Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว

แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว

Published by Rattikan Youtsook, 2018-10-23 11:15:09

Description: ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2561

Keywords: นางสาวรัตติกาล ยศสุข

Search

Read the Text Version

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13หน่วยการจดั กิจกรรม คลายปม

14 วัตถปุ ระสงคท์ ่ี 2. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นรจู้ กั การวางแผนด้านการศึกษา อาชพี ชีวิตและสงั คม 2.3 นกั เรียนสามารถคิดวเิ คราะหต์ ดั สินใจแกป้ ัญหาและวางแผนดา้ นชีวิตและสงั คม ระดบั ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เวลา 4 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 21. วัตถุประสงคช์ ้ันปี นักเรยี นร้แู ละเข้าใจกระบวนการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบสามารถวางแผนแก้ปญั หาของตน2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1. อธบิ ายกระบวนการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ 2.2 วางแผนแกป้ ัญหาของตนอยา่ งเปน็ ระบบ3. สาระสาคัญ การรู้จักประยุกต์ใช้กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อการจดั การกบั ปัญหาของตน จะชว่ ยให้นักเรียนมีแนวทางในการวางแผนแก้ปัญหาได้อยา่ งหลากหลายและเหมาะสม4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 กระบวนการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ 4.2 การวางแผนแกป้ ัญหาของตนอยา่ งเปน็ ระบบ5. ชิน้ งาน/ภาระงาน 5.1 ใบงาน เร่อื งคลายปม6. วธิ ีการประเมินผล 6.1 สังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม 6.2 ตรวจช้ินงาน/ภาระงานในแตล่ ะแผน7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 7.1. สารวจปัญหาท่ีตนกาลงั เผชญิ อยู่ 7.2. ศกึ ษาวิธกี ารแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ 7.3. วางแผนแก้ปัญหาของตนอยา่ งเป็นระบบ8. เวลา 4 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว เร่ือง คลายปม

หน่วยการจัดกจิ กรรม คลายปม ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 15 เวลา 4 ชวั่ โมง1. สาระสาคญั การรูจ้ กั ประยกุ ตใ์ ช้กระบวนการแก้ปญั หา เพอ่ื การจัดการกบั ปญั หาของตน จะช่วยให้นักเรยี นมีแนวทางในการวางแผนแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างหลากหลายและเหมาะสม2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1.อธบิ ายกระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ 2.2.วางแผนแก้ปญั หาของตนอย่างเปน็ ระบบ3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สารวจปญั หาท่ีตนกาลังเผชญิ 3.2 ศึกษาวิธกี ารแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบ 3.3 วางแผนแกป้ ัญหาของตนอยา่ งเป็นระบบ4. วธิ ีการจัดกจิ กรรม ชว่ั โมงท่ี 1 4.1 ครูนาเข้าสู่กิจกรรม โดยการตั้งคาถามว่า “ถ้าวันนี้เพ่ือนของเราคนหน่ึงหนีออกจากบ้านจะเป็นเพราะสาเหตุใด” แลว้ ให้ทกุ คนในห้องรว่ มกันแสดงความคิดเห็น (พบว่ามีคาตอบหลากหลายแตกต่างกันไป) 4.2 ครูติดภาพ ภูเขาน้าแข็ง บนกระดาน (ปิดส่วนที่อยู่ใต้น้าไว้) ให้นักเรียนดูและบอกว่ามองเห็นอะไรบ้าง (มองเห็นส่วนยอดของภเู ขา ท่มี ีขนาดเลก็ และข้อความ “หนีออกจากบา้ น” ) 4.3 แจกใบงาน เร่ืองของสม้ จี๊ด ใหน้ ักเรยี นอ่านและทาใบงาน 4.4 สุ่มนักเรียน 4-5 คน อ่านคาตอบในใบงานของตนเองให้เพ่ือนๆฟัง เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกัน 4.5 ครูเปดิ ภาพภูเขาน้าแข็งส่วนท่ีเหลือ ให้นกั เรยี นดู เปรียบเทยี บกับคาตอบของนักเรยี น 4.6 ครูอธบิ ายเช่ือมโยงภาพภูเขาน้าแข็งกับสาเหตกุ ารเกิดปัญหา ( แนวทางการอธบิ าย : ปัญหาไม่ได้เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เกิดจากองค์ประกอบหลายอย่างรวมกัน จนสุดท้ายจึงเกิดการปะทอุ อกมา เปรียบเหมอื นภเู ขาน้าแข็งท่โี ผลพ่ น้ น้าเพียง 20 ส่วน แตส่ ว่ นทีซ่ อ่ นอย่ใู ต้น้ามถี งึ 80 สว่ น หากเราไม่ใสใ่ จและฝึกสังเกต ก็จะทาให้เรามองเห็นเพียงส่วนยอดทโ่ี ผล่ข้ึนมา และละเลยกบั สาเหตุทแี่ ท้จริงของปัญหา ทาให้การเขา้ ใจปัญหาคลาดเคลอ่ื นได้ ดงั นั้นวิธกี ารมองปญั หาให้ทะลุ จึงต้องมองใหร้ อบด้าน ค้นหาสาเหตุท่ีซ่อนอยู่ให้พบ อย่ามองอย่างผวิ เผินแค่ผลที่แสดงออกมาซง่ึ เปน็ ปลายเหตเุ ท่าน้ัน หากมองไดอ้ ย่างนี้ เราก็จะแก้ปญั หาได้อย่างตรง ถูกต้องและมีประสทิ ธภิ าพ) 4.7 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากกิจกรรม (แนวคิดในการสรุปกิจกรรม การคน้ หาสาเหตุทแ่ี ทจ้ ริงของปญั หาจะทาใหเ้ ราเข้าใจและแก้ปญั หาได้อย่างตรง ถูกต้องและมปี ระสิทธิภาพ)

16 ชั่วโมงท่ี 2 4.8 ทบทวนกิจกรรมในครง้ั ท่ผี ่านมา 4.9 ครูชวนสนทนาเรื่องปัญหาที่นักเรียนแตล่ ะคนกาลังประสบอยู่ในขณะนแี้ ละเป็นส่ิงท่ีรบกวนจิตใจนักเรียนมาก ให้ทุกคนออกไปเขียนปัญหาของตนเองคนละ 1 ปัญหา บนกระดาน ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันจดั หมวดหมปู่ ญั หา 4.10 แบ่งกลุ่มนักเรียนตามจานวนปัญหาที่จัดไว้เป็นหมวดหมู่ โดยให้นักเรียนเลือกไปรวมกลุ่มกับเพ่ือท่ีมีปัญหาคลายคลงึ กนั ครูแจกใบงานเร่ือง ภูเขาน้าแข็ง ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันทาลงในกระดาษฟริปชารท์ ใหเ้ วลา 15 นาที แลว้ ออกมาติดไวห้ น้าชนั้ เรียน เพอื่ แลกเปลยี่ นเรยี นรูร้ ่วมกัน 4.3 ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปส่ิงทไี่ ด้เรียนรู้ (แนวคิดในการสรปุ กิจกรรม การคน้ หาสาเหตุที่แท้จรงิ ของปญั หาจะทาใหเ้ ราเข้าใจและแกป้ ัญหาได้อย่างตรง ถูกต้องและมปี ระสิทธิภาพ) ช่ัวโมงท่ี 3-4 4.4 ครูทบทวนสง่ิ ท่ีได้เรียนรู้จากการวเิ คราะหภ์ เู ขาน้าแข็ง 4.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายกระบวนการแก้ปัญหา ( ระบุปัญหา ค้นหาสาเหตุ หาทางเลอื ก วิเคราะห์ทางเลอื ก ตัดสนิ ใจเลอื ก ทบทวนและปรบั ปรงุ ) 4.6 แจกใบงาน เรื่อง คลายปม ใหน้ กั เรียนทุกคนทา 4.7 ขออาสาสมัครอา่ นใบงานของตนเองให้เพอื่ นๆ ฟงั 4.8 แจกใบความรู้ เรื่อง ปญั หาบททดสอบของชวี ิต ใหน้ กั เรียนอ่าน 4.9 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากกิจกรรม (แนวคิดในการสรุปกิจกรรม การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบต้องเริ่มต้นที่ การค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาต้องมองให้รอบด้าน ค้นหาสาเหตุท่ีซ่อนอยู่ให้พบ อย่ามองอย่างผิวเผินแค่ผลที่แสดงออกมาซ่ึงเป็นปลายเหตุเท่าน้ัน หากมองได้อย่างนี้ เราก็จะแก้ปญั หาได้อย่างตรง ถกู ตอ้ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ)5. ส่อื /อปุ กรณ์ 5.1 ใบงาน เร่อื ง เรอ่ื งของสม้ จดี๊ 5.2 ภาพภเู ขานา้ แขง็ 5.3 ใบงาน เร่ือง ภูเขานา้ แข็ง 5.4 ใบงาน เรอื่ ง คลายปม 5.5 ใบความรู้ เร่ือง ปัญหา...บททดสอบของชวี ิต 5.6 กระดาษฟริปชารท์ และปากกาเคมี6. การประเมินผล 6.1 วธิ กี ารประเมนิ 6.1.1 สังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 6.1.2 ตรวจใบงาน 6.2 เกณฑก์ ารประเมนิ 6.2.1 สังเกตการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

17เกณฑ์ ข้อความบ่งช้ีผา่ น มีความตั้งใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือกับการทางานกลุ่ม การร่วมอภิปรายแสดง ความคดิ เหน็ และสง่ งานตามกาหนดไมผ่ ่าน ขาดส่ิงใดสิ่งหนง่ึ 6.2.2 ตรวจใบงานเกณฑ์ ขอ้ ความบง่ ชี้ผา่ น นักเรยี นสามารถวางแผนแก้ปญั หาของตนเองได้ไม่ผ่าน นกั เรียนไมส่ ามารถวางแผนแก้ปญั หาของตนเองได้

18ใบงานกิจกรรมนะแนว หน่วยการจดั กิจกรรม คลายปม ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6ชื่อ-สกุลนักเรียน………………………………………………………ชน้ั ม.6/.........เลขท.่ี .........ใบงาน เร่อื ง เรอื่ งของส้มจีด๊ ส้มจี๊ด เป็นเด็กสาววัยรุ่น หน้าตาดี กาลังเรียนอยู่ช้ัน ม.6 โรงเรียนแห่งหน่ึง ท่ีโรงเรียนใครเขาก็มีโทรศัพท์มือถือกนั ท้งั นั้น โดยเฉพาะท่ีหอ้ งของสมจด๊ี จะมีก็แต่ตัวส้มจ๊ีดคนเดียวทยี่ ังไม่มโี ทรศพั ท์ใช้เลย ส้มจี๊ดขอพ่อกับแม่ทีไรก็บอกให้รอเร่ือยมา ส้มจ๊ีดไม่เข้าใจเลยว่าทาไมพ่อกับแม่ไม่ยอมซ้ือให้เสียที พอขอบ่อยๆ ก็เลยทะเลาะกับพ่อแม่ทุกที เมื่อไม่มีมือถือ ส้มจ๊ีดก็เลยต้องลงมาใช้โทรศัพท์โทรตอนท่ีพ่อกับแม่ขึ้นนอนแล้ววันหน่ึงแมล่ งมาพบว่าส้มจ๊ดี โทรศัพท์คุยกับเพ่ือนจนตี 1 ยังไม่เข้านอน ก็เลยดุส้มจ๊ีดแล้วไล่ให้ไปนอน เช้าขึ้นมาแม่เล่าให้พ่อฟัง ก็เลยโดนพ่อดุอีกรอบ ส้มจี๊ดเบ่ือมากเลย วันน้ันส้มจ๊ีดก็เลยโดดเรียนไปน่ังเล่นอยู่ที่หา้ งสรรพสินค้าใกล้บา้ น รอจนไดเ้ วลาเลกิ เรียนจงึ ได้กลับบา้ น อีก 2 วันต่อมา ครกู ็โทรเลา่ เร่ืองนใ้ี ห้พ่อแมฟ่ งั และเชญิ ไปพบท่ีโรงเรยี น กลับมาก็เลยเกิดเรอ่ื งใหญ่ สม้ จีด๊ โดนดุอยา่ งรุนแรง และโดนสั่งหา้ มไมใ่ ห้ไปไหนอีกเป็นเวลา1 เดือน แต่เจ้ากรรมวันเสาร์น้ีเจ้าต้นตาล เพื่อนร่วมห้องจะจัดงานวันเกิด ชวนให้ทุกคนไปนอนค้างท่ีบ้านด้วยนดั หมายกันแล้ว ส้มจ๊ีดก็เลยขอพ่อกับแม่ แต่พ่อกบั แม่ไม่อนุญาต ส้มจ๊ีดก็เลยทะเลาะกับพ่อแม่อีก คืนน้ันส้มจี๊ดเลยตดั สินใจหนอี อกจากบ้าน สม้ จด๊ี มีปญั หาอะไรบ้าง โปรดเขยี นลงในภูเขานา้ แข็ง ปญั หาที่เดน่ ชดั ของสมจ๊ดีสาเหตขุ องปญั หา

19ใบงานกจิ กรรมนะแนว หน่วยการจัดกจิ กรรมคลายปม ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6ใบงาน เร่อื งภูเขานา้ แขง็ ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันวเิ คราะห์ปัญหาท่ีได้รับมอบหมายในกลุ่ม ตามรูปแบบภเู ขาน้าแข็ง โดยทาลงในกระดาษทีไ่ ด้รบั ปญั หาท่ีเดน่ ชัดสาเหตขุ องปัญหา

20ใบงานกิจกรรมนะแนว หนว่ ยการจัดกจิ กรรมคลายปม ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6ใบงาน เรอ่ื ง คลายปม 1.ให้นักเรียนทบทวนตนเองในขณะนี้ว่า มีปัญหาใดบ้างที่กาลังรบกวนนักเรียนให้เกิดความไม่สบายใจวติ กกังวล ไม่มีความสขุ และนาปญั หาท่ีเด่นชดั นั้นมาทบทวนเพือ่ หาสาเหตแุ ห่งปญั หา ตามรูปแบบภูเขาน้าแข็ง ปญั หาท่ีเดน่ ชัดของฉันสาเหตขุ องปัญหา

21 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ว่ามีสาเหตุใดที่มีความสาคัญ และมีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะตอ้ งจัดการ และลองจัดลาดับในการจดั การ เพอ่ื ลดความรุนแรงของปญั หาสาเหตขุ องปญั หา วธิ กี ารจัดการ การคาดการณ์ ท า ไ ด้ ค ง ต้ อ ง ข อ ด้ ว ย ค ว าม ช่ ว ย เห ลื อ ตนเอง จาก(ระบุ)ลาดับท่ี 1ลาดับ ท่ี 2ลาดับท่ี 3ลาดบั ที่ 4ลาดับ ที่ 5 สรุปสงิ่ ทไี่ ด้เรียนรจู้ ากกจิ กรรม ............................................................................................................ ........................................................................................................... .......................................................................................................... ...........................................................................................................ใบความรกู้ ิจกรรมนะแนว หน่วยการจดั กิจกรรมคลายปม ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6

22ใบความรู้ เรื่อง ปญั หา...บททดสอบของชีวิต มนุษย์ทุกคนต่างก็ต้องเผชิญหน้ากับปัญหาต่างๆ อยู่เสมอ แต่ก็มิใช่ทุกคร้ังที่คนเราจะสามารถแก้ปัญหาข้อยุ่งยากใจนั้นได้ ฉะนั้น ถ้าเรารู้จกั วธิ ีการเผชิญหนา้ กับปัญหาอย่างฉลาด กจ็ ะเป็นด่านแรกท่จี ะทาให้ความยงุ่ ยากใจหรือทกุ ข์ใจน้อยลงได้ เราควรเผชิญหน้ากบั ปญั หา ดงั น้ี 1. เผชิญปัญหาอย่างเยือกเย็นและมีเหตุผล ไม่ควรกังวลกับปัญหาจนมากเกินไป แต่ควรจะพยายามควบคุมใจไมใ่ หก้ ระวนกระวาย ตงั้ สตแิ ล้วต้ังคาถามกับตนเองไวว้ ่า “เราควรปฏิบตั ิอยา่ งไร” 2. จัดการกับความกังวลใจ โดยการยอมรับมันเป็นอันดับแรก แล้วพยายามหาให้พบสาเหตุของความกังวลใจที่มากกว่าปกตินั้นอยู่ท่ใี ด เกิดจากอะไร เมอ่ื พบแลว้ จะไดจ้ ัดการได้ทนั ที เช่น กังวลวา่ จะเกิดเร่ืองโน้นเรื่องนี้ตามมา ทั้งๆ ท่ียังไม่มีอะไรเกิดข้ึน ดังน้ันการยึดม่ันอยู่กับคาวา่ ที่นี่ และเดี๋ยวน้ี ( HERE and NOW)จะชว่ ยใหเ้ ราลดความวติ กกงั วลกบั อนาคตทยี่ งั ไม่เกดิ ขึ้น หรืออดตี ทผี่ ่านไปแล้ว 3. มองปัญหาให้กระจ่าง ใช้ความคิดพิจารณาตัวปัญหาที่เผชิญหน้าท่านอย่างรอบคอบที่สุดพยายามมองให้กระจ่างทกุ แง่ทุกมุม อย่าลืมภาพภูเขานา้ แข็ง และเม่ือเห็นชอ่ งทาง จงลงมือทาหน้าที่ เพราะถ้าลังเลจะทาให้วติ กกงั วลมากขึน้ ความคิดแรกท่ดี ี ย่อมเปน็ ความคิดทด่ี ีที่สดุ จรงิ ๆ 4. ปัญหาเดิมๆ ถ้าเราสังเกตให้ดีจะพบว่า ปัญหาส่วนใหญ่เป็นเร่ืองเก่ากลับเขา้ มาใหม่ จงระลึกถึงแนวทางแกป้ ญั หาเกา่ ๆ ท่ีทา่ นเคยใช้มาแลว้ โดยปรบั แต่งให้ดีขนึ้ 5. บอกเล่า การแกป้ ัญหาน้ันอาจหมดไปอย่างมหศั จรรย์ หากท่านไดเ้ ล่าเรอื่ งอึดอัด คับแค้นใจ อันนั้นให้เพื่อน หรือผูอ้ ื่นที่ท่านไว้วางใจฟัง ถ้าท่านรู้จักเลือกผู้ท่ีเช่อื ถือได้ ไว้ใจได้ มีความคดิ ความอ่านดี ไม่เป็นคนเจ้าอารมณ์ ผ้อู ื่นย่อมมีโอกาสมองเหน็ ทางออกในการแก้ปัญหาได้ดีกว่าเจ้าของตวั ปัญหา เพราะไม่มีอารมณ์มาบังความคดิ ปญั หาบางอยา่ งแก้ได้ดว้ ยการใชข้ อ้ มลู ปญั หาบางอยา่ งแกไ้ ดด้ ้วยการใช้เวลา ปญั หาทกุ อยา่ งแก้ไดด้ ้วยการมใี ครสักคน… อยู่เคียงข้างและฟงั เราอยา่ งเข้าใจ หนว่ ยการจัดกิจกรรม มุมมอง

23วัตถปุ ระสงคท์ ่ี 3 การปรับตวั และการอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นอยา่ งเหมาะสมและมีความสุข3.1 นักเรียนมีทักษะการจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครียดระดบั ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 21. วตั ถุประสงค์ชน้ั ปี นักเรียนรู้จักใช้มุมมองเชิงบวก มองปัญหาอย่างรอบด้านและสมารถนามาใช้ในการจัดการกับปญั หา ในชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 บอกวิธกี ารมองปัญหาอยา่ งรอบดา้ น 2.2 บอกวิธีการนามาใช้ในการจัดการกับปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์3. สาระสาคัญ ปัจจัยสาคัญที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อปัญหาไปในทิศทางใดน้ันข้ึนอยู่ท่ีมุมมองของบคุ คล ดงั น้ันการเปลีย่ นมุมมองท่ีมีต่อปัญหาในชีวติ เป็นมมุ มองเชิงบวกจะชว่ ยลดความเครียดและสามารถจดั การกบั ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์4. สาระการเรียนรู้ 4.1 มุมมองเชงิ บวก 4.2 แนวทางการจัดการกบั ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์5. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 5.1 ใบงาน เรื่องเมอ่ื ฉันเปลีย่ นมุมมอง6. วิธกี ารประเมนิ ผล 6.1 สังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม 6.2 ตรวจใบงานในแต่ละแผน7. กจิ กรรมการเรียนรู้

24 7.1 ศึกษาวิธีมองปัญหาอย่างรอบด้านจากกรณีศึกษาศึกษาวิธีมองปัญหาอยา่ งรอบด้านจากกรณศี ึกษา 7.2 ระดมสมองฝึกการมองปญั หาอย่างรอบด้านจากปญั หาท่เี กิดขึน้ ในชวี ิตของนักเรยี นและรว่ มกนั หาแนวทางในการจัดการกับปญั หาอย่างสร้างสรรค์8. เวลา 4 ชั่วโมง

25 แผนการจัดการเรยี นร้กู ิจกรรมแนะแนว เรือ่ ง การจัดการกบั ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์หนว่ ยการจัดกิจกรรม มมุ มอง ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 4 ชัว่ โมง1. สาระสาคัญ ปัจจัยสาคัญที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อปัญหาไปในทิศทางใดนั้นขึ้นอยู่ท่ีมุมมองของบุคคล ดงั นัน้ การเปลยี่ นมุมมองท่ีมตี ่อปัญหาในชีวิตเป็นมุมมองเชิงบวกจะชว่ ยลดความเครียดและสามารถจัดการกับปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 บอกวธิ ีการมองปัญหาอย่างรอบดา้ น 2.2 บอกวธิ ีการนามาใช้ในการจดั การกบั ปญั หาอย่างสร้างสรรค์3. สาระการเรียนรู้ 3.1 มุมมองเชิงบวก 3.2 แนวทางการจัดการกับปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์4. วธิ กี ารจดั กจิ กรรม ชั่วโมงที่ 1 4.1 ครูชวนนกั เรยี นสนทนาเรอ่ื งชวี ิตท่ผี า่ นมาและเรือ่ งราวชีวิตทคี่ าดหวังไวใ้ นอนาคตเมื่อจบม.6 4.2 ใหน้ ักเรยี นชมวดี ีทศั น์ เร่อื งมมุ มอง แลว้ ชวนนักเรยี นอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้ - พ่อชวนใหล้ ูกชายไดค้ ิดอยา่ งไรกบั ชีวติ ท่พี ลาดหวังจากการสอบเข้ามหาวทิ ยาลยั - นกั เรียนไดเ้ รียนรอู้ ะไรจากรูปแบบการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั - นักเรยี นรู้สึกอยา่ งไรกับเรื่องมุมอง - นกั เรยี นสามารถนาข้อคิดจากเรอ่ื งมมุ มองไปใชใ้ นชวี ิตได้อย่างไร ฯลฯ 4.3 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปสง่ิ ท่ไี ด้เรียนรู้

26 ชั่วโมงที่ 2 4.4 ครูทบทวนกิจกรรมจากช่ัวโมงท่ี 1 4.5 ครูนาเสนอสื่อ Power Point เร่ืองฝัน ให้นักเรียนดูและร่วมกันอภิปรายความรู้สึกและข้อคดิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ 4.6 แจกใบความรเู้ รอื่ ง ปญั หาคอื โอกาส ใหน้ กั เรยี นศึกษา 4.7 ใหน้ กั เรียนชม Clip เพลงเพลงเธอผไู้ มแ่ พ้ 4.8 ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ สิง่ ที่ได้เรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 3 4.9 ครูทบทวนกิจกรรมและสิง่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรูจ้ ากสอื่ เรอื่ งมุมมองและ เรือ่ งฝัน 4.10 แจกใบงาน เรอ่ื งเปล่ยี นวิกฤตเิ ป็นโอกาส ใหน้ กั เรยี นทา 4.11 ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่มๆ ละ 4-6 คน นาใบงานของตนเองไปร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ บั เพื่อนๆในกลุ่ม และให้คัดเลือกวิธีคิดท่ีชอบทีส่ ดุ มาข้อละ 1 วธิ ี และออกมานาเสนอหนา้ ห้องที่ละกล่มุ 4.12 ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปสิ่งท่ไี ด้เรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 4 4.13 ครทู บทวนส่ิงท่ไี ด้เรียนรจู้ ากชั่วโมงที่ผ่านมา 4.14 ให้นกั เรยี นชมสื่อ Power Point เร่ืองเล่าของวงกลมและสามเหลี่ยม และร่วมกันอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ 4.15 แจกใบงาน เรื่องเมื่อฉันเปล่ียนมุมมอง ให้นักเรียนทา และขออาสาสมัครอ่านใบงานของตนเองใหเ้ พือ่ นๆ ฟัง 4.15 ครูและนกั เรียนสรุปสง่ิ ที่ได้เรียนรเู้ รียนรู้ ( แนวคิดในการสรุป :ปัญหาเกดิ ขึน้ ไดก้ ับคนทุกคน แตไ่ ม่วา่ สถานการณ์ในชีวติ จะเลวร้ายอยา่ งไรก็ตาม เราจะพบทางออก เสมอถ้าเรามีสติ การเปลี่ยนมุมมองที่มีตอ่ ปญั หาในชีวิตเป็นมุมมองเชิงบวกจะชว่ ยลดความเครยี ดและสามารถจดั การกับปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์)5. สือ่ /อปุ กรณ์ 5.1 ใบความรู้ เรอ่ื ง ปัญหาคอื “โอกาส”

27 5.2.ใบงาน เร่ือง เปลย่ี นวิกฤตเิ ปน็ โอกาส 5.3 ใบงาน เรื่องเม่อื ฉนั เปลยี่ นมมุ มอง 5.4 สือ่ วดี ที ศั น์ เรอ่ื ง มุมมอง 5.5 ส่อื Power Point เรอื่ ง ฝนั 5.6 ส่ือ Power Point เร่ืองเร่อื งเลา่ ของสามเหลย่ี มและวงกลม 5.7 สื่อ clip เพลงเธอผู้ไมแ่ พ้6. การประเมินผล 6.1 วธิ กี ารประเมนิ 6.1.1 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม 6.1.2 ตรวจใบงาน6.2 เกณฑ์การประเมนิ 6.2.1 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ ขอ้ ความบง่ ช้ี ผ่าน มีความต้ังใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือกับกลุ่มในการอภิปรายแสดงความ คดิ เห็น และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสิง่ ใดส่งิ หนง่ึ

286.2.2 ตรวจใบงาน ขอ้ ความบ่งชี้ เกณฑ์ ทาใบงานครบและถกู ตอ้ ง ผา่ น ขาดส่ิงใดสิ่งหน่งึ ไมผ่ ่าน

ใบความร้กู ิจกรรมแนะแนว หนว่ ยการจัดกจิ กรรมมุมมอง 29 ใบความรู้ เรื่อง ปญั หาคือ “โอกาส” ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ดุ๊ค อิลงิ ตัน นักดนตรีแจ๊ส ผมู้ ีช่ือเสียงท่านหนึ่งของอเมรกิ ากล่าวว่า “ปัญหาคือ โอกาสท่ีคุณจะได้ทางานอย่างดีที่สุด” ปัญหาช่วยสะท้อนให้เรารู้ว่าต้องมีการปรับปรุงแก้ไขสภาพบางอย่างให้กลับสู่มาตรฐานท่ีถูกต้อง จาเป็นต้องมีการลงมอื ปรับปรุงส่วนทีบ่ กพร่องเสียใหม่ เมอื่ มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขส่วนท่ีบกพรอ่ งแลว้ ผลที่ตามมาคือการเปล่ียนแปลงเชิงสร้างสรรค์ ทาให้เกดิ ความก้าวหน้าต่อเนอื่ งไป ปัญหาจึงเป็นตวั สรา้ งโอกาสให้เกดิ การพฒั นาได้เปน็ อยา่ งดี โดยปกติคนเราจะทางานหรือประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งเดิม ๆ ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง หากไม่มีบางส่ิงบางอย่างมา “กระตุ้น” ให้เกิดการฉุกคิดและทบทวนสิ่งเดิมท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมา เปรียบเสมือนการขับรถออกจากบ้านตามเส้นทางเดมิ ท่ีเคยชินอย่ทู ุกวนั จนกระทัง่ มีวันท่รี ถตดิ มากในเส้นทางนัน้ ทาให้เราต้องคิดค้นหาเส้นทางอื่น ๆ ที่จะว่งิ ไปสู่จุดหมาย ซ่งึ อาจทาให้เราค้นพบเส้นทางใหม่ท่ีเรว็ กว่าเส้นทางเดิมก็ได้ วิลเล่ียม เช็คสเปียร์บอกไว้ว่า “คนฉลาดไม่เคยน่ังและร้องไห้หาส่ิงที่สูญเสียไป แต่เขาจะหาวิธีการปรับแต่งแก้ไขความเสียหายนั้นอย่างร่าเริง” มุมมองเหล่านี้เป็นส่ิงสาคัญเบ้ืองต้นท่ีเราต้องเปล่ียนแปลง ก่อนจะก้าวไปสู่การแก้ไขปัญหาในขั้นตอนต่อ ๆ ไป เพราะโลกทัศน์ที่ถูกต้องจะนาไปสกู่ ารตอบสนองท่ีถกู ตอ้ งต่อปญั หา เม่อื ประกอบกบั การเลือกใชแ้ นวทางการแก้ไขปญั หาทีถ่ ูกวธิ ีแล้ว ไม่มีวิกฤตใดทย่ี ากเกนิ กว่าความสามารถของเราในการจัดการไดอ้ ีกต่อไปศ.ดร.เกรยี งศกั ดิ์ เจริญวงศ์ศกั ด์ินักวชิ าการอาวุโส ศูนย์ศกึ ษาธุรกิจและรฐั บาล มหาวทิ ยาลยั ฮารว์ ารด์

ใบงานกิจกรรมแนะแนว หนว่ ยการจัดกิจกรรมมมุ มอง 30 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6ช่ือ-สกลุ นักเรียน.........................................................................................ชั้น ม.6/..........เลขท่ี...........ใบงาน เรื่อง เปล่ยี นวิกฤตเปน็ โอกาสคาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นแต่ละคนมองสถานการณท์ ีก่ าหนดให้ในเชงิ บวก และเสนอทางออกท่สี ร้างสรรค์ 1.สอบเข้ามาหาวิทยาลัยปิดของรฐั ไม่ได้ ความคดิ เชงิ บวก........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ทางออกทสี รา้ งสรรค์........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. ฝนตกและรถติดมากขณะเดินทางกลับบา้ น ความคดิ เชงิ บวก........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ทางออกทสี รา้ งสรรค์........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 3.นักเรียนถกู ลดคา่ ใช้จ่ายส่วนตวั เมือ่ พอ่ แม่ ตกงาน ความคดิ เชงิ บวก........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ทางออกทสี ร้างสรรค์........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หน่วยการจัดกจิ กรรมมมุ มอง 31 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6ชือ่ -สกลุ นกั เรียน.........................................................................................ชั้น ม.6/..........เลขท่ี...........ใบงาน เรื่องเมอื่ ฉันเปลย่ี นมุมมองจากการได้ชมส่ือเรอื่ ง มุมมอง ฝัน และเร่ือของวงกลมและสามเหลี่ยม ช่วยให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้และเข้าใจชีวิตอยา่ งไรบา้ ง และนกั เรยี นสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตของตนเองไดอ้ ยา่ งไร……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

32หนว่ ยการจดั กิจกรรม รูปแบบการส่อื สารแบบ TAวตั ถปุ ระสงคท์ ่ี 3 การปรับตวั และอย่รู ่วมกบั ผูอ้ ืน่ อยา่ งเหมาะสมและมีความสขุ ภาคเรียนที่ 2 3.2 นกั เรยี นมีทักษะการสื่อสารและสร้างสัมพนั ธภาพระดบั ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 61. วตั ถปุ ระสงค์ชัน้ ปี นักเรียนรู้จกั รูปแบบการสื่อสารเพือ่ สรา้ งสมั พนั ธภาพตามแนวคิด TA และ สามารถเลอื กรปู แบบเพ่อื การสื่อสารได้อย่างเหมาะสม2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธบิ ายรปู แบบการสอ่ื สารเพ่ือสร้างสมั พนั ธภาพตามแนวคิด TA 2.2 แสดงการส่ือสารเพือ่ สรา้ งสมั พันธภาพกบั ผูอ้ ืน่3. สาระสาคญั การศกึ ษาและวเิ คราะห์รูปแบบการสอ่ื สารของตนตามแนวคดิ TA จะช่วยใหน้ ักเรียนสามารถเลือกใช้รปู แบบการส่อื สารไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ อนั นาไปสู่การสร้างสัมพนั ธภาพท่ดี ี4. สาระการเรียนรู้ 4.1. รูปแบบการสอ่ื สารเพื่อสรา้ งสมั พันธภาพตามแนวคดิ TA 4.2. ฝึกการส่อื สารเพอื่ สรา้ งสัมพันธภาพกบั ผู้อื่น5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 5.1 ใบงานเรอ่ื ง ช่วยกันคิด (1) 5.2 ใบงานเรอื่ ง ชว่ ยกันคดิ (2) 5.3 แบบสารวจบคุ ลิกภาพ ตามทฤษฎีการวเิ คราะห์การตดิ ต่อสมั พนั ธ์ ( TA )6. วธิ กี ารประเมนิ ผล 6.1 สังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม 6.2 ตรวจใบงาน/ภาระงานในแต่ละแผน7. กิจกรรมการเรยี นรู้ 7.1 วิเคราะหร์ ปู แบบการสื่อสารเพ่ือสรา้ งสมั พนั ธภาพตามแนวคดิ TA จากกรณศี กึ ษา 7.2 ฝกึ การส่ือสารตามรูปแบบทีเ่ หมาะสมเพื่อสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น8. เวลา 4 ชว่ั โมง

33 แผนการจดั การเรียนรกู้ ิจกรรมแนะแนว เวลา 4 ชัว่ โมง เร่ือง รปู แบบการส่อื สารแบบ TAหน่วยการจดั กิจกรรม รูปแบบการสือ่ สารแบบ TA ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 61. สาระสาคญั การศึกษาและวิเคราะห์รปู แบบการสื่อสารของตนตามแนวคิด TA จะช่วยให้นกั เรียนสามารถเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างสอดคล้องเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ อันนาไปสู่การสร้างสมั พันธภาพท่ดี ี2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธบิ ายรูปแบบการสอื่ สารเพ่อื สรา้ งสัมพันธภาพตามแนวคดิ TA 2.2 แสดงการส่อื สารเพ่อื สรา้ งสัมพันธภาพกับผอู้ ่นื3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 วเิ คราะหร์ ปู แบบการสอื่ สารเพ่ือสร้างสมั พนั ธภาพตามแนวคิด TA 3.2 ฝกึ การสอ่ื สารตามรปู แบบทเ่ี หมาะสมเพอ่ื สรา้ งสมั พันธภาพกบั ผู้อื่น4. วธิ ีการจัดกิจกรรม ชว่ั โมงที่ 1 4.1 ครูชวนนักเรียนร่วมกันคิดหาสาเหตุความขัดแย้งกันระหว่างตนเองกับผู้อื่นว่าเกิดจากอะไรบ้างและขอให้ยกตัวอย่างท่ีเคยเกิดกับตนเอง เชน่ ความขัดแยง้ กับเพ่อื น ความขัดแย้งกับครู ความขัดแยง้ กับพอ่ แม่ ฯลฯ 4.2 แจกใบงานเรื่อง ช่วยกันคิด (1) ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่าสถานการณ์ใดจะนาไปสู่ความขดั แย้ง และสถานการณ์ใดท่ีสื่อสารได้สอดคล้อง เพราะเหตใุ ด (แนวทางในการสนทนา ชวนให้นักเรียนตระหนักว่าสาเหตุสาคัญประการหน่ึงของความขัดแย้งเกิดจากการสื่อสารท่ีไม่สอดคล้องกันทาให้ไม่สามารถทาความเข้าใจกันได้ เป็นเรื่องปกติที่คนเราอาจมีความคิดท่ีไม่ตรงกันแต่ถ้าเราสามารถสื่อสารกันได้อย่างสอดคล้องความขดั แยง้ ก็จะลดลง) 4.3 แจกแบบสารวจบุคลิกภาพ ตามทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ ( TA ) ครูแจ้งจดุ ประสงค์และอธิบายวธิ ีการทาแบบสารวจ แล้วใหน้ ักเรียนทา หมดเวลาส่งคืนให้ครู (ครูยังไมเ่ ฉลยผลจากแบบสารวจ) ชว่ั โมงท่ี 2 4.4 ทบทวนสงิ่ ท่ีไดเ้ รียนรูจ้ ากชั่วโมงทผ่ี ่านมา 4.5 แจกใบความรู้ เรื่องการสอ่ื สารตามรปู แบบ TA ให้นกั เรียนศึกษา ครูอธบิ ายเพมิ่ เติม 4.6 แจกผลการสารวจจากแบบสารวจบุคลิกภาพ ตามทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ (TA ) คืนใหน้ ักเรียน และรว่ มกนั อภปิ รายผล เพื่อสะทอ้ นใหน้ กั เรยี นรจู้ กั ตนเอง 4.7 ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั สรปุ สิ่งที่ได้เรยี นรู้จากกจิ กรรม

34 ชว่ั โมงที่ 3 4.8 ทบทวนการเรียนรู้กิจกรรมในชัว่ โมงทผี่ า่ นมา 4.9 แจกใบงานเรื่อง ชว่ ยกันคิด (2) ใหน้ ักเรียนทาและนาเสนอ 4.10 แบง่ นักเรียนออกเป็น 4 กลมุ่ มอบหมายให้ทุกกลุ่มช่วยกันคิดสถานการณ์การสื่อสารอย่างสอดคล้องเพื่อสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลต่างๆ ในชีวิตประจาวัน เขียนบทสนทนาท่ีแสดงถึงการสื่อสารอยา่ งสอดคลอ้ งและเตรียมออกมาแสดงบทบาทสมมติ กลุม่ ละ 5 นาที ในชว่ั โมงต่อไป โดยกาหนดบุคคลดงั นี้ กลุ่มที่ 1 สนทนากับพ่อแมแ่ ละบคุ คลในครอบครัว กลุม่ ท่ี 2 สนทนากบั เพ่ือนๆ ในห้องเรยี น กลุม่ ท่ี 3 สนทนากับครปู ระจาชั้น กลมุ่ ท่ี 4 สนทนากบั เพอ่ื นท่ีทารายงานกลมุ่ เดยี วกนั ครนู าเสนอตัวอยา่ งดังน้ี A พอ่ : วนั อาทติ ย์ไปทาบญุ กันไหมเธอ c แม่ : ฉันไม่ว่างใครอยากจะไปกเ็ ชิญตามสบาย A A พอ่ : พดู ดี ๆ กไ็ ด้ไมว่ ่างกบ็ อกกันดี ๆ A แม่ : ฉันขอโทษฉนั กาลงั เครียด A พ่อ : แลว้ ตกลงเธอจะไปกบั ฉันไดไ้ หม A แม่ : ไวไ้ ปวนั อาทติ ยห์ นา้ ไดไ้ หม ฉันจะไดไ้ ปด้วย A พอ่ : ก็ได้ อาทิตยห์ น้าเราไปทาบญุ กัน ชั่วโมงท่ี 4 4.11 ทบทวนการเรียนรกู้ จิ กรรมในช่วั โมงท่ีผ่านมา 4.12 ให้นักเรียนออกมาแสดงบทบาทสมมตุ ิ จนครบทุกกลุ่ม โดยครูและเพือ่ นร่วมกันอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ 4.13 ครแู ละผู้เรยี นรว่ มกันสรปุ สิ่งท่ไี ด้เรียนรู้รว่ มกนั5. สอ่ื / อุปกรณ์ 5.1 ใบงานเรอ่ื ง ช่วยกันคดิ (1) 5.2 แบบสารวจบุคลิกภาพ ตามทฤษฎกี ารวเิ คราะห์การติดตอ่ สัมพนั ธ์ ( TA ) 5.3 ใบความรู้เร่อื ง การสอื่ สารตามรปู แบบ TA

35 5.4 ใบงานเรอื่ ง ช่วยกันคิด (2)6. การประเมนิ ผล 6.1 วิธกี ารประเมิน 6.1.1 สงั เกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม 6.1.2 ตรวจใบงาน 6.2 เกณฑก์ ารประเมนิ 6.2.1 การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเกณฑ์ ขอ้ ความบง่ ชี้ผ่าน มีความตั้งใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมือในการอภิปราย แสดงบทบาท สมมตุ ิ และสง่ งานครบตามกาหนดไมผ่ า่ น ขาดสง่ิ ใดสง่ิ หนึ่ง 6.2.2 ตรวจใบงานเกณฑ์ ข้อความบง่ ชี้ผ่าน นกั เรยี นทาใบงานครบและถกู ตอ้ งไมผ่ ่าน ขาดสง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่

ใบงานกิจกรรมแนะแนว หนว่ ยการจดั กจิ กรรมรูปแบบการสื่อสารแบบ TA 36 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6ชื่อ-สกุลนักเรียน………….……………..…………………..ชนั้ ม.6 /..........เลขท่ี…..............ใบงาน เรือ่ ง ช่วยกันคิด (1) ใหน้ ักเรียนพิจารณาและวเิ คราะหว์ ่าสถานการณ์ใดท่กี ารส่ือสารนาไปสู่ความขัดแยง้ และสถานการณใ์ ดทีส่ ่ือสารไดส้ อดคลอ้ งเพราะเหตใุ ด สถานการณ์ที่ 1 สุดา : ขอโทษค่ะ ช่วยอธบิ ายเลขข้อนห้ี นอ่ ยไดไ้ หมคะ สมชาย : ย่งุ จรงิ ๆ ของเราก็ยงั ไม่เสร็จเลย ขัดแยง้ เพราะ................................................................................................................. สอดคลอ้ งเพราะ............................................................................................................ สถานการณท์ ่ี 2 สดุ หล่อ : วนั นีผ้ มไม่ไปกับพอ่ นะ ผมนดั เพ่อื นไวแ้ ล้ว ไม่ไปไมไ่ ด้ สมชาย : หยุดนะ แกจะไปกบั เพ่อื นไมไ่ ด้ ฉนั บอกแกไวแ้ ลว้ แกตอ้ งไปกับฉนั เดี๋ยวนี้ ขัดแยง้ เพราะ................................................................................................................. สอดคลอ้ งเพราะ............................................................................................................ สถานการณ์ที่ 3 บอย : ดูรถคันน้นั สิ แตง่ ซะสวยเลย นา่ ขับจรงิ ๆ เบล : ใช่ของใครไม่รู้นะ ถ้าไดล้ องขบั ละก้อแหลม่ ไปเลย ขัดแยง้ เพราะ................................................................................................................. สอดคล้องเพราะ............................................................................................................

37สถานการณท์ ี่ 4 ก๊บิ เก๋ : โอ้ย...เมื่อคืนพิมพ์รายงานจนดึกกว่าจะเสร็จ ปวดคอไปหมดเลย ก๋อย : แลว้ ทฉ่ี นั น่ังทา Power Point ไมเ่ หนือ่ ยหรือไง แล้วยังต้องออกไปนาเสนออกีขดั แย้ง เพราะ.................................................................................................................สอดคล้องเพราะ............................................................................................................สถานการณ์ที่ 5 สุดสวย : มาโรงเรียนสายอีกแลว้ นะเรา ชายน้อย : ครับบ้านผมอยไู่ กลมาก วนั นอี้ อกจากบ้านต้งั แตต่ ี 5 แตเ่ ผอิญรถเมล์ขาดระยะนานมากขัดแย้ง เพราะ.................................................................................................................สอดคลอ้ งเพราะ............................................................................................................สถานการณ์ท่ี 6 : การบา้ นเยอะมาก ทาเทา่ ไรกไ็ มเ่ สรจ็ ยงั เหลอื รายงานอกี ตัง้ หลายชิ้น ครูสงั่ งาน ตวั โต ทุกวิชาจนทาไม่ทนั จะบ้าตาย ตาต่ี : ทาไหวหรอื เปล่า ให้เราช่วยเอาไหม ของเราเสรจ็ หมดแล้วขัดแยง้ เพราะ.................................................................................................................สอดคล้องเพราะ............................................................................................................

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หน่วยการจัดกจิ กรรมรปู แบบการสอื่ สารแบบ TA 38 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6ชือ่ -สกุลนักเรียน………….……………..…………………..ชั้น ม.4 /..........เลขที่…..............ใบงาน เร่ือง แบบสารวจบคุ ลกิ ภาพตามทฤษฎีการวเิ คราะห์การตดิ ตอ่ สมั พันธ์ ( TA )คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และสารวจตนเองว่ามีความคิดเห็น ความรู้สึกและมีพฤตกิ รรมอยู่ในระดับใด และทาเครือ่ งหมาย ลงในช่องคะแนนทตี่ รงกบั ลักษณะของตนเองมากที่สดุ โดยเริ่มจากระดบั นอ้ ยท่ีสุด (1) ไปจนถึงระดบั มากทสี่ ุด (7) 1 = น้อยที่สุด 7=มากท่ีสุดขอ้ ความ 12345671. เออื้ เฟื้อเผอ่ื แผ่2. เมตตา3. มีเหตุผล4. ชอบคาดคะเน5. เอาใจคนเกง่6. ใจเรว็ ด่วนได้7. เหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่นื8. ชอบแสดงว่ารู้ดีกวา่ คนอน่ื9. ชอบการประเมิน10. ยึดถือขอ้ เท็จจริง11. แสวงหาสง่ิ ใหม่ ๆ เสมอ12. ตามใจตนเอง13. ชอบใชอ้ านาจ14. ยึดถือประเพณี15. ชอบคน้ คว้าทดลอง16. ชอบหาแนวทางในการแกป้ ัญหา17. กา้ วร้าว18. มคี วามคดิ รเิ ริม่19. ชอบแนะนา20. ยอมรบั ฟังผูอ้ ่นื 1= นอ้ ยทส่ี ดุ 7 =มากท่สี ุด

ข้อความ 3921. มักคล้อยตามผู้อน่ื 123456722. ชอบตาหนติ เิ ตียน23. มีความรอบคอบและใจเย็น24. ขอ้ี าย25. พิจารณาส่งิ ต่าง ๆ โดยยึดถือขอ้ มูล26. มักมีข้อหา้ มเสมอ27. มีอารมณส์ นกุ สนาน รา่ เริง28. หาสาเหตุของปัญหา29. ไม่คงเสน้ คงวา30. ใจอ่อนให้นกั เรยี นนาคะแนนท่ีได้ในแต่ละข้อกรอกลงในตารางตอ่ ไปน้ีหมายเลขขอ้ คะแนน หมายเลขขอ้ คะแนน หมายเลขข้อ คะแนน 513 6 1124 12 1779 18 218 10 24 2713 15 30 รวมคะแนน14 16 บุคลิกภาพแบบเดก็ C19 2022 2326 2529 28รวมคะแนน รวมคะแนนบคุ ลกิ ภาพแบบพ่อแม่ P บคุ ลิกภาพแบบผใู้ หญ่ Aหมายเหตุ ขอ้ 1 2 7 เป็นบุคลิกภาพแบบพอ่ แม่ P บวก ข้อ 8 13 14 19 22 26 29 เปน็ บคุ ลกิ ภาพแบบพอ่ แม่ P ลบ(ที่มา : ม.ร.ว.สมพร สุทศั นยี ์ . มนษุ ยสัมพนั ธ์ . สานักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย กรงุ เทพมหานคร , 2548)

ใบความรู้กจิ กรรมแนะแนว หน่วยการจัดกิจกรรมรูปแบบการส่ือสารแบบ TA 40 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6ใบความรู้ เร่ือง การสอื่ สารตามรปู แบบ TA(ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ TA) การส่ือสารตามทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสมั พันธ์ หรือทเ่ี รียนว่า TA แบ่งลกั ษณะการส่ือสารของบุคคลออกเป็น 3 ลกั ษณะ 1. ลักษณะพฤติกรรมแบบพ่อแม่ (P) จะมีลักษณะพฤติกรรมการสอ่ื สารทแี่ สดงออกทั้งด้านบวก และด้านลบ โดยพฤติกรรมด้านบวกมีลักษณะของ ความรักใคร่ เอ็นดู ปลอบประโลม ห่วงใย หวังดี ส่วนพฤติกรรมดา้ นลบจะมีลักษณะเกร้ียวกราด ดุดา่ ว่ากล่าว ใช้อานาจส่ังการ ตาหนิติเตียน เยาะเย้ย ประชดประชนั มลี กั ษณะตัวอย่างคาพดู ของลักษณะพฤตกิ รรมแบบพ่อแม่ (P) ดังนี้ “หยุดนะจบิ๊ อยา่ เขา้ มา” (P_ ) “ฉนั เหนือ่ ยสายตวั แทบขาด เพราะตอ้ งหาเล้ียงพวกแก” (P_ ) “โถเจ็บมากไหมจะ๊ ” (P+ ) “เธอไม่สบายใช่ไหม มา เราจะชว่ ย” (P+ ) 2. ลักษณะพฤติกรรมแบบผู้ใหญ่ (A) เป็นลักษณะพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกในลกั ษณะตรงไปตรงมา มีเหตผุ ลขอ้ เท็จจริง ไม่ใช้อารมณ์หรือความคิดเห็นส่วนตัว เมื่อพูดถึงส่ิงใดจะใชข้ ้อเท็จจริงไม่ใช้อารมณ์หรือความคิดเห็นส่วนตัว เมื่อพูดถึงสิ่งใดจะใช้ข้อเท็จจริงและเหตุผลเป็นเคร่ืองตัดสิน ตัวอย่างคาพูดที่แสดงสภาวะแบบผใู้ หญ่ “การทิง้ ขยะใหเ้ ป็นทจ่ี ะเป็นศรแี ก่บ้านเมอื ง” “คนตดั ไมท้ าลายป่ามากข้ึน จึงทาให้นา้ ท่วมไปทกุ หนทกุ แห่ง” “เธอเห็นหนงั สอื พมิ พ์วันนี้ไหม” “อยูบ่ นโต๊ะอาหารไงคะ” 3. ลักษณะพฤตกิ รรมแบบเด็ก (C) พฤตกิ รรมแบบเด็กจะแสดงออกในลกั ษณะทสี่ รา้ งสรรค์สดชื่น มีชีวิตชีวา กล้าหาญ และยังมีพฤติกรรมที่แสดงออกดื้อร้ัน คาพูดท่ีแสดงอออกน้ันเปิดเผย อิสระตรงไปตรงมา ตวั อย่างคาพดู แบบเดก็ ๆ คอื “ดูเขาซี ซื่อบอื้ เสยี ไมม่ ีเลย” “หนูหกลม้ เข่าแตก เจ็บจงั ค่ะแม่” “เพ้ียง! ขอให้ฉนั พบเทพบตุ รในดวงใจเถอะ” กล่าวโดยสรุป ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์มีทัศนะว่า พฤติกรรมของบุคคลเปล่ียนแปลงตลอดเวลา พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นจะเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ บุคคลจะต้องรู้ว่าเม่ือไรควรจะมีพฤติกรรมแบบพอ่ แม่ แบบผู้ใหญ่ หรือแบบเด็ก การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเชน่ น้ี ทาให้บุคคลเขา้ กับคนอื่นในสังคมได้ จงึ นับว่าเป็นผ้มู มี นุษยสัมพนั ธท์ ด่ี ี ถา้ บุคคลใดสามารถปรบั ใช้พฤติกรรมแตล่ ะแบบไดอ้ ย่างเหมาะสมกน็ ับไดว้ า่ มบี คุ ลิกภาพ และมนษุ ยสมั พันธด์ ี

41ลกั ษณะรูปแบบการส่ือสาร การติดต่อสื่อสารของบุคคล ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์กล่าวถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล 3 ประเภท คอื การติดต่อสื่อสารทีส่ อดคลอ้ ง ขดั แย้ง และเคลือบแฝง 1. รูปแบบการสือ่ สารทส่ี อดคล้อง (Complementary Transaction) หมายถึง การตดิ ต่อส่อื สารทสี่ นองจดุ ประสงคข์ องผ้พู ูดทั้งสองฝ่าย และทาให้เกดิ ความพึงพอใจ สบายใจ และมนษุ ยสัมพันธท์ ่ดี ตี อ่ กนั ฝา่ ยถาม : ชว่ ยค้นเอกสารสาคญั ให้ผมหน่อยเถอะ ฝา่ ยตอบ : ตกลง ผมจะช่วยคุณ 2. รปู แบบการตดิ ตอ่ ส่อื สารทีแ่ สดงความขดั แยง้ (Crossed Transaction) หมายถึงการติดตอ่ สอื่ สารที่แสดงความไมเ่ ป็นมิตร ผูถ้ ามต้องการทราบคาตอบแต่ผู้ตอบไม่ให้คาตอบ หรืออาจจะพูดแบบประชดประชนั หาเรอื่ ง ทาให้เกดิ ความไมพ่ อใจ ความขดั เคืองใจ ฝา่ ยถาม : ผมขออนญุ าตกลับกอ่ น 2 โมงนะครับ ฝา่ ยตอบ : แต่งานเลกิ 2 โมงนะจ๊ะ

42 3. รปู แบบการตดิ ต่อส่ือสารทีเ่ คลอื บแฝง (Ulterior transaction) เปน็ การตดิ ตอ่ สัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลที่มีพฤติกรรมการพดู อยา่ งหน่ึง แต่มคี วามต้องการหรือความรู้สึกนกึ คิดอีกอย่างหนง่ึซ่อนเรน้ อย่ภู ายใน ซ่งึ ผูพ้ ูดรวู้ า่ ผู้อื่นหรือสังคมไม่ยอมรบั จึงพูดออกมาอีกอย่างหน่ึงให้ผูฟ้ ังยอมรับและพอใจ การติดตอ่ สอ่ื สารจงึ เปน็ ไปในลักษณะ “ปากกบั ใจไมต่ รงกนั ” การติดต่อส่อื สารท่เี คลอื บแฝงจึงเป็นการติดต่อสอื่ สารทไี่ ม่จรงิ ใจ ซง่ึ จะนาไปสสู่ ัมพนั ธภาพทีไ่ มด่ ีสมศรี : “ดีใจด้วยนะมาลี ที่เธอสอบคณติ ได้ A” (สิ่งซอ้ นเร้น) หมั่นไส้นัก ทาเปน็ เกง่ ท่แี ท้ก็ฟลคุ๊มาลี : “ขอบใจจะ๊ ” (ส่งิ ซอ้ นเรน้ ) ฉนั ก็รู้วา่ เธอไมไ่ ด้จรงิ ใจกับฉนั

ใบงานกจิ กรรมแนะแนว หนว่ ยการจดั กจิ กรรมรปู แบบการสื่อสารแบบ TA 43 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6ชอ่ื -สกุลนักเรียน………….……………..…………………..ชั้น ม.4 /..........เลขท่ี…..............ใบงาน เรื่อง ชว่ ยกนั คิด (2) ให้นักเรียนวิเคราะหบ์ ทสนทนาต่อไปนี้และเขียนทิศทางการสื่อสารของคูส่ นทนาตามรูปแบบการสื่อสารท่ปี รากฏ ดังตวั อย่างตัวอย่างสุดา : ขอโทษค่ะ ช่วยอธบิ ายเลขขอ้ นี้หน่อยไดไ้ หมคะสมชาย : ยุ่งจรงิ ๆ ของเรากย็ ังไม่เสรจ็ เลยสดุ า สมชายPP สรุป รูปแบบการสื่อสาร ขัดแยง้ AAACCสถานการณ์ที่ 1สดุ หล่อ : วันนผ้ี มไม่ไปกบั พ่อนะ ผมนัดเพ่ือนไวแ้ ลว้ ไม่ไปไม่ได้พอ่ : หยุดนะ แกจะไปกับเพ่ือนไมไ่ ด้ ฉนั บอกแกไว้แล้ว แกตอ้ งไปกบั ฉนั เดีย๋ วน้ีสุดหลอ่ พอ่PP สรปุ รปู แบบการสอื่ สาร............................ AAA CCสถานการณท์ ี่ 2บอย : ดูรถคันนั้นสิ แต่งซะสวยเลย นา่ ขับจรงิ ๆเบล : ใชข่ องใครไมร่ นู้ ะ ถา้ ไดล้ องขับละก้อแหลม่ ไปเลยบอย เบลPP สรปุ รูปแบบการสอ่ื สาร............................A AACC

44สถานการณท์ ่ี 3กบ๊ิ เก๋ : โอ้ย...เมื่อคืนพิมพ์รายงานจนดึกกว่าจะเสร็จ ปวดคอไปหมดเลยกอ๋ ย : แล้วทฉ่ี ันนั่งทา Power Point ไมเ่ หนือ่ ยหรือไง แลว้ ยังต้องออกไปนาเสนออีกกบิ๊ เก๋ ก๋อยPP สรุป รปู แบบการสอื่ สาร............................A AACCสถานการณ์ท่ี 4สดุ สวย : มาโรงเรยี นสายอีกแลว้ นะเราชายน้อย : ครับบา้ นผมอยู่ไกลมาก วันนี้ออกจากบา้ นตงั้ แตต่ ี 5 แต่เผอิญรถเมล์ขาดระยะนานมากสุดสวย ชายนอ้ ยPP สรปุ รปู แบบการส่ือสาร............................ AAACCสถานการณ์ที่ 5ตวั โต : การบ้านเยอะมาก ทาเทา่ ไรก็ไม่เสรจ็ ยังเหลือรายงานอกี ตง้ั หลายช้ิน ครสู ัง่ งานทุกวชิ า จนทาไมท่ นั จะบา้ ตายตาตี่ : ทาไหวหรือเปลา่ ใหเ้ ราชว่ ยเอาไหม ของเราเสรจ็ หมดแล้วตวั โต ตาตี่PP สรปุ รูปแบบการสอื่ สาร............................ AAA CCสถานการณ์ท่ี 6 แม่ : ทาไมถึงไม่รู้จกั จัดตารางสอนให้เรียบร้อย จุ๊บ : กไ็ ม่ว่างทาการบา้ นอยู่ไม่เห็น หรอื งัยPPAA สรปุ รปู แบบการส่อื สาร............................CCสถานการณท์ ี่ 7

45แจม๋ : วนั เสารไ์ ปเที่ยวบ้านเอม็ กับเราไหมจิ๊บ : ฉันไมไ่ ด้มเี วลาเหลือมากมายทจี่ ะได้ไปโน้นไปนี่ เหมือนเธอPP สรุป รูปแบบการสอื่ สาร............................AACCสถานการณ์ท่ี 8 หัวหน้าห้อง : เธอชว่ ยเอาเอกสารไปส่งห้องพักครใู หเ้ ราหนอ่ ยสิจ๊ะ เพอื่ น : ได้สิ เดย๋ี วเราเอาไปส่งใหเ้ ธอเองPP สรุป รูปแบบการสือ่ สาร............................AACC2. ให้นักเรียนวิเคราะห์การสนทนาต่อไปนี้ ตามแนวคิดของทฤษฎี TA ที่ได้ศึกษามา และเตมิ ขอ้ มูลลงในชอ่ งว่างให้สมบรู ณ์คาพูด/การสอ่ื สาร ให้วิเคราะห์สัญ ลัก ษณ์ ก าร ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์หาคาพูดตาม ส่ือสารจากบทสนทนาว่าเป็น แนวคิด TA เพ่ือให้เป็นการสื่อสาร การสอ่ื สารแบบใด(P) (A) (C) แบบการสร้างสมั พนั ธภาพทีด่ ีแม:่ จะไปไหนจ๊ะลูกลกู สาว: หนจู ะไปทาการบา้ นทีบ่ ้าน เพื่อนค่ะแม่แม:่ ทาไมต้องไปทาทบ่ี า้ นเพ่อื น ท่ี บ้าน เราทาไมไ่ ด้หรือไงลูกสาว: แคห่ นูจะไปบ้านเพอ่ื นทาไม แม่ต้องยงุ่ อะไรกับหนมู ากมาย

463. ใหน้ กั เรียนเตมิ สัญลักษณก์ ารส่อื สารหน้าขอ้ ความตอ่ ไปนี้ P A หรือ C หนา้ ขอ้ ความ................1. ครูนัดประชุมกรรมการชมุ นุมวันพรุ่งนี้บ่าย 2 โมงนะ................2. ถ้าเธอรู้จักเก็บหนังสื่อให้ดี ก็ไม่ตอ้ งมานง่ั บ่นอยู่อยา่ งน้ีหรอก………….3. ทาไมแตง่ ตัวอย่างนี้ เสอ้ื หลดุ นอกกางเกงได้ไง...............4. น่า....ไปเป็นเพื่อนเราหน่อย เรากลัวจะแย่อยู่แล้ว...............5. ไปไหนก็ไปเลย อย่ามายุ่งกับฉนั ไป ไป๊...............6. แม่ครับมีอะไรกินบ้าง ผมหวิ จะแย่อยแู่ ล้ว...............7. ขอบคณุ น้องๆ ทุกคน ทีส่ เี ราได้แชมป์ เพราะความร่วมมือร่วมใจของพวกน้องๆ ทุกคน...............8. กินได้เลย ไม่ต้องรอแล้ว คนไม่ตรงเวลา ใหก้ ินทีหลังก็แล้วกัน..............9. เสื้อเธอสวยจัง คงแพงน่าดู เราคงไม่มีปัญญาซื้อมาใส่หรอก..............10. ไม่สบายหรือเปล่า แวะไปใหค้ รูพยาบาลดูหน่อยนะ 

47เอกสารเพม่ิ เติมสาหรับครูทฤษฎกี ารวิเคราะห์การตดิ ต่อสมั พันธ์ (Transactional Analysis – TA) ผูร้ เิ ริม่ Eric Berne (1910 – 1970 ) ทฤษฎีการวิเคราะหก์ ารติดตอ่ สัมพันธ์ (TA) ถือกาเนดิ ขึ้นราวช่วงปี ค.ศ. 1950 โดยแอริค เบิร์น (Eric Berne) ซึ่งได้รับการอบรมเป็นจิตแพทย์และนักจิตวิเคราะห์ ในช่วงน้ันทฤษฎีจิตวเิ คราะห์เป็นทฤษฎที ี่มอี ิทธพิ ลมากต่อการบาบัดทางจติ อย่างไรกต็ ามการคน้ พบธรรมชาตขิ องภาวะอีโก้(Ego State) โดยเบิร์นทาให้ TA เกิดข้ึนและตกผลึกเป็นทฤษฎีที่มีความเป็นอิสระ ดังน้ันการเผยแพร่ความคิดภาวะของอีโก้ในช่วงปี ค.ศ. 1955 – 1962 จึงจัดเป็นระยะแรกของการพัฒนา TA การค้นพบภาวะของ อีโก้มีพ้ืนฐานจากการทดลองทางประสาทวิทยาที่กระตุ้นเร้าสมองโดยตรง พบว่าบุคคลจะมีประสบการณแ์ สดงภาวะอโี ก้ของความเป็นพอ่ แม่ ผใู้ หญ่ และเด็ก ซึ่งเป็นตวั กาหนดความคดิ ความรู้สกึ และพฤตกิ รรม เบิร์นยืนยนั ว่าภาวะอโี กท้ ้ัง 3 สามารถสังเกตเหน็ ได้ในพฤตกิ รรมปัจจบุ ัน เขานาการคน้ พบนี้ไปใชใ้ นการจดั ทาจติ บาบดั แบบกลุ่ม เพ่ือเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการใชแ้ นวคิดจิตวเิ คราะหใ์ นการบาบดั TAทฤษฎีบุคลิกภาพ พัฒนาการของบุคลิกภาพสามารถเข้าใจได้ผ่านแนวคิดท่ีสาคัญต่างๆ ได้แก่ ภาวะอีโก้ การได้รับความเอาใจใส่ คาส่ัง การตัดสินใจ การสร้างบทชีวิต เกม การติดต่อสัมพันธ์ และตาแหน่งชีวิต ซงึ่ แนวคิดน้ีสะท้อนอิทธิพลของฟรอยด์ อย่างไรก็ตามโครงสร้างของอิด อีโก้ ซูเปอร์อีโก้ เกิดข้ึนในจิตไร้สานึก ในขณะที่โครงสรา้ งบุคลิกภาพตามแนวคดิ ของทฤษฎีนี้มพี นื้ ฐานอยกู่ ับจิตรู้สานกึ โครงสร้างหลกั ของบุคลกิ ภาพคือ ภาวะพ่อแม่ เดก็ และผใู้ หญ่ ภาวะท้งั สามนพี้ ัฒนาขนึ้ อยา่ งสม่าเสมอและสามารถทานายได้ภาวะของอโี ก้ภาวะเด็กของอโี ก้ (The Child State) เด็กแรกเกิดมีสัญ ชาตญ าณ ธรรมชาติของการแสดงพฤติกรรม เช่น ร้องไห้ ส่งเสียงเอิ๊กอ๊าก ดูด เลีย ฯลฯพฤติกรรมเหล่าน้ีสะท้อนถึงภาวะแรกเริ่มของอีโก้ซึ่งแฮริส ( Harris & Harris, 1985 )ให้เช่ือว่า The Early Child หรือ Somatic Child ในช่วงใดของชีวิตหารกบุคคลมีพฤติกรรมเหมือนทารกเรยี กวา่ ในขระนั้นบุคคลอยู่ในภาวะ Eaely Child Ego หน้าท่ีพื้นฐานของภาวะเดก็ ของอโี ก้มี 2 ภาวะคอื1. ภาวะเด็กอิสระ ( The Free Child : FC ) หรอื เดก็ ธรรมชาติ ( The Natural Child : NC ) ภาวะเด็กอสิ ระ เป็นภาวะทแ่ี สดงกิรยิ าไปตามธรรมชาติ ไม่ปิดบังความต้องการแทจ้ ริงขี้เล่น เต็มไปด้วยพลังสนุกสนาน อยากรู้อยากเห็น หรือแสดงอารมณ์อิจฉาปึงปัง ไม่ได้ดั่งใจออกมาตรงๆ บุคคลท่ีอยู่ในภาวะนีน้ านเกินไปอาจแสดงถึงการไมส่ ามารถควบคุมตนเอง ไม่มคี วามรับผิดชอบ2 ภาวะเดก็ ปรับตัว ( The Adapted Child : FC ) หน้าที่ของภาวะเด็กปรับตัว คือ แสดงกิริยาของเด็กท่ีรู้จักปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะพ่อ แม่ เพราะกลัวการถูกลงโทษหรือการไม่ได้รางวัล เช่น ความรัก คาชมเชย ของเล่น ขนมท่ี

48ต้องการ ฯลฯ พฤติกกรมท่ีแสดงออกเหมือนรู้วา่ มีผู้ใหญ่จับตาดูอยู่ เช่น ยินยอม ขยันขันแข็ง ขณะเดียวกันอาจแสดงพฤติกรรมตรงขา้ ม เชน่ ต่อตา้ น ไมย่ อม กล่าวโดยสรปุ ว่า กล่าวโดยสรุป ภาวะเด็กอิสระแสดงออกถึงความรู้สึกหรือพฤติกรรมตามธรรมชาติโดยไม่คานึงถึงปฏิกริ ิยารอบข้าง ในขณะทภี่ าวะเด็กปรับตัว เป็นการแสดงออกเพอื่ ปรับให้เข้ากับผูอ้ ื่นภาวะผู้ใหญ่ของอโี ก้ (The Adult Ego State) เมอื่ ทารกเร่ิมพัฒนาภาษาพูด ความสามารถในการเกบ็ สะสมข้อมลู ก็จะเพ่ิมขึ้นด้วย ระยะน้เี ป็นช่วงท่ีเริ่มพัฒนาหน้าท่ีในส่วนของภาวะผู้ใหญ่ คือการรับข้อมูลจากโลกภายนอกและจากภาวะอีโก้อื่นๆ แล้วนามาประมวลเพ่ือช่วยในการตัดสินใจ การตัดสนิ ใจไม่จาเปน็ ต้องถกู เสมอไป เพราะข้อมลู ท่ีรับมาอาจไม่ถูกต้องหรือได้มาไม่พอเพียง ภาวะผู้ใหญ่ยังมีหน้าท่ีเป็นกรรมการการจัดการระหว่างข้อเรียกร้องของภาวะพ่อแม่ กับความต้องการของภาวะเด็ก นอกจากนี้ยังเป็นส่วนของบุคลิกภาพที่ใช้เหตุผลตั้งคาถามในทานองว่า “ทาไม” และ “อย่างไร” น่ันคอื คานงึ ถึงผลลพั ธ์ทีเ่ กดิ ขึ้นภาวะพ่อแมข่ องอีโก้ (The Parent Ego State) ภาวะนี้หมายถงึ ความเช่ือ อารมณ์ ความรสู้ ึก และพฤติกรรมทเี่ ด็กเลือกรบั และจดจาในเร่ืองของภาษา รวมท้ังภาพลักษณ์ของพ่อแม่ท่ีเด็กสร้างข้ึน ภาวะพ่อแม่มีความแตกต่างจากภาวะพ่อแม่ตอนต้น (Early Parent ) กล่าวคือภาวะพ่อแม่ครอบคลุมทศั นคติหรือพฤตกิ รรมที่เด็กจดจารับเข้ามา ไม่เจาะจงเฉพาะจากพ่อแม่ แต่รวมข้อมูลภายนอกอื่นๆด้วย สาหรับภาวะพ่อแม่ตอนต้น เป็นภาวะท่ีเด็กรับเอาความรู้สึกและพฤตกิ รรมของพอ่ แม่โดยการตคี วามจากภาพทีเ่ หน็ เสยี งทไี่ ด้ยนิ ขณะที่ยงั ไมพ่ ฒั นาภาษาพดูภาวะพอ่ แมต่ ามหน้าท่ีหมายถึงแบง่ ออกเป็น 2 สว่ นคือ1. พอ่ แมเ่ อือ้ เฟอ้ื ( Nurturing Parent : NP ) NP คอื สว่ นที่แสดงความหว่ งใย เอาใจใส่ ปกป้อง ลกั ษณะดงั กลา่ วอาจมีความพอดีหรอื มากเกินไป2. พอ่ แมว่ พิ ากษว์ จิ ารณห์ รือพอ่ แมค่ วบคมุ ( Critical หรือ Controlling Parent : CP ) CP คือ สว่ นท่ีข่มขู่ แสดงอานาจ กดข่ี ลาเอียง ควบคุม ส่วนน้ีบอกถึงลักษณะแฝงของบุคลกิ ภาพท่ีไม่เชื่อในความคิดของตนเอง นอกจากนยี้ ังแสดงถึงความไม่ไว้วางใจตนและผู้อื่น และแสดงออกโดยใชอ้ านาจเป็นส่อตอบสนองข้อเรยี กร้องความตอ้ งการของตนแนวคิด พฤติกรรมของบุคคลจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ข้ึนอยู่กับสถานการณ์และเวลา – โดยจะเปล่ียนแปลงใน 3 ลักษณะ ดังน้ี 1. พฤตกิ รรมแบบบิดามารดา ( Parent Ego State : P) - แสดงออกในลกั ษณะของความรกั ใคร่ เอน็ ดู ปลอบประโลม หว่ งใย หวังดี - เกร้ียวกราด ดุดา่ วา่ กล่าว ใช้อานาจสัง่ การ ตาหนติ เิ ตียน เยาะเย้ย ประชดประชนั - ยึดถอื ประเพณี ระเบียบแบบแผน - เป็นพฤติกรรมท่ีได้รบั จากพ่อแม่ต้ังแต่เด็ก – การสังเกตและจดจา เมื่อเติบโตข้ึนเป็นผใู้ หญก่ จ็ ะแสดงพฤตกิ รรมดังกลา่ วโดยไม่รตู้ วั 2. พฤติกรรมแบบผู้ใหญ่ ( Adult Ego State : A )

49 - แสดงออกในลักษณะตรงไปตรงมา มีเหตุผลและข้อเท็จจริง ไม้ใช้อารมณ์หรือความคิดเหน็ สว่ นตัว - จะพัฒนาต้ังแต่อายุ 10 เดือน โดยเปรียบเทียบการกระทาของตนกับสิ่งท่ีพ่อแม่ห้ามปรามจนคน้ พบวา่ อะไรควรทา อะไรไมค่ วรทา 3. พฤติกรรมแบบเดก็ ( Child Ego State : C) - ชดุ ของความรสู้ ึก เจตคติ และรปู แบบพฤตกิ รรมซงึ่ บุคคลไดก้ ระทาในวยั เด็ก - สดช่ืน รา่ เรงิ มีชีวิตชวี า กลา้ หาญ สร้างสรรค์ การพดู ท่แี สดงออกมามอี สิ ระ เปิดเผยตรงไปตรงมา - ขาดเหตผุ ล - เอะอะ โวยวาย เสยี งดังแนวทางในการตดิ ตอ่ สัมพนั ธ์ 1. การติดต่อสัมพันธ์ แบบได้ความสมบูรณ์ ( Complementary Transactions) : เป็นการตดิ ต่อสอ่ื สารทส่ี อดคล้องกนั เชน่ สง่ สาร – ผ้ใู หญก่ บั ผู้ใหญ่ ตอบรับ – ผู้ใหญ่กบั ผ้ใู หญ่ สง่ สาร – บิดามารดา กับเดก็ ตอบรบั – เดก็ กับบิดามารดา ตัวอยา่ ง : ชว่ ยคน้ เอกสารใหอ้ าจารยห์ นอ่ ยเถอะ : ไดค้ ่ะ เด๋ยี วหน/ู ผมช่วยอาจารย์ 2. การติดตอ่ สมั พันธแ์ บบขัดแย้ง ( Crossed Transaction ) การติดต่อสื่อสารระว่างบุคคลที่สภาพแห่งตนของคู่สื่อสารไม่สอดคล้องสัมพันธ์กัน เช่น ถ้าผู้ถาม ถามเพ่ือต้องการคาตอบ แต่ผู้ตอบ ตอบแบบประชดประชนั หาเรือ่ ง ทาให้เกดิ ความราคาญใจ ขดั เคอื งใจ ตวั อยา่ ง กรณีท่ี 1 : รายงานทีเ่ ธอทาสง่ อาจารยด์ ูดีจังเลย : ยงั ไงก็สรู้ ายงานของเอไม่ไดห้ รอกกรณีท่ี 2 : อาจารยบ์ อกใหฉ้ นั นัง่ ทีต่ รงน้ี :บอกแลว้ ไม่ใช่เหรอว่าไม่ใหน้ งั่ ทีข่ องฉนั3. การติดตอ่ สมั พันธ์แบบซอ่ นเร้น ( Ulterior Transactions ): การตดิ ตอ่ สอื่ สารมี 2 ระดบั คอื ระดับท่ีเปดิ เผย – เป็นการแสดงออกอยา่ งตรงไปตรงมา ระดบั ทีซ่ อ้ นเรน้ – สารทีถ่ ูกส่งออกมาอยใู่ นลักษณะปกปิดตวั อย่าง : ดใี จด้วยนะจะท่ไี ด้รบั เลือกเปน็ ตวั แทนห้อง ( สิ่งท่ีคิด : ก็แคต่ วั แทนหอ้ ง ไมเ่ ห็นจะสาคัญอะไร) : ขอบใจจ๊ะ

50ทศั นคตติ ่อตนเองและผู้อื่น 1. ฉนั เลวแตค่ ณุ ดี ( I’m not O.K., You’re O.K. ) - เปน็ สภาวะทางจิตของคนที่ไมม่ ีความสุข - ตอ้ งการกาลงั ใจ เอาใจใส่จากบุคคลอื่น - มกั มองตนเองในแง่ลบ แต่มองผูอ้ นื่ ในแง่ดี ยกย่องชน่ื ชมผู้อ่นื 2. ฉันดีแตค่ ุณเลว ( I’m O.K., You’re not O.K. ) - บุคคลมักจะประเมินตนเองว่าเป็นคนดี แต่ประเมินว่าคนอ่ืนเลว หรือไม่ดี ไม่มีคณุ ค่า - ชอบตาหนผิ ู้อื่น ชอบวัดโทษผอู้ นื่ ยกตนขม่ ท่าน 3. ฉนั เลว คุณกเ็ ลวดว้ ย ( I’m not O.K., You’re not O.K. ) - มองวา่ ตนเองไมม่ คี า่ และผอู้ ื่นกไ็ ม่มีค่าเชน่ กัน - มกั มองโลกในแงร่ า้ ย หมดหวังในชวี ิต ไมม่ ีจุดมุง่ หมายในชีวติ - จัดอยใู่ นผปู้ ่วยโรคจิต หรอื โรคประสาท 4. ฉันดี คณุ กด็ ดี ้วย ( I’m O.K., You’re O.K. ) - มักเปน็ ผทู้ ่ีจัดอย่ใู นกลมุ่ ผู้มีสุขภาพจิตสมบรู ณ์ - เป็นทัศนคติของผู้ที่ประสบความสาเรจ็ ในชีวิต มองโลกในแงด่ ี – มองตนเองและผู้อ่ืนในแง่ดี ชีวติ มคี วามสขุ หน่วยการจัดกจิ กรรม เรอื่ ง ครอบครัวดีมีสุขวตั ถุประสงคท์ ี่ 3 การปรบั ตัว และอยู่รว่ มกับผ้อู ่นื อย่างเหมาะสมและมคี วามสุข3.3 นักเรียนมีทกั ษะการปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมและปลอดภัยในเรอ่ื งเพศระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 21. วัตถุประสงคช์ ้ันปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook