสามารถในการคิดรเิ รม่ิ4. 5. มคี วามสามารถในการบริหารจัดการ5. 6. มคี วามสามารถในการปรบั ตวั ลองมาสารวจตวั เองกันวา่ คณุ มีคณุ สมบตั ิท้ัง 6 ข้อน้ีแล้วหรอื ยงั ผู้ทเ่ี ป็นนกั สื่อสารทดี่ ี ไมใ่ ช่แคพ่ ดู เก่งอย่างเดียว ต้องมที ักษะในการฟังด้วย ต้องฟงั อยา่ งตงั้ ใจเสียก่อน จึง จะโตต้ อบได้อย่างถูกต้อง ผูท้ ที่ างานเป็นทีมได้ดี มักจะเป็นคนยืดหยนุ่ และประนีประนอม จงึ สามารถเข้ากับคนได้ทกุ ประเภท เปิด กว้างสาหรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน และมีการแลกเปลีย่ นข้อมูลกบั ผู้อ่นื อยูเ่ สมอ อกี ท้ังยังเป็นคนซ่ือสัตย์ จรงิ ใจ ไม่ เอาเปรยี บผอู้ ่ืน ยดึ มั่นและทาตามคาสัญญาทรี่ ับปากไว้ ทาใหผ้ ู้อนื่ ไว้วางใจ ในขณะเดียวกนั ก็ไวใ้ จผ้อู น่ื ดว้ ย ผทู้ ี่เปน็ นกั แกป้ ญั หาตัวยง จะมองเห็นปญั หากอ่ นท่ีมันจะกลายเปน็ เรื่องใหญ่ ทง้ั ยงั รู้จักมองดว้ ยมุมมองท่ี แตกต่าง จึงสามารถเห็นและจัดการกับปัญหาได้ก่อนผู้อื่น คนท่ีมีคุณสมบัติเช่นน้ีไม่กลัวท่ีจะเผชิญหน้ากับปัญหา จงึ ไม่เคยคิดปัดปัญหาไปใหผ้ ู้อื่น เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้นก็เรียนรู้จากความผดิ พลาดของตวั เอง และพยายามทาง หนทางใหม่ ๆ ในการแก้ปญั หาอย่างไมย่ อ่ ทอ้ ผทู้ ี่มีความคิดริเริ่ม คนที่มีคุณสมบัติเช่นนี้มแี นวโน้มสูงที่จะเป็นผู้นา เพราะรู้ตวั เองว่าตอ้ งทาอะไรโดยไม่ ต้องมีใครบอกให้ทา ชอบท่ีจะคิดสร้างสรรค์ ชอบทดลอง ปรารถนาท่ีจะเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ ๆ ไม่เพยี งเฉพาะกับตัวเอง เท่านั้น แต่ยังเปน็ ตัวต้ังตวั ตีให้ผ้อู น่ื ทาในสงิ่ ใหม่ ๆ เช่นกนั ผทู้ ี่มีทักษะในการบริหารจัดการ สามารถวางแผน งานและจัดลาดับความสาคัญของส่ิงต่าง ๆ ได้ดี รู้ว่า อะไรควรทาก่อน อะไรควรทาทีหลัง มคี วามสามารถในการทางานหลายอย่างในเวลาเดียวกัน และสามารถทางาน เสรจ็ ตรงเวลา อกี ทั้งยงั มคี วามสามารถในการประสานงานกับผอู้ ่ืนได้ดี ผู้ท่ีสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และบุคคลได้ดี เป็น คนเรียนรู้เร็ว ไม่ยึดติดกับตัวเอง พร้อม เปดิ รบั ความคดิ ใหม่ ๆ เสมอ จึงไม่กลวั ที่จะลองทาส่ิงท่ีแตกต่าง และสามารถจดั การกับความเปลยี่ นแปลงได้ดี

ใบงานกิจกรรมแนะแนว หน่วยการจดั กิจกรรมพฒั นาตนพัฒนาชาติ 77 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6ชื่อ-สกุลนักเรียน...............................................................................ชั้น ม.6/..........เลขที่........... ใบงาน เรอ่ื ง คิดสรรคส์ ร้าง1. ใหล้ ากเส้นตรงผ่านวงกลมทกุ วง โดยใช้เส้นไม่เกิน 4 เส้น2. 3+3 = ? 3. มีรปู สเี่ หลย่ี มจตุรัสก่ีรปู

78

ใบความร้กู ิจกรรมแนะแนว หนว่ ยการจัดกจิ กรรมพัฒนาตน พฒั นาชาติ 79 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ใบความรู้ เร่อื ง บุคคลทีป่ ระสบความสาเรจ็วกิ รม กรมดิษฐ์ ผู้ก่อต้ังและประธานบริหารบริษัท อมตะคอร์ปอเรชัน จากัด (มหาชน) เจ้าของโครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร พร้อมท้ังมีบริษัทในเครืออมตะอีกหลายแห่งรวมถึงท่ีอยู่ในเวียดนามด้วย เขาพลิกผันตัวเองจากครอบครัวทท่ี าอาชีพคา้ ขายในจงั หวัดกาญจนบรุ มี าส่เู จา้ ของอาณาจกั รนคิ มอตุ สาหกรรม ขณะท่ีเรยี นชน้ั ประถม 1 กเ็ ริม่ ทาการค้าขายแล้ว เปน็ การขายถัว่ คั่วที่เขาทาเรอ่ื ยมาจนถึงประถม3 ต่อมาก็ไปรบั ขนมปงั และลูกอมมาขายควบคู่ไปดว้ ยเลย ซง่ึ วิกรมนนั้ มีความฝันท่ีอยากจะมกี จิ การเปน็ ของตัวเองต้ังแต่เดก็ และดว้ ยความที่เขาตอ้ งควบคุมคนงานมาต้ังแตเ่ ดก็ ๆ จึงทาใหร้ ูจ้ กั การวางตัวใหน้ า่ เช่อื ถอื เพ่ือจะได้สามารถควบคุมคนหมู่มากได้ กระทั่งไดร้ บั ทุนการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี จากรฐั บาลไตห้ วนั เขาก็เริม่ ทาธรุ กิจแบบจริงจงั มากข้ึนดว้ ยการนาเข้าอะไหล่วทิ ยุ, โทรทศั น์ และเคร่อื งสบู น้า จากประเทศไตห้ วนั เข้ามาขายในไทย และกไ็ ดน้ าสินคา้จาพวก เคร่อื งหนัง, ทองรปู พรรณ และเมลด็ พนั ธุ์ตา่ งๆ กลบั ไปขายในไตห้ วนั จนสร้างรายไดใ้ หเ้ ขาเปน็ กอบเป็นกา เหตุผลทวี่ กิ รม ตอ้ งดิน้ รนทามาคา้ ขายแบบน้ีกเ็ พราะเขามีปัญหากับพ่อ ทาให้พ่อไมส่ ่งเสยี จงึ ต้องพยายามหาทางสง่ เสียตวั เอง และในท่สี ุดเขาก็เรียนจบปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แห่งชาตไิ ตห้ วนั สิง่ ท่วี กิ รมไดเ้ รยี นรมู้ าตัง้ แต่เด็กน้ัน ชว่ ยหลอ่ หลอมจนมาถงึ วันที่เขาเปิดบริษทั ของตวั เอง จากบรษิ ัทส่งออกสินคา้ ระหว่างประเทศ, ธรุ กิจคา้ ส่งอาหารอยา่ งทูนา่ , ผลิตอาหารกระป๋องส่งขายต่างประเทศ จนมาถงึโรงงานผลิตอาหารท่ีเป็นจุดเร่ิมตน้ ของธรุ กจิ นิคมอตุ สาหกรรม จนมาเปน็ บรษิ ัทอมตะ คอรป์ อเรชัน จากัด(มหาชน) ซ่ึงเป็นบรษิ ทั พัฒนาและจดั การด้านนคิ มอุตสาหกรรม หรอื เรยี กงา่ ยๆ ก็คอื เปน็ การเปิดพื้นทใี่ หผ้ ู้ท่ีสนใจเชา่ ทาเปน็ โรงงานอตุ สาหกรรม โดยในนคิ มอตุ สาหกรรมจะมสี ง่ิ อานวยความสะดวกที่ อาทิ บ้านพัก หรอื อพาร์ทเมนต์ และส่ิงอุปโภคบริโภคต่างๆ ซง่ึ บริษัทอมตะมีนิคมอุตสาหกรรมหลกั ๆ 3 แห่ง คือ อมตะนคร จังหวดั ชลบรุ ี,อมตะซิตี้ จังหวดั ระยอง และอมตะซิตี้ เบยี นหวั ที่อยู่ในประเทศเวียดนามตนั ภาสกรนที (ตนั โออชิ )ิ เขาเติบโตมาในครอบครวั ทีย่ ากจน เร่ิมต้นสร้างทกุ อย่างจากจุดที่เรียกว่า...ศูนย์เขาเรม่ิ ตน้ จากการเป็นพนกั งานขายของ แบกของ กินเงินเดือนไมถ่ งึ พันบาท สกู่ ารบรหิ ารงานธุรกจิ ระดบั พนั ลา้ นในเครอื โออิชกิ รปุ๊ ไมว่ ่าจะเปน็ สตดู โิ อถา่ ยภาพแต่งงาน, โออิชิ, โออชิ ิ กรีนที, ฯลฯ โดยกลยทุ ธ์ทางธุรกจิ ของเขา

80ไมไ่ ดม้ ีปรญิ ญาด้านการตลาดจากสถาบนั ใดมาการันตี แตเ่ ขาเปน็ นกั ธรุ กิจท่ีเป็นทั้งนักคิด นกั ถาม นักวางแผนนักการตลาด ทปี่ ระสบความสาเร็จในถนนสายธรุ กิจไดอ้ ย่างไมเ่ ปน็ รองใครจากพนักงานกินเงินเดอื นไมก่ ีร่ ้อย จนมีอาณาจกั รภายใต้แบรนดโ์ ออชิ ิ สูค่ วามเปน็ มหาชน ตัน ภาสกรนที บอกว่า...จดุ เริ่มต้นของเขา คอื จดุ ท่ใี คร ๆ กเ็ ริ่มตน้ ได้“พอเรียนจบมศ.3 อายุ 17 ปี ผมตัดสนิ ใจออกมาทางานเลย ผมเปน็ คนเรยี นหนงั สอื ไมเ่ ก่ง และมจี ิตใจอยากเป็นนักธุรกิจ ตอนเด็ก ๆ เห็นคนทางานแลว้ อยากไปทา เวลาปดิ เทอมผมจะไปทางานช่วยเสิร์ฟบะหม่ี ไปชว่ ยเขาลวกบะหม่ี ไปขายเฉากว๊ ย เลี้ยงไก่ยงั เคยเลย มีญาติของเพ่อื นเขาเลย้ี งไก่ เราก็ขอไปดูไปช่วย ชอบทางาน มีความสขุในการทางาน ไมเ่ คยคดิ ว่าเหนือ่ ย ทาไดเ้ รอ่ื ย ๆ ในวัย 17 ปี กค็ ่อนขา้ งคดิ ต่างจากวยั รุ่นท่วั ไปแล้ว ซึ่งวยั เทา่ นส้ี ว่ นใหญก่ าลงั เท่ียวเลน่ ผมเปน็ คนรูปไม่หลอ่ พ่อไม่รวย เรียนไม่เก่ง ถา้ ผมยังทาตัวเท่ยี วเลน่ วนั นีผ้ มกแ็ ย่สิ สิง่ เดยี วท่ีผมมีคอื ต้องต้ังใจทางานใหด้ ีกว่าคนอน่ื ...ตอนผมอายุ 17 ปี ผมรู้สึกวา่ สู้เพือ่ นไม่ได้ แพเ้ พ่ือนเดด็ ขาดเลย ผมบอกเพื่อนว่า ผมไมเ่ รียนแลว้ ผมจะออกไปทาธรุ กจิ ก 10 ปีขา้ งหนา้ ผมจะมาพบเพอ่ื น ๆ ใหม่ 10 ปยี งั ไม่สาย เหมอื นหนงั จนี ไหม ดูหนังมากไปหนอ่ ย แตเ่ ป็นอยา่ งน้ันจรงิ ๆ พออีก 10 ปี ผมกลบั ไปหาเพ่อื น ๆ ท่ีสนิทกัน เพ่ือนทผ่ี มรสู้ กึ ว่าตอนน้ันเราสูเ้ ขาไม่ได้ เราเป็นบ๊วยอยคู่ นเดียวกลับไปกย็ ังสเู้ ขาไม่ไดอ้ ยนู่ ะ บางคนเขามธี รุ กจิ ใหญก่ วา่ ผมแต่วา่ ผมดีกว่าเดิมเยอะ วนั ท่ีผมกลับไป ผมไม่ใชท่ ี่หนง่ึ แต่ผมไม่ไดบ้ ๊วยแล้วผมมีธรุ กิจเป็นของตัวเอง แตอ่ ย่างนอ้ ยถ้าวนั น้นั ผมไมส่ ู้ ผมไม่มวี ันน้ี”“โปรช้าง” หรอื ธงชัย ใจดี นาทีน้ีน้อยคนนักที่จะไม่รู้จัก “โปรช้าง” หรือ ธงชัย ใจดี นักกอล์ฟเบอร์หนึ่งขวัญใจชาวไทยหนุ่มใหญ่ ผิวเข้ม ชอบย้ิมให้เห็นฟันขาว เขาเป็นหน่ึงในนักกอล์ฟมืออาชีพ และคนไทยคนแรกที่มีโอกาสเข้าไปแข่งขันในรายการเอเช่ียนทวั ร์ และพีจีเอยูโรเปีย้ นทัวร์ รวมทั้งเดินสายโชวว์ งสวงิ ในกอลฟ์ รายการใหญ่ๆ ระดบั โลก “โปรช้าง” มีภูมิลาเนาอยู่ท่ีจังหวดั ลพบุรี เขาเริ่มเลน่ กีฬากอล์ฟมาตั้งแต่อายุ 16 ปี แต่เพิ่งเทิร์นโปรขึ้นเปน็ มืออาชพี ในวยั ประมาณ 30 ปี ปัจจุบนั ธงชยั กา้ วข้ึนเปน็ นกั กอล์ฟมือวางอนั ดบั 86ของโลกธงชัย มีรายไดไ้ ม่ตา่ กว่าปีละ 7-8 ล้านบาท ตลอดระยะเวลาการเลน่ กอล์ฟมืออาชีพนี้ เขาสามารถสะสมเงนิรางวัล และเงินสนับสนนุ จากสปอนเซอรร์ ายการตา่ งๆ รวมมลู ค่าประมาณ 100 กวา่ ล้านบาท

81“ธงชัย เป็นตัวอย่างนักกอล์ฟมืออาชีพที่มีความมุ่งม่นั และมคี วามพยายามสูง เขาใส่ใจในการเรียนรู้ และพฒั นาตัวเองตลอดเวลา นับว่า ธงชัย หรือ โปรช้าง เป็นนักกอล์ฟอาชีพท่ีสร้างผลงานได้ดี จากการเข้าแข่งขันกอล์ฟรายการต่างๆ ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ จนไดร้ างวัลนกั กอล์ฟหมายเลขหนึง่ ของเอเชียกอ่ นขึ้นแท่นเป็นนักกอล์ฟ 100 ล้านในวันนี้ ธงชยั เริ่มต้นเรยี นรกู้ อล์ฟในฐานะเด็กเก็บลูกขอบสนาม เทดดี้ เร่มิ ใช้ไม้กอล์ฟอันแรกด้วยการประดิษฐ์เองจากไม้ไผ่ และเมื่อมีโอกาสเล่นกอล์ฟจริง เขาจึงมุ่งมั่นในการพัฒนาตัวเองเพื่อปูทางสู่นักกอล์ฟมืออาชีพได้สาเร็จ แต่เขาก็รู้จักวางตัว และไม่หลงระเริงในความก้าวหน้าใส่ใจขยันฝึกซ้อมอยา่ งสม่าเสมอ

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หน่วยการจดั กจิ กรรมพฒั นาตน พัฒนาชาติ 82 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6ชอื่ -สกุลนักเรียน...............................................................................ช้ัน ม.6/..........เลขที.่ .......... ใบงาน เร่ือง สู่ความสาเรจ็จากการอา่ นเรื่องราวของบคุ คลตวั อย่างที่ประสบความสาเร็จนักเรยี นคิดว่า แตล่ ะคนมีคณุ ลกั ษณะ/ คณุ สมบตั ิอะไรบ้างท่ีช่วยให้เขาประสบความสาเรจ็ ในชวี ิต1. คณุ วกิ รม ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………2. คุณตนั ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………3. โปรช้าง ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………

ใบงานกิจกรรมแนะแนว หนว่ ยการจดั กจิ กรรมพฒั นาตน พฒั นาชาติ 83 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6ชือ่ -สกุลนักเรยี น...............................................................................ชน้ั ม.6/..........เลขท.ี่ .......... ใบงาน เรือ่ ง ชีวติ ท่เี ป็นสขุ และเปน็ ประโยชน์ จากการดูคลปิ เรอ่ื ง ดร. กฤษณา และหมอเขยี ว1. ความรสู้ ึกของนกั เรยี นท่มี ีต่อ ดร. กฤษณา …………………………………………………………………………………………… ความรสู้ กึ ของนักเรียนทม่ี ีต่อหมอเขยี ว ……………………………………………………………………………………………… ความรสู้ กึ ของนกั เรยี นทมี่ ีตอ่ หมอเดนิ เท้า ………………………………………………………………………………………………2. ผู้ท่ไี ด้รับประโยชนจ์ ากงานของดร. กฤษณา มีใครบา้ ง ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ผทู้ ไี่ ด้รับประโยชน์จากงานของหมอเขยี ว มีใครบ้าง ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ผู้ทไ่ี ดร้ ับประโยชน์ จากงานของหมอเดินเทา้ มีใครบ้าง ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………

ใบความรกู้ จิ กรรมแนะแนว หน่วยการจัดกจิ กรรมพัฒนาตน พัฒนาชาติ 84 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6ใบความรู้ เร่ือง คณุ ลกั ษณะของคนไทยทพ่ี ึงประสงค์ภาพสงั คมไทยในสองทศวรรษหน้า1. ภาพอนาคตด้านเศรษฐกิจ ประกอบดว้ ยการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทวีความรนุ แรงยง่ิ ขนึ้ ภาคบริการขยายตัวในระดับสูงภาคอุตสาหกรรมปรบั สู่การใชเ้ ทคโนโลยกี ารผลิตขน้ั สงู มากขน้ึ เกดิ การวา่ งงานในกล่มุ แรงงานไร้ฝีมือจนถึงผ้บู ริหารระดับกลาง ความเหลอ่ื มลา้ ระหว่างเมอื ง กับชนบทขยายตวั เพม่ิ ขึน้2. ภาพอนาคตดา้ นสงั คม ไดแ้ ก่สังคมท่ีมีความเป็นเมืองและเป็นสากลมากข้ึน สังคมท่ีการคอรัปช่ันกระทาได้ยากขึ้น สังคมที่ตระหนักเร่ืองสิทธิมนษุ ยชนมากขน้ึ สังคมทใ่ี ห้ความสาคญั ดา้ นสิ่งแวดล้อมมากขนึ้ สังคมที่มุ่งสกู่ ารเรยี นรูม้ ากขน้ึ3. ภาพอนาคตดา้ นการเมือง กลา่ วคอืการเมืองไทยอยู่ใต้อิทธิพลการจัดระเบียบโลกใหม่ด้านการค้า การเมืองที่เป็นประชาธิปไตยสูงข้ึน การเมืองที่โปร่งใสมากขนึ้ภาพสงั คมไทยที่พงึ ประสงคใ์ นสองทศวรรษหนา้1. สังคมท่ีมีประสิทธิภาพ หมายถึง สังคมท่ีสามารถสร้างประโยชน์สูงสุดได้จากสิ่งท่ีมีอยู่ในสังคม ทั้งจากคนระบบ และสภาพแวดล้อม โดยให้มีการสูญเสียทรัพยากรในระบบให้น้อยที่สุด โดยสังคมท่ีมีประสิทธิภาพน้ันประกอบด้วย 2 องคป์ ระกอบ คือ คนในสังคมทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ และระบบในสังคมท่มี ปี ระสิทธภิ าพ2.สังคมที่มีความรู้เป็นฐานมีปัญญาเป็นแกนการพัฒนา 3. สังคมที่มีเอกภาพในความหลากหลาย4. สังคมที่ให้ความสาคัญตอ่ ส่งิ แวดล้อม 5. สังคมทภี่ มู ใิ จในความเป็นไทย6. สงั คมท่เี นน้ ชมุ ชนวถิ ี 7. สงั คมที่มีคุณธรรมจรยิ ธรรมคณุ ลักษณะของคนไทยทพ่ี งึ ประสงค์ สรุปไดด้ ังนี้

851. มิติด้านร่างกาย คอื ผู้ที่มสี ุขภาพร่างกายสมบรู ณ์แข็งแรง มีการพัฒนาการในด้านรา่ งกายและสติปัญญาอย่างสมบรู ณ์ตามเกณฑ์ในแตล่ ะชว่ งวยั2. มิติด้านจติ ใจ คือ ผูท้ ่ีรจู้ ักและเข้าใจตนเอง เขา้ ใจความรู้สึกของผู้อ่ืน เข้าใจสถานการณ์การเปลย่ี นแปลงและสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ รอบตัวไดเ้ ป็นอย่างดี3. มติ ิด้านความรู้ คอื เป็นผู้ที่สามารถรูล้ ึกในแกน่ สาระของวชิ า สามารถรู้รอบตัวในเชงิ สหวิทยาการ และเปน็ ผู้ท่ีสามารถรู้ไดไ้ กลโดยสามารถคาดการณ์เกย่ี วกบั อนาคตทจ่ี ะมาถงึ ได้4. มิตดิ ้านทักษะความสามารถ คอื ผู้ท่ีมที ักษะในด้านการคิด ทักษะการส่ือสาร ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทกั ษะทางสังคม ทักษะการอาชพี ทักษะทางสุนทรยี ะ และทกั ษะการจัดการที่ดี(ทม่ี า : เอกสารชุดโครงการวถิ ีการเรียนร้ขู องคนไทย ลาดับที่ 2 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ)

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หน่วยการจัดกิจกรรมพัฒนาตน พฒั นาชาติ 86 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6ชอ่ื -สกลุ นกั เรียน...............................................................................ช้ัน ม.6/..........เลขท่.ี ..........ใบงาน เรื่อง เพื่อชีวติ ท่ีเปน็ สขุ และเป็นประโยชน์1. จากการทากิจกรรมต่างๆในชั่วโมงท่ีผ่านมาให้นักเรียนสรุปว่า คุณลักษณะท่ีจะช่วยให้การดารงค์ชีวิตได้ อยา่ งเป็นสขุ และเป็นประโยชนใ์ นอนาคต มีอะไรบ้าง ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................2. จากคุณสมบัตติ าม ขอ้ 1 นักเรียนมีจดุ แข็ง(เอ้อื ต่อการพฒั นาตนเอง ใหส้ ามารถดารงชีวติ อยู่อย่างเปน็ สุข และเปน็ ประโยชน)์ อะไรบ้าง ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................3. จากคุณสมบตั ิตาม ขอ้ 1 นกั เรยี นมีจดุ ท่ีต้องพฒั นา(ไม่เอ้ือตอ่ การพฒั นาตนเอง ใหส้ ามารถดารงชวี ิต อยู่อย่างเป็นสุขและเป็นประโยชน์) อะไรบ้าง ..................................................................................................................................................... . ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................4. การวางแผนพัฒนาตนเอง (1)................................................................................................................................................... (2)................................................................................................................................................... (3)................................................................................................................................................... (4)................................................................................................................................................... (5)..................................................................................................................................................

87เฉลย ใบงาน คิดสรรค์สรา้ ง1.2. ถา้ ตอบ 6 ให้พยายามคดิ หาคาตอบอน่ื ๆที่หลากหลาย เช่น นักสองตัว จมูก เปน็ ต้น กระต้นใหน้ ักเรียน พยายามมองให้ได้ภาพท่ีหลากหลาย3. 34ความรเู้ พ่ิมเติมสาหรบั ครูความคดิ สร้างสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ นับเป็นความสามารถที่สาคัญอย่างหนึ่งที่มอี ยู่ในมนุษย์ทุกคน ซึ่งมีคุณภาพมากกว่าความสามารถด้านอน่ื ๆ และเป็นปจั จัยท่ีจาเป็นย่ิงในการส่งเสริมความเจริญกา้ วหนา้ ของประเทศชาติ ประเทศใดก็ตามท่ีประชาชนมีความคิดสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าใช้จิตนาการในการสร้างสรรค์ผลงานที่แปลกใหม่ สามารถแสวงหาพัฒนาและดึงศักยภาพเชิงสร้างสรรค์ของประเทศชาติออกมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้มากเท่าใด ก็ยิ่งมีโอกาสพัฒนาและเจริญก้าวหน้าได้มากเทา่ นั้น ความคิดสร้างสรรค์ เป็นลักษณะความคิดที่แปลกใหม่ซ่ึงอาจเกิดจากการคิดปรับปรุงเปล่ียนแปลงจากความคิดเดิม ให้เปน็ ความคิดท่ีแปลกใหม่และแตกต่างจากความคิดเดิม ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัยอันนาไปสู่การ คิดค้นสิ่งแปลกใหม่ด้วยการคิดดัดแปลง ปรุงแต่งจากความคิดเดิมผสมผสานกันเกิดส่ิงใหม่ ซึ่งรวมทั้งการประดษิ ฐ์คดิ คน้ สง่ิ ตา่ งๆ

88เป็นความสามารถในการมองเหน็ ความสมั พันธข์ องสิง่ ต่างๆ และกอ่ ให้เกิดความคดิ ใหม่ต่อเนอ่ื งกันไป เป็นความคิดท่ีหลากหลาย คดิ ไดก้ ว้างไกล หลายแง่หลายมุม เน้นท้ังปริมาณและคณุ ภาพ และเป็นความคิดทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ละมีคุณค่าองคป์ ระกอบทมี่ ีอิทธิพลตอ่ ความคิดสร้างสรรค์ 1. มคี วามคดิ ริเรม่ิ หมายถึง มคี วามคิดทแี่ ปลกใหม่ ไม่ซ้ากับใคร และแตกตา่ งจากความคดิ ธรรมดา 2. มีความคิดคล่องแคล่ว หมายถึง ปริมาณความคิดที่ไม่ซ้ากันในเร่ืองเดียวกันในด้านต่างๆ เช่น การเลอื กใชถ้ อ้ ยคา การเชื่อมโยงความสมั พันธ์ เปน็ ตน้ 3. มคี วามยดื หยนุ่ หมายถงึ ประเภทหรือแบบของการคดิ ที่อาจนาเสนอเร่ืองราวเดยี วกันในรูปแบบตา่ งๆ ที่ไม่ตายตัวหรือความสามารถในการดัดแปลงความรู้หรือประสบการณ์ที่มีอยู่ในเรื่องต่างๆ นามาเขียนเพ่ือเป็นประโยชน์ตอ่ ผูอ้ น่ื 4. มีความคิดละเอียดลออ หมายถึง ความคิดในรายละเอยี ดของเรื่องต่างๆ คิดอย่างมีข้ันตอน สามารถอธบิ ายใหเ้ ห็นภาพได้อย่างชัดเจน สามารถจดั แตง่ ความคดิ หลักใหน้ ่าสนใจยิง่ ขน้ึลกั ษณะของบุคคลทมี่ คี วามคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการคิดพลกิ แพลงแกป้ ญั หาตา่ งๆ ใหล้ ลุ ่วงดว้ ยดี ไม่ชอบทาตามอยา่ งผู้อนื่ โดยไมม่ ีเหตุผล มจี ิตใจจดจ่อและผกู พนั กบั งานและความอดทนอย่างทรหด เปน็ ผู้ไม่ยอมเลิกล้มอะไรงา่ ย หรอื เป็นนกั สูท้ ี่ดี มีความคดิ คานงึ หรือจินตนาการสูง มลี ักษณะความเปน็ ผูน้ า มลี กั ษณะข้ีเลน่ รน่ื เรงิ ชอบรับประสบการณใ์ หมๆ่ นับถือตนเองและเช่ือม่ันในตนเองสงู มีความคดิ อสิ ระและยดื หยุ่น ยอมรบั และสนใจสิง่ แปลกๆ มีความซับซอ้ นในการรบั รู้ กลา้ หาญกลา้ เผชิญความจรงิ ไมค่ ่อยเคร่งครดั กับระเบยี บแบบแผน ไม่ยดึ มน่ั (Dogmatism) ในส่งิ ใดสง่ิ หนึ่งจนเกนิ ไปชอบทางานเพ่ือความสขุ และความพอใจของตนเอง

89 มีอารมณข์ นั( ท่ีมา รศ. ดร. อารี พันธ์มณี. ความคิดสร้างสรรค์. ปริทัศน์จิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีท่ี 1 ฉบับท่ี 1มนี าคม พ.ศ. 2547. และ http://e-learning.aru.ac.th/tsh3/e_new/lesson2.html )

90

91

92

93


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook