บทที่ 8 เครื่องมอื วธิ กี ารท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการวิจัยใด ๆ ที่ผวู้ ิจยั จะสามารถนาข้อมลู ท่ีเกบ็ รวบรวมไดม้ าใชต้ อบปัญหาการวจิ ยั ท่ีกาหนดไวไ้ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ และมีความสอดคล้องตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ได้ อย่างชดั เจนนัน้ ผ้วู จิ ยั จาเปน็ จะตอ้ งเข้าใจในข้ันตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เครื่องมือ หรอื วิธกี าร ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมที่มคี ุณภาพ โดยเรม่ิ ตน้ จากการทาความเขา้ ใจในธรรมชาตขิ องเคร่ืองมือหรอื วธิ ีการท่ีใช้ มีการศึกษาตัวแปรที่ต้องการศึกษาเพอ่ื นามาสร้างและพฒั นาเครื่องมือ/วิธีการให้มี ความสอดคล้องกับลักษณะหรอื ประเภทของข้อมูลทีต่ ้องการใช้ตอ่ ไป การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ความหมายของการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ กระบวนการทม่ี ีระบบ ข้ันตอนในการดาเนนิ การของการวจิ ยั เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท้งั เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพจากแหล่งข้อมลู ท่กี าหนดไว้ ทจี่ ะนามาวเิ คราะห์ ในการตอบปญั หาการวิจยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ(Kerlinger,1986 :392) 2. ลักษณะสาคัญของการการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ลักษณะสาคญั ของการเก็บรวบรวมขอ้ มูลท่ีดีตอ่ การวจิ ัย มีดงั นี้ 2.1 จะต้องสนองตอบต่อวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั อยา่ งครบถ้วน โดยหลังจากผ้วู จิ ยั วางแผนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเสร็จแลว้ ควรพิจารณาวา่ ขอ้ มลู ท่ีไดม้ คี วามครอบคลุมวตั ถปุ ระสงค์ ของการวิจยั หรือไม่ 2.2 จะต้องสนองตอบต่อการวจิ ัยตามกรอบแนวคิดการวิจยั และใช้ในการทดสอบ สมมุติฐานได้อยา่ งครบถว้ น 2.3 จะต้องมีการดาเนนิ การดว้ ยความระมัดระวัง รอบคอบในการเลือกใชเ้ คร่ืองมือใน การวจิ ยั เพ่ือให้ได้ข้อมูลตามสภาพความเปน็ จรงิ 3. การเตรียมการสาหรบั การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ควรไดม้ กี ารเตรียมการสาหรบั การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั น้ี (บุญธรรม จติ อนนั ต์,2540 : 91-92) 3.1 วธิ กี ารทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจะต้องดาเนนิ การตามแผนท่ีกาหนดไว้ โดยอาจใชเ้ ครือ่ งมือประเภทใดประเภทหนึง่ หรอื สองประเภท เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ที่ถกู ต้อง ชดั เจน และ สมบรู ณม์ ากที่สดุ 3.2 ผู้เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการวจิ ัยใด ๆ เพื่อให้ไดข้ ้อมูลที่ดีผวู้ จิ ัยจะตอ้ งเก็บรวมรวม ขอ้ มูลดว้ ยตนเอง เนื่องจากเป็นผ้ทู ีว่ างแผน และรู้เรอื่ ง/ข้อมูลทจี่ ะเก็บรวบรวมได้ดที ่สี ดุ แต่ถ้าใน การวจิ ยั มผี ูช้ ่วยเกบ็ รวบรวมข้อมูล จะต้องให้คาแนะนา หรอื คาช้แี จงให้แก่ผ้เู กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้ เขา้ ใจวิธกี ารและขอ้ มูลทต่ี ้องการเกบ็ รวบรวม เพื่อให้การเกบ็ รวบรวมข้อมลู มีความถกู ต้อง ครบถ้วน และปราศจากความลาเอยี ง
หนา้ ที่ 212 บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จะตอ้ งทราบว่าเป็นใคร จานวน เทา่ ไร อยู่ท่ไี หน ที่จะปรากฏในแผนการดาเนินการวจิ ัยที่จะต้องกาหนดใหช้ ัดเจนว่าจะเก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยตนเอง หรอื จดั ส่งทางไปรษณีย์ หรอื ใช้ผชู้ ว่ ยผู้วิจยั 3.4 ลกั ษณะเฉพาะของผใู้ หข้ ้อมูล เปน็ ลักษณะของผใู้ ห้ข้อมลู ทีผ่ ู้วจิ ยั จะต้องรับทราบวา่ เป็นอยา่ งไร โดยเฉพาะเวลาท่ีจะใหแ้ กผ่ ้วู ิจัยในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.5 กาหนดระยะเวลาในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จะต้องทราบว่าจะเก็บขอ้ มูลในช่วงใดที่ สอดคลอ้ งกบั ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างท่ีควรจะต้องมีการวางแผนดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลวา่ จะใช้เวลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เท่าไร ใช้งบประมาณและแรงงานในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มากน้อยเพยี งใด 3.6 จานวนข้อมลู ท่ีไดร้ ับคืนจากการเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยเฉพาะจากการจดั สง่ แบบสอบถามทางไปรษณีย์จะตอ้ งได้รับกลับคืนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของแบบสอบถาม ที่จดั ส่งท้งั หมด และถา้ รวมกับจานวนข้อมูลทเี่ ก็บรวบรวมดว้ ยตนเองจะมีการสญู หายของข้อมลู ไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ 5 จึงจะเป็นข้อมูลท่ีเพียงพอและนา่ เช่ือถือที่จะนามาวิเคราะหส์ รปุ ผลการวิจยั 3.7 การตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของข้อมูลที่ไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เม่อื ไดร้ บั ขอ้ มูลกลบั คนื แลว้ จะต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลว่ามีความครบถ้วนตามท่ีต้องการหรอื ไม่ ถา้ ตรวจสอบแล้วพบว่ามีการไมต่ อบในบางประเด็นอาจจะต้องมีการติดตามเปน็ การเฉพาะ รายบุคคลอย่างเร่งด่วน แต่ถา้ ไมส่ ามารถดาเนนิ การได้หรือพจิ ารณาแล้วว่ามคี วามไมส่ มบูรณ์ของ ข้อมูลให้นาข้อมลู ชดุ นัน้ ออกจากการวิเคราะหข์ ้อมลู 4. ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จาแนกเปน็ ข้ันตอนดงั น้ี 4.1 กาหนดข้อมูลและตวั ชี้วดั เป็นการกาหนดว่าข้อมูลที่ต้องการมีอะไรบ้าง โดยการศึกษาและวิเคราะห์จากวตั ถุประสงคห์ รอื ปัญหาของการวจิ ยั ว่ามตี วั แปรอะไรบา้ งที่เป็น ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม และตัวแปรที่เกยี่ วขอ้ ง และจะใช้อะไรเป็นตัวช้ีวัดจงึ จะได้ข้อมูล ที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจรงิ 4.2 กาหนดแหลง่ ข้อมูล เปน็ การกาหนดว่าแหล่งขอ้ มูลหรอื ผู้ให้ข้อมลู เปน็ ใคร อยู่ทไี่ หน มีขอบเขตเทา่ ไร ที่จะตอ้ งกาหนดใหช้ ัดเจน และเป็นแหลง่ ขอ้ มูลปฐมภมู หิ รือทุติยภมู ิ แลว้ จะตอ้ งพจิ ารณาวา่ แหลง่ ข้อมูลนนั้ ๆ สามารถท่จี ะให้ขอ้ มูลได้อย่างครบถว้ นหรือไม่ 4.3 กาหนดกลมุ่ ตวั อยา่ ง เป็นการเลือกใชว้ ธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่างอย่างเหมาะสม และ ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ งท่ีเหมาะสม 4.4 เลอื กวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู จะตอ้ งเลอื กใช้วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ทเ่ี หมาะสม (แหล่งข้อมลู /ขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง/การวิเคราะห์ขอ้ มลู ) ประหยดั ได้ข้อมลู อย่างครบถว้ น มีมากเพียงพอและเป็นขอ้ มูลทเ่ี ชอ่ื ถือได้ 4.5 นาเครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลไปทดลองใช้ เป็นการทดลองใช้เครอ่ื งมอื ทส่ี รา้ งข้ึน หรือนาของคนอ่ืนมาใชก้ บั กลุ่มตวั อย่างขนาดเล็ก เพ่อื นาข้อมลู มาวเิ คราะห์ตรวจสอบคุณภาพ ทจ่ี ะต้องปรับปรุงและแก้ไขให้อย่ใู นสภาพที่สามารถเก็บรวบรวมข้อมลู ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 213 4.6 ออกภาคสนาม เป็นการดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู ตามแผนการและกาหนดการ ทจี่ ดั เตรยี มไวแ้ ละปรบั เปลี่ยนวธิ ีการตามสถานการณท์ เ่ี ปล่ียนแปลง เพอื่ ให้ได้รบั ขอ้ มูลกลบั คนื มา มากทีส่ ดุ 5. ปัจจัยทีเ่ กยี่ วข้องกับการพิจารณาเลอื กเครอ่ื งมือและวธิ ีการในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการพจิ ารณาเลอื กเคร่ืองมือและวธิ ีการในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลมปี จั จยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ดังนี้ (ปารชิ าติ สถาปติ านนท์,2546 : 163-165) 5.1 ลกั ษณะของปญั หาการวิจยั ท่จี ะต้องชดั เจน ท่จี ะชว่ ยให้ทราบประเด็นสาคัญ กลุ่มเป้าหมายท่ีจะเป็นกฎเกณฑ์เบื้องต้นในการเลือกใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ ีการในการเก็บรวบรวมข้อมลู เพ่อื ตอบปัญหาการวิจยั 5.2 กรอบแนวคิดทฤษฏที ่ีเก่ยี วข้อง จะช่วยให้เห็นแนวทางของการวจิ ัยในประเดน็ ใด ๆ ใน อดีตว่าใชร้ ะเบียบการวจิ ยั อย่างไรในการดาเนนิ การวดั ตวั แปรนน้ั ๆ 5.3 ระเบียบวธิ ีวจิ ัยทแ่ี ตล่ ะรปู แบบจะมีหลักการ ประเดน็ คาถามและแนวทางในการเก็บ รวบรวมข้อมูลอยู่แลว้ 5.4 หน่วยการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ บุคคล กล่มุ บุคคล วตั ถุ ทใี่ ชเ้ ปน็ “เปา้ หมาย” ใน การดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามตัวแปรทก่ี าหนดตามเคร่อื งมอื และวธิ ีการท่ีสอดคล้องกับ หน่วยการวิเคราะห์ 5.5 ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง เพ่อื พิจารณาการใชเ้ วลาและงบประมาณในการวจิ ยั 5.6 คุณสมบตั ิเฉพาะของกลุม่ ตวั อย่าง อาทิ กลุ่มตัวอย่างท่เี ป็นเด็กเลก็ จะต้องใชว้ ิธกี าร สัมภาษณ์ หรอื การสงั เกตแทนการใช้แบบสอบถาม เปน็ ต้น เคร่ืองมือ วิธกี ารท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. ความหมายของเครื่องมือ วธิ ีการทใ่ี ช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล เครอ่ื งมอื วธิ ีการทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล หมายถึง สิ่งพมิ พ์ วัสดุอปุ กรณ์/วิธกี าร ท่ผี วู้ ิจัยไดน้ ามาใช้สาหรบั การเก็บรวบรวมข้อมลู จากกลุ่มตวั อย่าง หรอื ประชากรท่ีศึกษา เพ่อื นาข้อมลู มาวิเคราะห์ใช้ตอบปญั หาการวิจยั ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ซึ่งเครือ่ งมอื วิธีการท่ีใช้ในการวิจัยมี หลากหลาย ซงึ่ ผูว้ ิจัยจะต้องมีความเขา้ ใจและเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ กลุม่ ตัวอย่าง และ การวิเคราะห์ขอ้ มูล 2. ความสาคัญของเครื่องมอื วธิ ีการท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ในการวจิ ยั ใด ๆ ผู้วิจัยจะตอ้ งเลือกใชเ้ คร่ืองมอื วิธีการท่ีใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลทเี่ หมาะสม เพ่ือให้ได้ขอ้ มลู ทไี่ ด้มาตอบปัญหาการวจิ ัยได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และน่าเชอ่ื ถือ โดยท่ีเครื่องมือ ที่ใช้จะต้องมคี ุณภาพที่ดี มกี ระบวนการสร้างและการพฒั นาที่ถกู ต้องตามหลักเกณฑข์ องเครอ่ื งมือ แตล่ ะประเภทด้วย และวิธกี ารจะตอ้ งเลือกให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะของข้อมูล และกลุ่มตัวอยา่ งท่ี ศกึ ษา
หนา้ ที่ 214 บทที่ 8 เครือ่ งมือ วิธกี ารทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. ประเภทเครือ่ งมือ วธิ กี ารท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 แบบทดสอบหรือการทดสอบ 3.1.1 ความหมายของการทดสอบ/แบบทดสอบ แบบทดสอบ(Test) เปน็ ข้อคาถาม หรือสถานการณ์ท่กี าหนดข้ึน เพื่อใชก้ ระตนุ้ หรือ เรง่ เรา้ ความสนใจใหผ้ ู้เรยี นได้แสดงพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของตนเอง ตามที่กาหนดไวใ้ นจุดประสงค์ การเรยี นรู้ การทดสอบ(Testing) เป็นวิธีการวดั ชนิดหนง่ึ ที่มีการใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางโดยใช้ แบบทดสอบเป็นเคร่ืองมือวัด โดยท่กี ารทดสอบเป็นวธิ กี ารที่มีระบบสาหรับ “วดั พฤติกรรมของผเู้ รยี น และใหผ้ ลการวดั แสดงออกมาเป็นคะแนน”(บุญเชิด ภญิ โญพงษ์อนันต,์ 2545 :8) การทดสอบ เปน็ การนาเสนอสงิ่ เรา้ ชุดใดชดุ หนึ่งให้ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งตอบสนองตามวธิ ีการ มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ เพื่อนาผลการตอบสนองมากาหนดเป็นคะแนน ซ่ึงโดยท่ัวไปจะเป็นตัวเลขท่ี แสดงปริมาณบอกลักษณะของพฤติกรรม(เยาวดี วบิ ูลย์ศรี,2540 : 5) 3.1.2 ประเภทของแบบทดสอบ 3.1.2.1 จาแนกตามวธิ ีสรา้ ง สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1) แบบทดสอบท่สี รา้ งข้ึนเอง เปน็ แบบทดสอบที่ผู้วจิ ัยได้สรา้ งขึน้ ตาม จุดประสงค์ของการทดสอบครัง้ นนั้ ๆ โดยเร่ิมตน้ ต้ังแตก่ ารกาหนดจดุ ประสงคข์ องการทดสอบให้ ชัดเจน ดาเนนิ การสร้าง นาไปใหผ้ ้เู ช่ยี วชาญไดต้ รวจสอบ แกไ้ ข แลว้ นาไปทดลองใชเ้ พอื่ นาผล การทดสอบมาวเิ คราะห์คุณภาพของแบบทดสอบทีส่ ร้างขึ้นเพ่ือใช้ปรบั ปรุง แก้ไข จนกระทงั่ แน่ใจวา่ เปน็ แบบทดสอบทม่ี ีคุณภาพในเกณฑ์ท่ียอมรบั ได้จึงจะสามารถนาแบบทดสอบฉบับนน้ั ไปใชไ้ ด้ 2) แบบทดสอบมาตรฐาน(Standardize Test) เป็นแบบทดสอบทีม่ ี บคุ คลกลุ่มบุคคลท่ีมีความเช่ียวชาญในศาสตรน์ นั้ ๆ ไดส้ ร้างไว้แลว้ ซ่งึ แบบทดสอบฉบบั นั้น ๆ ไดผ้ ่าน กระบวนการการนาไปทดลองใช้หลายครัง้ และปรับปรุงแก้ไขคุณภาพจนกระทง่ั เปน็ ทย่ี อมรบั จาก นักวชิ าการศาสตรน์ ั้น ๆ โดยมรี ปู แบบท่เี ป็นมาตรฐานท้ังวิธกี ารทา การตรวจให้คะแนน(ความเปน็ ปรนยั ) และคา่ ปกตวิ ิสัย(Norm)หรือคา่ เฉล่ยี ของคะแนนของกลุ่มประชากรท่ีทาแบบทดสอบพร้อมกับ ระบคุ ่าของคณุ ลักษณะทจี่ าเป็นของแบบทดสอบได้แก่ ความเท่ียงตรง(Validity) และความเชือ่ มัน่ (Reliability) 3.1.2.2 จาแนกตามลักษณะในการนาไปใช้ สามารถจาแนกได้ ประเภท ได้แก่ 1) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น(Achievement Test) เป็น แบบทดสอบท่ีใชว้ ัดความสามารถดา้ นสติปญั ญาในเน้ือหาวิชาวา่ ผู้เรียนมกี ารเรียนร้ทู บ่ี รรลจุ ดุ ประสงค์ ท่ีกาหนดไว้มากหรือนอ้ ยเพียงใด 2) แบบวัดความพรอ้ ม(Rediness Test) เป็นแบบทดสอบทใ่ี ชว้ ดั ความพร้อมของผู้เรียนว่ามีความพร้อมทจ่ี ะสามารถเรยี นรไู้ ดต้ ามจุดประสงคท์ ่ีกาหนดไว้หรอื ไม่ หรือมี ความพร้อมใดท่คี วรจะไดร้ บั การฝกึ ฝนเพม่ิ เติมก่อนเขา้ เรยี นรู้
ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 215 3) แบบทดสอบวินิจฉยั (Diagnostic Test) เป็นแบบทดสอบที่ใชว้ ดั หรอื ตรวจสอบจดุ บกพร่องหรือจุดเด่นของผู้เรียนในแต่ละเนื้อหาวิชา เพื่อท่ีจะไดน้ าผลการทดสอบนน้ั มา ใชเ้ พอื่ แกไ้ ขจุดบกพร่องหรือเสริมจุดเด่นให้แก่ผูเ้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น 4) แบบทดสอบเชาวน์ปญั ญา(Intellegence Test) เป็นแบบทดสอบ ที่ใชว้ ัดความสามารถด้านกระบวนการคิด หรอื ความสามารถในการแกป้ ญั หาในสถานการณใ์ หม่ ๆ โดยใชป้ ระสบการณเ์ ดิม อาทิ แบบทดสอบเชาวน์ปญั ญาของสแตนฟอรด์ -บิเนต์ หรอื แบบทดสอบ เชาวน์ปญั ญาของเวคส์เลอร์ เปน็ ต้น 5) แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบ วดั พฤตกิ รรมหรอื ความสามารถเฉพาะด้านของผเู้ รยี นท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคต อาทิ แบบทดสอบ วัดความถนัดทางวิศวกรรม หรอื แบบทดสอบวัดความถนัดทางภาษา เปน็ ต้น 6) แบบสารวจบุคลกิ ภาพ(Personality Inventories) เป็นแบบทดสอบ ทใ่ี ชว้ ดั คุณลกั ษณะ ความต้องการ การปรับตัว หรอื ค่านิยมตา่ ง ๆ ของบุคคล 7) แบบสารวจความสนใจด้านอาชีพ(Vocational Interest Inventories) เป็นแบบทดสอบท่ีใช้สารวจความสนใจของบุคคลเกีย่ วกบั อาชีพ หรืองานอดเิ รกที่ ตนเองต้องการประกอบอาชีพหรอื ปฏิบัติ 3.1.3 หลักการในการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ในการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนให้เปน็ แบบทดสอบทม่ี ีคุณภาพ ตามทต่ี ้องการ มหี ลักการทจ่ี ะนามาใชใ้ นการดาเนนิ การสรา้ ง ดังนี(้ Gronlund, 1993 : 8-11) 3.1.3.1 กาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรูท้ ่ีระบุพฤติกรรมทีช่ ดั เจน สามารถวัด และสังเกตได้ 3.1.3.2 สร้างแบบทดสอบให้มคี วามครอบคลมุ พฤตกิ รรมการเรียนรทู้ าง ดา้ นสติปัญญาทุกระดบั 3.1.3.3 สร้างแบบทดสอบทว่ี ดั พฤตกิ รรมหรือผลการเรยี นรูท้ เี่ ป็นตัวแทนของ กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยกาหนดตวั ช้วี ัด และขอบเขต แลว้ เขียนข้อสอบตามตัวชีว้ ัดจากขอบเขต ท่ีกาหนดข้นึ 3.1.3.4 สรา้ งแบบทดสอบที่หลากหลายประเภท เพื่อใหเ้ หมาะสมและ สอดคล้องกบั พฤติกรรมการเรยี นรู้ 3.1.3.5 สร้างแบบทดสอบท่ีคานงึ ถงึ การใช้ประโยชน์จากผลการทดสอบไปใช้ อาทิ สร้างแบบทดสอบระหวา่ งเรียน(Formative Test) เพ่ือนาผลไปใช้ในการปรับปรุงการเรียน การสอน หรือสร้างแบบทดสอบหลังการเรยี น(Summative Test) เพ่อื นาผลไปใชใ้ นการตัดสนิ ผลการเรยี น 3.1.3.6 กาหนดเกณฑก์ ารให้คะแนนคาตอบท่ีมีความชดั เจน และมคี วามเชอ่ื ม่นั
หน้าที่ 216 บทท่ี 8 เครื่องมือ วิธีการทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 3.1.4 ขนั้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ในการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนท่ีมคี ุณภาพ มีขนั้ ตอนใน การดาเนนิ การดังน้ี(ศิรชิ ัย กาญจนวาส,ี 2544 :133) 3.1.4.1 กาหนดจดุ มงุ่ หมายของการทดสอบ(Specification of Purpose) ในการกาหนดจุดมุง่ หมายของการทดสอบจะไดม้ าจากสร้างตารางการวิเคราะหห์ ลักสตู ร ที่จาแนกให้ เหน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบย่อยทเี่ ก่ยี วข้องกัน ไดแ้ ก่ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา กิจกรรม/ ประสบการณ์ และพฤติกรรมท่เี ป็นจุดหมายปลายทางของหลกั สตู รท่จี ะทาให้เหน็ ว่า สอนหรอื ทดสอบทาไม(จดุ มงุ่ หมายของการเรียนรูแ้ ละการทดสอบ) และสอนหรอื ทดสอบอะไร(เนื้อหาและ นา้ หนกั ความสาคัญ) และควรดาเนินการสอนหรือทดสอบอยา่ งไร(วธิ ีการสอน สื่อและเวลาท่ีใช้/ วิธกี ารสอบ รปู แบบของแบบทดสอบและเวลาทใี่ ช้) 3.1.4.2 ออกแบบการสรา้ งแบบทดสอบ(Test Design) เป็นการกาหนด รปู แบบ ขอบเขตเน้ือหาและแนวทางการสร้างและพัฒนาเพ่ือใหไ้ ด้ข้อสอบและแบบทดสอบท่มี ี คณุ ภาพ ที่มขี น้ั ตอนในการดาเนนิ การ ดงั นี้ 1) วางแผนการทดสอบ เปน็ การกาหนดของครูผูส้ อนวา่ ใน แตล่ ะภาคเรยี นจะมีการทดสอบอะไรบ้าง อย่างไร แตใ่ นหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2544 กาหนดให้มีการทดสอบ 3 ลกั ษณะ ดังน้ี (1)การทดสอบก่อนเรยี น(Pretest) เปน็ การทดสอบ เพอ่ื ตรวจสอบความพรอ้ ม/ความรูพ้ ื้นฐานหรือจัดกล่มุ ผู้เรยี น (2) การทดสอบระหว่างเรยี นภาคเรยี น(Formative) เป็น การทดสอบเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า หรอื จุดบกพร่องทค่ี วรปรับปรงุ แก้ไข ทีจ่ าแนกเปน็ การทดสอบย่อย การทดสอบการปฏบิ ตั ิในระหว่างเรียน (3) การทดสอบสรุปผล(Summative) เป็นการทดสอบ เพ่อื สรุปผลหลงั จากเสร็จสิ้นการเรยี นการสอนในรายวิชาน้ัน ๆ 2) กาหนดรูปแบบของการทดสอบ เป็นการพิจารณาของการใช้ รูปแบบการทดสอบทเี่ หมาะสมกับสมรรถภาพและเน้ือหาในการทดสอบแตล่ ะครัง้ ท่ีจาแนกได้ดงั นี้ (1) แบบทดสอบอิงเกณฑ์ และแบบทดสอบอิงกล่มุ (2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หรอื แบบทดสอบเน้น การปฏบิ ตั ิ (3) แบบทดสอบแบบอตั นัย และแบบทดสอบแบบปรนยั (4) แบบทดสอบแบบใชค้ วามเรว็ และแบบทดสอบใช้ สมรรถภาพสูงสดุ (5) แบบทดสอบเปน็ กลุ่มและแบบทดสอบเปน็ รายบุคคล
ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 217 3) การสรา้ งแผนผงั การทดสอบ เปน็ การสรา้ งแผนผังที่แสดง ความสมั พนั ธแ์ ละความสอดคลอ้ งระหวา่ งจดุ ประสงค์และการสร้างแบบทดสอบ ทาให้พิจารณา จดุ ประสงค์ น้าหนักความสาคัญ ความถข่ี องการทดสอบ และรปู แบบของการทดสอบ 4) สรา้ งแผนผังการทดสอบเปน็ ตารางที่สรา้ งเพื่อนาเสนอวา่ การทดสอบแต่ละคร้ังวา่ จะวัดเนอ้ื หาอะไร และมจี ุดประสงค์อะไรบ้างโดยระบุเน้ือหายอ่ ยในแต่ละ จดุ ประสงค์พร้อมท้งั กาหนดน้าหนักความสาคัญ หรือสัดสว่ นของขอ้ สอบทจ่ี ะต้องสรา้ งและพฒั นา 3.1.4.3 เขียนข้อสอบ เปน็ ข้ันตอนของการเขียนขอ้ สอบที่ครูผู้สอบต้องมี ความรู้ในเนื้อหาสาระเปน็ อย่างดแี ละมีทกั ษะในการเขียนข้อสอบ ท่ีมีการดาเนินการ ดงั น้ี 1) กาหนดลกั ษณะเฉพาะของข้อสอบ เป็นการกาหนด ลักษณะเฉพาะของข้อสอบตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ทช่ี ่วยใหป้ ระหยัดเวลาในการเขยี นข้อสอบ คร้งั ต่อไป หรอื ใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบคขู่ นาน 2) กาหนดขอ้ สอบฉบบั รา่ ง เปน็ การเขียนข้อสอบตาม ลักษณะเฉพาะ และใหม้ ีจานวนขอ้ สอบตามสัดสว่ นทก่ี าหนดไว้ ทคี่ รูผู้สอนอาจจะสรา้ งข้อสอบทลี ะข้อ ในบตั รข้อสอบ(Item Card) ทีร่ ะบรุ ายละเอียดเกี่ยวกบั ข้อสอบข้อน้นั ผลการวเิ คราะห์คุณภาพของ ขอ้ สอบ หรือการนาไปใช้ และควรสรา้ งเกนิ จานวนท่ตี ้องการไว้ประมาณ 25 % เพ่อื สาหรบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขหรอื ตัดออกขอ้ สอบข้อที่ไม่มีคุณภาพ 3) ทบทวนและตรวจสอบแบบทดสอบฉบับร่าง เป็นการทบทวน แบบทดสอบสอบฉบับร่างท่ีได้สร้างเสรจ็ แล้ว จาแนกได้ดงั น้ี (1) ทบทวนและตรวจสอบโดยตนเอง เปน็ การทบทวนและ ตรวจสอบแบบทดสอบฉบบั ร่างทีไ่ ด้สรา้ งแลว้ ท้ิงไวส้ ักระยะเวลาหนง่ึ ก่อนที่จะนามาตรวจสอบ ด้วยตนเองโดยคิดวา่ ตนเองเป็นผู้สอบ เพอ่ื ตรวจสอบความเทย่ี งตรงตามจดุ ประสงค์ สดั ส่วนของ ขอ้ สอบ ความซ้าซ้อน ความสมเหตุสมผลและความชดั เจนของภาษาท่ีใช้ (2) ทบทวนและตรวจสอบโดยผอู้ ่ืน เปน็ การนาไปให้ ผเู้ ชี่ยวชาญในศาสตร์น้นั ๆ ไดต้ รวจสอบความเทีย่ งตรงตามจุดประสงค์ ความซ้าซ้อน ความครอบคลมุ และความชดั เจนของคาถามและคาตอบท่ีกาหนดให้ (3) การปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ เปน็ การนาข้อสอบทผ่ี า่ น การทบทวนและตรวจสอบมาปรบั ปรงุ แก้ไขตามคาแนะนา แลว้ รวบรวมขอ้ สอบจัดทาเป็น แบบทดสอบฉบับที่พรอ้ มจะนาไปทดลองใช้ โดยมคี าแนะนาในเรยี บเรยี งข้อสอบในแบบทดสอบ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นี้
หน้าท่ี 218 บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล (3.1) ถา้ แบบทดสอบฉบบั เดียวกนั ประกอบด้วยข้อสอบ หลายประเภท ควรกาหนดให้เป็นส่วน ๆ โดยทสี่ ่วนเดียวกนั จะเปน็ ข้อสอบประเภทเดียวกนั เรยี งลาดับจากประเภทที่ตอบได้ง่ายไปสู่ประเภทที่มกี ารตอบซบั ซ้อน ดงั นี้ ข้อสอบแบบถูกผดิ ข้อสอบ แบบจบั คู่ ข้อสอบแบบตอบสั้น ๆ ข้อสอบแบบเลือกตอบ และข้อสอบแบบเขยี นตอบ ตามลาดบั (3.2) ในข้อสอบแตล่ ะตอน ควรเรียงลาดับข้อสอบตาม จุดประสงคจ์ ากง่ายไปสู่จดุ ประสงค์ท่ีซับซอ้ น อาทิ ความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินค่า (3.3) ขอ้ สอบในแตล่ ะตอน ควรเรยี งลาดับตามความยากง่าย ของขอ้ สอบจากง่ายไปสู่ยาก 3.1.4.4 การทดลองใช้ และการวิเคราะหข์ ้อสอบ เป็นข้นั ตอนของการนา ขอ้ สอบทไี่ ด้รับการทบทวนและตรวจสอบ ปรบั ปรุงแกไ้ ขแล้วไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตัวอย่างท่มี ีลักษณะ ใกล้เคียงกบั กลุม่ ผสู้ อบทจี่ ะนาแบบทดสอบไปใช้จรงิ อย่างน้อยจานวน 50 คน เพ่ือให้ได้ผล การวิเคราะห์ขอ้ สอบทน่ี ่าเชื่อถือ และในการคดั เลอื กกลุม่ ตัวอย่างตอ้ งระมัดระวังการรักษาความลบั ของแบบทดสอบและความเป็นตวั แทนของกลมุ่ ผสู้ อบท่ีต้องการนาไปใช้จริงและให้ไดผ้ ลลัพธ์ว่า กล่มุ ตัวอย่างมปี ฏกิ ิรยิ าอย่างไรต่อข้อสอบ และมีปัญหาอะไร ที่จะนามาวิเคราะห์เพ่อื คัดเลือกข้อสอบ ท่เี หมาะสมจดั ทาแบบทดสอบที่มีคุณภาพต่อไป โดยมีข้ันตอน ดงั นี้ 1) การวิเคราะหข์ ้อสอบ (Item Analysis) จาแนกเปน็ ดังน้ี (1) การวิเคราะห์ทางกายภาพ ที่เป็นข้อมลู และปัญหาของ ข้อสอบทางกายภาพของข้อสอบ อาทิ ความชัดเจนของคาช้แี จง คาถามและคาตอบ ความเหมาะสม ของการใช้ภาษา ความยาวของแบบทดสอบ ระยะเวลาที่กาหนดให้ และรูปแบบการพิมพ์ เปน็ ต้น (2) การวิเคราะห์เชิงปรมิ าณ เป็นการนาข้อมลู ที่ได้จาก การการตอบแบบทดสอบของกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อ เพื่อหาความยาก อานาจ จาแนก และประสิทธภิ าพของตัวลวง 2) การคัดเลอื กข้อสอบเพื่อจดั ทาแบบทดสอบ เปน็ การคัดเลือก ข้อสอบทีม่ ีคุณภาพ คอื มีความยากท่ีเหมาะสม(มีค่าประมาณ0.2-0.8) และมอี านาจจาแนกสงู (มคี า่ ต้ังแต่ 0.2จนกระทง่ั เขา้ ใกล้ 1.00) แตใ่ นบางครั้งในการคดั เลือกข้อสอบอาจเลอื กข้อสอบที่มี อานาจจาแนกไม่สูงมาก เพ่ือใหข้ ้อสอบท่คี ัดเลือกมีความครอบคลุมเน้ือหาทตี่ ้องการ เมื่อได้ข้อสอบ ครบถ้วนแลว้ จึงนามาจัดพมิ พ์เปน็ แบบทดสอบฉบบั สมบูรณ์ 3) การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบท้งั ฉบบั เปน็ การนาข้อมูลของ ขอ้ สอบท่ไี ดร้ ับการคัดเลอื กเป็นแบบทดสอบมาคานวณค่าความเทย่ี งตรง และความเช่ือม่ันทีเ่ ปน็ ข้อมลู เบ้ืองตน้ ดงั น้ันจะต้องนาแบบทดสอบฉบับนี้ไปทดลองใชแ้ ล้วนาผลมาวิเคราะหแ์ ละรายงาน คา่ ทสี่ มบรู ณ์อกี ครง้ั หนึง่
ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 219 3.1.4.5 การนาแบบทดสอบไปใช้ เปน็ การจดั สภาพแวดล้อมและปจั จัยท้งั ทางกายภาพและ จติ วทิ ยาท่ีมีอิทธิพลต่อการแสดงความสามารถในการตอบคาถามของผสู้ อบ หรือ ผสู้ อบทุกคนจะตอ้ ง ได้ความยตุ ิธรรมอย่างเทา่ เทียมกันในการแสดงความสามารถจากการเรียนรตู้ ามท่ีแบบทดสอบ ต้องการวัดท่ีสภาพแวดล้อมและปจั จัยที่จะต้องควบคมุ มดี ังน้ี 1) คาช้แี จง เป็นคาชีแ้ จงสาหรบั ผ้สู อบและผู้ดาเนินการสอบ ท่ีจะกาหนดแนวทาง ทีช่ ดั เจนในการจัดห้องสอบ การแจกและเกบ็ แบบทดสอบ เวลาทใี่ ช้ และแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ อาจจะเกดิ ขึ้นในระหวา่ งการทดสอบท่จี ะต้องปฏบิ ตั ิอยา่ งเคร่งครดั การตอบคาถามในแต่ละตอนลงใน แบบทดสอบหรือกระดาษคาตอบ พร้อมท้ังกาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนอย่างชัดเจน 2) กาหนดเวลาในการทดสอบ เป็นการกาหนดเวลาอยา่ งเหมาะสม ทจี่ าแนกตามประเภทของแบบทดสอบ ความซับซอ้ นของจุดประสงค์ ระดับอายุของผู้สอบ และ สัดสว่ นของจานวนคาบหรอื หนว่ ยกิตของวิชา เปน็ ตน้ 3) การปฏิบตั ิการทดสอบ ที่เป็นการจดั สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม ทัง้ ทางกายภาพและจติ วทิ ยาท่มี ีผลกระทบต่อการแสดงความร้คู วามสามารถของผู้สอบ 4) การตรวจให้คะแนน เปน็ การตรวจใหค้ ะแนนของข้อสอบท่ี สอดคลอ้ งกนั ระหวา่ งผตู้ รวจข้อสอบในการให้คะแนนข้อสอบแบบอตั นัย และถ้าเปน็ แบบทดสอบแบบ เลือกตอบทมี่ ีผู้สอบจานวนมากอาจจะใชเ้ ครื่องจักรในการตรวจ และที่สาคญั คือการใหค้ ะแนนจะต้อง มีความเปน็ ปรนยั ในการตรวจใหค้ ะแนน ทม่ี ีการดาเนินการ ดังน้ี (1) มีการจดบนั ทึกคาตอบทีช่ ัดเจนและสมบูรณ์ จาแนกได้ดงั น้ี (1.1) การบันทึกคาตอบของผู้สอบท่จี ะตอ้ งบันทึกคาตอบ อย่างชัดเจน และถา้ มีการแก้ไขจะต้องดาเนินการตามขนั้ ตอนทกี่ าหนดไว้ (1.2) การบันทกึ ผลการปฏิบตั ิของครูผูส้ อนท่เี ปน็ ผ้สู ังเกต จะตอ้ งบนั ทกึ ผลทนั ที และสมบรู ณ์ ไมค่ วรใชก้ ารจดจาแลว้ นามาบนั ทึกผลในภายหลัง (2) มีการเฉลยคาตอบท่ีถูกต้องสาหรับการตรวจใหค้ ะแนน เปน็ กาหนดคาเฉลยคาตอบไว้ล่วงหน้าและเป็นคาตอบทเ่ี ป็นที่ยอมรับของผู้ตรวจคาตอบทกุ คน (3) มีการระบเุ กณฑ์การให้คะแนนทชี่ ัดเจน โดยเฉพาะการตอบ แบบทดสอบแบบอัตนัยวา่ คาตอบควรจะครอบคลมุ ประเด็นใดบ้าง และมีนา้ หนักของคะแนนเทา่ ไรใน แตล่ ะประเดน็ แตจ่ ะไม่เปน็ ปัญหาสาหรบั การตอบแบบเลือกตอบ 3.1.4.6 การวเิ คราะห์แบบทดสอบ เปน็ การนาผลการทดสอบที่ได้จาก การนาไปใช้ เพ่ือทราบลกั ษณะเบือ้ งตน้ ของคะแนนสอบ และการวเิ คราะห์แบบทดสอบ เพอ่ื หาคณุ ภาพของแบบทดสอบในดา้ นความเทยี่ งตรงและความเชื่อมัน่ ดงั น้ี 1) การวเิ คราะหค์ ่าสถติ ิเบื้องต้นของแบบทดสอบ เปน็ การคานวณ ดงั น้ี
หนา้ ที่ 220 บทที่ 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล (1)คา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เพ่ือทราบผลการสอบ ของผ้เู รียนในภาพรวมวา่ อยใู่ นระดบั ใด และมคี ะแนนที่ใกล้เคยี งกันมากน้อยเพียงใด (2) ศึกษาลักษณะและการแจกแจงของคะแนนสอบเพ่ือให้ได้ ขอ้ มูลท่ีมีประโยชนต์ ่อการแปลความหมายของคะแนน และการปรบั ปรงุ แบบทดสอบ 2) การวิเคราะห์แบบทดสอบ เป็นการนาข้อมลู การตอบท้งั ฉบับ ของผสู้ อบมาวิเคราะห์ว่าสามารถใช้วัดผลการเรียนรูต้ ามสิ่งทตี่ อ้ งการวัดหรอื ไม่ และผลของการวดั มี ความคงเส้นคงวาหรือไม่ ทีใ่ ช้สาหรบั ระบคุ วามคลาดเคล่อื นของการวดั ความนา่ เช่ือถอื ของและการ แปลผลของคะแนนสอบ 3.1.4.7 แก้ไข ปรับปรุงแบบทดสอบ เปน็ การนาแบบทดสอบไปใช้ หลาย ๆ ครั้งตามเง่ือนไขทก่ี าหนดไว้แลว้ วิเคราะห์ผลซ้า เพ่ือใช้เป็นข้อมูลยืนยนั วา่ เปน็ แบบทดสอบท่ี มคี ณุ ภาพ และอาจจะนาผลมาพฒั นาเปน็ เกณฑ์ปกติ เพอ่ื เปน็ บรรทัดฐานของการเปรยี บเทียบ ความหมายของคะแนน และอาจเก็บรวบรวมข้อสอบไวเ้ พื่อสรา้ งและพัฒนาเปน็ ธนาคารข้อสอบตอ่ ไป 3.2 แบบสอบถาม/การสอบถาม 3.2.1 ความหมายของแบบสอบถาม แบบสอบถาม (Questionnaire) เปน็ ชดุ ของคาถามที่ผู้วจิ ยั กาหนดขึ้นเพื่อใช้วัด คุณลกั ษณะ เจตคตหิ รือความคดิ เห็นของบุคคล โดยใช้ขอ้ คาถามเปน็ ตัวกระตุน้ หรือสิ่งเร้าให้ผใู้ ห้ ข้อมูลไดแ้ สดงการตอบสนองตามความร้สู ึกของตนเอง 3.2.2 ประเภทของแบบสอบถาม ในการวิจัยใด ๆ ไดจ้ าแนกแบบสอบถามตามลกั ษณะของชุดคาถาม เป็น 2 รูปแบบ ดังน้ี 3.2.2.1 แบบสอบถามปลายเปดิ (Open-Ended Form) เป็นแบบสอบถาม ทีก่ าหนดให้เพยี งข้อคาถามเท่านน้ั สาหรับคาตอบนนั้ จะเป็นหนา้ ทข่ี องผู้ใหข้ ้อมูลทจ่ี ะได้แสดง ความคิดเห็นของตนเองอย่างอิสระ และเป็นแบบสอบถามทต่ี อบยากและเสยี เวลาในการตอบ ซึ่งจะ เหน็ ได้จากสารวจแบบสอบถามใด ๆ ท่ีมีคาถามปลายเปิดด้วย จะคอ่ นข้างไม่ได้รบั คาตอบ หรอื ได้รบั กลบั คนื น้อยมาก แต่ถา้ เปน็ ในกรณีทจ่ี ะสอบถามเก่ยี วกับเจตคติ แรงจูงใจ หรือสาเหตุ ฯ กย็ งั จะมี การนามาใช้อยเู่ สมอ ๆ อาทิ 1) ทา่ นเลอื กประกอบอาชีพครู เพราะ..............หรอื ........................... 2) อาชพี ครูตามความคิดเห็นของท่าน......................................เปน็ ต้น ดงั ท่ี อาธง สุทธาศาสน์(2527 : 148-149) ไดน้ าเสนอข้อดีและข้อจากดั ของคาถาม แบบปลายเปดิ ดังนี้ 1) ข้อดขี องคาถามแบบปลายเปดิ (1) ไดร้ ับข้อมูลท่นี อกเหนือประเดน็ การคาดคะเน/การกาหนดของผวู้ ิจยั ทขี่ นึ้ อยู่กบั ความรู้และประสบการณข์ องผู้ใหข้ ้อมลู ที่มปี ระโยชน์ต่อการนามาวิเคราะหเ์ พ่ือสรุปผลและนาเสนอ
ระเบยี บวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 221 (2) ไดร้ ับข้อมลู ท่ีมรี ายละเอียด ชดั เจน ทีส่ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผใู้ ช้ข้อมูล อย่างแท้จรงิ (3) ไดร้ ับขอ้ มลู ตามข้อเท็จจริงทอ่ี าจจะกาหนดไมเ่ พียงพอต่อการเลือกตอบ (4) ได้รับข้อมลู ท่ลี กึ ซ้ึงและซับซ้อน 2) ข้อจากัดของคาถามแบบปลายเปดิ (1) สรปุ ประเดน็ คาตอบจากข้อมลู ท่ีไดร้ ับค่อนข้างยงุ่ ยาก (2) การใช้สถิติเปรียบเทยี บระหว่างข้อมลู ท่ีได้รับทาไดย้ ากเน่อื งจากขอ้ มูลมี ความแตกต่างกนั (3) ใช้ไดด้ กี บั ผูใ้ ห้ข้อมูลท่ีมกี ารศึกษาในระดบั สูง และมีทักษะในการเขียน/ใช้ภาษา (4) กาหนดรหัสแทนคาตอบท่ีไดร้ ับค่อนข้างยาก มคี วามเป็นอัตนัยสงู (5) ใช้เวลาในการตอบค่อนขา้ งมาก เพราะต้องคดิ ไตรต่ รองคาตอบทส่ี อดคลอ้ งกับ ความรสู้ กึ ที่แท้จริง สง่ ผลใหไ้ ดร้ บั ข้อมลู กลับคืนมามากขึ้น 3.2.2.2 แบบสอบถามปลายปิด (Close-Ended Form) เปน็ แบบสอบถาม ทก่ี าหนดท้ังคาถามและตวั เลอื ก โดยให้ผตู้ อบไดเ้ ลือกคาตอบจากตัวเลอื กนนั้ ๆ และเป็น แบบสอบถามท่ีใช้เวลาในการสร้างค่อนข้างมากแตจ่ ะสะดวกสาหรบั ผตู้ อบ ซงึ่ ข้อมลู ท่ีได้จะสามารถ นาไปวิเคราะหไ์ ด้ง่าย และนาเสนอได้อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน จาแนกเป็น 5 รปู แบบ ดังนี้ 1) แบบตรวจสอบรายการ(Checklist) เปน็ แบบสอบถามท่กี าหนดให้ ผูต้ อบเลอื ก 1 คาตอบ หรือหลายคาตอบจากตัวเลอื ก 2) แบบจดั ลาดับความสาคญั (Ordering Scale) เปน็ แบบสอบถามท่ี ใหผ้ ู้ตอบได้เรียงลาดบั ความสาคญั ของตวั เลือกที่กาหนดให้จากมากไปน้อย หรอื จากนอ้ ยไปมาก 3) แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) เปน็ แบบสอบถามที่ให้ ผูต้ อบประเมนิ /แสดงระดับความคดิ เห็นเก่ียวกบั ประเดน็ ท่กี าหนดให้ 4) แบบใชค้ วามแตกตา่ งแห่งความหมายทางภาษา(Semantic Differential Scale) เป็นแบบสอบถามทกี่ าหนดคาและคาทีต่ รงขา้ มกนั เปน็ คู่ ๆ แล้วให้ผู้ตอบได้ ประเมินตามความคดิ เหน็ 5) แบบสร้างสถานการณ์ (Situational Questionnaire) เป็น แบบสอบถามท่ีกาหนดสถานการณ์ แล้วให้ผูต้ อบได้พิจารณาเลอื กตอบตามความรู้สึก คุณธรรม หรอื จรยิ ธรรม ดังที่ อาธง สทุ ธาศาสน์(2527 : 148-149) ได้นาเสนอข้อดีและข้อจากัดของคาถาม แบบปลายปดิ ดังน้ี 1) ข้อดีของคาถามแบบปลายปิด (1) ได้รบั ข้อมูลท่มี ีลักษณะเดยี วกนั ทาใหง้ า่ ยต่อการสรุปผลและเปรยี บเทียบ (2) ผู้ใหข้ ้อมูลมีความสะดวก งา่ ยในการตอบคาถาม อาจเน่ืองจากคาตอบทีก่ าหนดให้ เลอื กทาใหข้ ้อคาถามมีความชัดเจน
หน้าที่ 222 บทที่ 8 เครือ่ งมือ วิธีการท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (3) ไดร้ ับข้อมลู ทค่ี รบถ้วน และสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์/ประเด็นที่ตอ้ งการ (4) ได้รับคาตอบท่ีผ้ใู ห้ข้อมลู ไม่ต้องการตอบในลกั ษณะของการประมาณคา่ 2) ข้อจากดั ของคาถามแบบปลายปิด (1) ถา้ มคี าตอบ “ไม่ทราบ” เป็นตวั เลอื ก จะได้รับค่อนข้างมาก เน่ืองจากตอบได้งา่ ย (2) ไม่มีตวั เลือกทีส่ อดคล้องกับความเปน็ จรงิ ของผใู้ ห้ขอ้ มลู (3) ตวั เลอื กมากเกินไปอาจจะทาใหเ้ กดิ ความสบั สน (4) การให้ข้อมูลเดยี วกันอาจเกดิ เนื่องจากการเข้าใจในข้อคาถามท่ีแตกต่างกนั ก็ได้ (5) ความแตกต่างของการให้ขอ้ มลู เป็นไปตามเงอ่ื นไข/ตัวเลือกท่ีกาหนดให้เทา่ น้ัน (6) ขอ้ ผิดพลาดทีเ่ กดิ ขึน้ จากการลงรหสั ในการวเิ คราะห์ข้อมูลทค่ี ลาดเคล่ือน หรือ การเลือกข้อที่คลาดเคลื่อนจากทตี่ ้องการ 3.2.3 หลกั การในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม ในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม มีหลักการที่ควรพิจารณาดาเนินการ ดังนี้ (นิภา ศรีไพโรจน,์ 2531:95-97 ; วรรณรตั น์ องึ้ สปุ ระเสริฐ.2543 : 167-168) 3.2.3.1กาหนดขอบเขตของประเด็นท่ีต้องการอย่างชดั เจนว่าต้องการสอบถาม อะไรบ้าง ทีส่ อดคล้องกับปัญหาของการวจิ ยั /วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 3.2.3.2 สร้างและพัฒนาข้อคาถามทม่ี ีความเท่ียงตรง ความครอบคลุมและ ความสาคัญต่อประเดน็ ท่ตี ้องการเทา่ น้ัน ไม่ควรกาหนดข้อคาถามทมี่ จี านวนมากแต่ไมม่ ีประโยชน์ใน การตอบปัญหาการวจิ ยั และแบบสอบถามท่มี ีขอ้ คาถามจานวนมากและซ้าซ้อนกัน จะทาให้ผ้ใู ห้ ขอ้ มลู เกดิ ความเบ่อื หน่ายในการให้ข้อมลู 3.2.3.3 การจัดเรียงลาดับขอ้ คาถาม ควรจัดเรยี งลาดบั ใหม้ ีความต่อเน่ืองสัมพันธ์กนั จากคาถามท่งี ่ายสู่คาถามทีซ่ ับซอ้ นเพื่อย่ัวยุในการให้ข้อมูล จาแนกประเด็นท่ตี ้องการเป็นแต่ละ ประเดน็ ย่อย ๆทรี่ ะบุหวั ข้ออย่างชดั เจนเพ่อื ให้มีความชดั เจนในการใหข้ ้อมูล และข้อคาถามในประเดน็ ทสี่ าคญั ควรกาหนดเปน็ ข้อคาถามตอนตน้ ของแบบสอบถาม เพอ่ื ใหผ้ ใู้ หข้ ้อมูลได้ตอบด้วยความต้ังใจ ไมเ่ บื่อหน่าย ท่อี าจจะทาใหไ้ ด้รบั ผลการวิจัยที่คลาดเคลื่อน 3.2.3.4 การใชล้ กั ษณะของข้อคาถามท่ีดี ทม่ี ลี กั ษณะของการปฏบิ ตั ิและไม่ควรปฏิบัติ ดงั นี้ (สรชัย พิศาลบุตร,2544 : 35-36) 1) ควรใชข้ อ้ ความหรอื ประโยคส้นั ๆ กะทัดรัด และได้ใจความสาคัญ 2) ควรกาหนดข้อคาถามทมี่ ีความชดั เจน โดยมแี นวปฏิบตั ดิ งั น้ี (1) หลกี เลีย่ งขอ้ คาถามทีเ่ ป็นประโยคปฏิเสธเพราะอาจทาใหเ้ กิด ความสับสน แตถ่ า้ จะใชค้ วรเนน้ ใหเ้ ห็นคาปฏิเสธ และประโยคปฏิเสธซอ้ นปฏิเสธไม่ควรนามาใช้ (2) ควรขีดเส้นใตค้ า/ข้อความทส่ี าคัญต้องการเน้น เพือ่ ให้ผู้ใหข้ ้อมูล ไดพ้ จิ ารณาเป็นกรณีพเิ ศษ (3) ไม่ควรกาหนดคา/ขอ้ ความที่ผู้ให้ขอ้ มลู จะมีหลกั เกณฑใ์ น การพิจารณาใหข้ ้อมลู ท่ีไม่สอดคล้องกัน อาทิ บ่อย ๆ คร้ัง ,เสมอ ๆ ฯลฯ
ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 223 3) ไม่ควรกาหนดข้อคาถามในลักษณะคาถามนาท่ีชีแ้ นะคาตอบ อาทิ ท่านมคี วามพึงพอใจ หรือทา่ นมคี วามต้องการ........ เป็นตน้ 4) ไมก่ าหนดขอ้ คาถามที่เปน็ เร่ืองส่วนตัวของผ้ใู ห้ข้อมลู ที่ต้องการปกปิด เป็นความลบั เพราะจะทาให้ไม่ได้รับข้อมลู ที่เปน็ จริง 5) ไมก่ าหนดขอ้ คาถามท่ีไดข้ ้อมูลจากการวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู อืน่ ๆ อาทิ จากการสงั เกต หรือจากการวางแผนการกาหนดกลุ่มตัวอยา่ งที่ชดั เจน เป็นตน้ 6) กาหนดข้อคาถามท่ีมคี วามเหมาะสมกับกล่มุ ตวั อย่างโดยคานึงถึงวุฒิ ภาวะ ระดับการศกึ ษา/สติปัญญา และความสนใจ เป็นตน้ 7) กาหนดขอ้ คาถามทีแ่ ตล่ ะข้อจะมีประเด็นทต่ี อ้ งการเพยี งประเด็นเดยี ว เทา่ นัน้ 8) ถ้าเป็นข้อคาถามปลายปิด ควรกาหนดตัวเลือกให้มีความครบถ้วนตาม ประเด็นทตี่ ้องการ หรอื มิฉะนั้นจะตอ้ งมีการกาหนดตัวเลือก “ไม่แสดงความคิดเหน็ ” หรือ อืน่ ๆ ระบุ เป็นต้น 9) กาหนดตวั เลอื กที่สามารถระบุในเชงิ ปริมาณ และใชค้ า่ สถิติอธิบาย ขอ้ เทจ็ จรงิ ได้ 10) จานวนข้อคาถามไม่ควรมีมากเกนิ ไป เพราะทาใหผ้ ู้ให้ขอ้ มูลเกิด ความเบ่ือหนา่ ย หรือเมื่อยลา้ 3.2.4 รูปแบบของขอ้ คาถามในแบบสอบถาม ในแบบสอบถาม ใด ๆ จะมรี ูปแบบของข้อคาถาม ดงั นี้ (วรรณรัตน์ องึ้ สปุ ระเสรฐิ .2543 : 171-172) 3.2.4.1 ข้อคาถามแบบปลายเปดิ เป็นข้อคาถามท่ีกาหนดใหผ้ ตู้ อบแบบสอบโดยใช้ ความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระ ทาให้ได้ข้อมูลท่ีลกึ ซงึ้ และสะท้อนความรู้สกึ ทแี่ ทจ้ ริง แต่จะต้องระมดั ระวงั ในการกาหนดข้อคาถามทชี่ ัดเจนท่ีส่อื ความหมายเดยี วกนั แก่ผู้ตอบแบบสอบถามทุกคน และการใช้ ภาษาในการตอบข้อคาถามของผ้ตู อบแบบสอบถามทต่ี า่ งกันทาให้การแปลความหมายจากคาตอบ อาจจะมคี วามคลาดเคลือ่ นเกิดขน้ึ และในการวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ ้อมูลทาได้คอ่ นขา้ งยากและใช้ เวลานานในการสรปุ ผล 3.2.4.2 ขอ้ คาถามแบบปลายปิด เปน็ ข้อคาถามท่ีกาหนดตวั เลอื กในแต่ละข้อคาถาม ที่กาหนดให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกคาตอบท่ีสอดคลอ้ งกบั ความคิดเหน็ ของตนเอง จาแนกดงั นี้ 1) มาตรการวัดชว่ งเท่ากนั หรอื มาตราวัดทัศนคติของเทอร์สโตน (1) มาตรวัดช่วงเทา่ กัน(Method of Equal-appearing Intervals) หรอื มาตรการวัดของเทอรส์ โตน(Thurstone’s Scale) เปน็ มาตรการวดั ท่ีเนน้ คุณสมบัติของการวดั ให้ มคี วามเท่ากันโดยจาแนกชว่ งการวัดออกเปน็ 11 ชว่ ง โดยเริ่มจากนอ้ ยทส่ี ดุ ไปหามากที่สุด (Punch.1998 : 95) ดังแสดงตัวอยา่ งมาตรการวดั ในภาพท่ี 8.1
หน้าที่ 224 บทที่ 8 เครือ่ งมือ วธิ ีการท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู น้อยท่ีสดุ มากที่สุด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ภาพที่ 8.1 มาตรการวดั แบบเทอร์สโตน (2) สมมตุ ิฐานเบื้องต้นของมาตรการวดั ของเทอร์สโตน ในการกาหนดมาตรการวัดของเทอรส์ โตน มขี ้อสมมตุ ิฐานเบื้องตน้ ที่ ผทู้ ่ใี ชม้ าตราวัดนี้ควรทราบ มีดังนี้ (สวสั ดิ์ สคุ นธรงั ษี,2517 : 234 อ้างอิงใน บุญธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ทุ ธิ,์ 2534 : 125) (2.1) เจตคติของบคุ คลในแต่ละเรอื่ ง เป็นช่วงของความชอบที่ ไมส่ ามารถจาแนกออกเปน็ ส่วน ๆ (2.2) ความคิดเห็นทแ่ี สดงออกเปน็ ดชั นที บี่ ง่ ช้ีระดบั เจตคตขิ อง บคุ คล (2.3) ความคดิ เหน็ ในแต่ละเร่อื งของบุคคล ชีไ้ ดว้ ่าบุคคลมี เจตคติในระดับชว่ งใดของความชอบ ฉะน้ันความคิดเหน็ น้จี ึงต้องกาหนดค่าได้ในระดับใดในชว่ งของ ความชอบ (2.4) ระดับเจตคติในชว่ งของความชอบ ไดแ้ ก่ ระดบั ในเกณฑ์ เฉลย่ี ของความคดิ เห็นที่แสดงออก ซง่ึ ความคดิ เหน็ ในแต่ละข้อของบุคคลเดียวกนั ย่อมมคี ่าในชว่ งของ ความชอบทีใ่ กล้เคียงกนั (3) ขั้นตอนการสร้างมาตรวัดเจตคติของเทอร์สโตน (3.1) กาหนดข้อความเก่ียวกับเจตคติที่ต้องการให้มากที่สุดจาก เอกสาร ผรู้ ว่ มงาน ผูท้ รงคุณวฒุ ิ หรือจากปรากฏการณท์ ั้งเชงิ บวกและเชงิ ลบ ทีม่ ีลักษณะ ดังนี้ (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ 2528 : 13) - เป็นข้อความทแ่ี สดงความคดิ เหน็ (มาก-นอ้ ย)ไม่ใช่ ข้อเทจ็ จริง(ถูก-ผิด) - เป็นข้อความทมี่ คี วามเกี่ยวข้องกับเจตคตทิ ่ีตอ้ งการ ศึกษา - เปน็ ข้อความท่ีแปลความหมายได้ลักษณะเดียว - เปน็ ข้อความทีง่ ่าย ๆ ไม่ซบั ซ้อน - เป็นขอ้ ความท่ีใชภ้ าษางา่ ย ๆ ส้ัน และชัดเจน - เปน็ ข้อความท่ีสมบูรณ์ และกาหนดความหมายทศั นคติ ต่อสิ่งใดสิง่ หนงึ่ โดยเฉพาะ - เปน็ ขอ้ ความที่มแี นวคดิ ท่ีสมบูรณเ์ พียงประการเดียว
ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 225 (3.2)จดั ทาโครงรา่ งแบบมาตรการวดั ทรี่ ะบุข้อความเพือ่ ให้ ผู้เชย่ี วชาญไดพ้ จิ ารณาความเกีย่ วข้องของข้อความท่ีกาหนดกบั ทศั นคติท่ีต้องการ และการกาหนด ตาแหน่งมาตรการวัด จากเกณฑท์ ่ีกาหนดให้ ดังนี้ เห็นด้วยอยา่ งยง่ิ ให้ 11 คะแนนและเรยี งลงมา ตามลาดบั ให้ 6 คะแนน เม่ือไมแ่ นใ่ จ และไมเ่ หน็ ด้วยจากน้อยไปมาก คือ 5,4,3,2,1 ตามลาดบั (3.3) การพิจารณาเบ้ืองต้นจากการพิจารณาของผเู้ ชย่ี วชาญ ให้ตัดขอ้ ความที่ไดค้ ะแนนน้อยออกก่อนท่ีจะดาเนินการขั้นต่อไป (3.4) การหาค่าทางสถติ ิตามความคดิ เห็นของรา่ งมาตรวัด โดยใชค้ ่ามธั ยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (3.5) การเลอื กข้อความท่นี ามาใช้ มขี ้นั ตอน ดงั นี้ (เพ็ญแข แสงแก้ว. 2541 : 90) - เรียงข้อความตามค่ามธั ยฐานแตล่ ะข้อ และพิจารณา วา่ ขอ้ ความนัน้ มาจากชว่ งคะแนนใด(1-11) - ถา้ ขอ้ ใดมคี ่ามธั ยฐานเท่ากนั ให้เรยี งลาดับตามส่วน เบ่ียงเบนควอไทล์จากน้อยไปมาก - เลอื กใชข้ อ้ ความท่ีมีสว่ นเบ่ียงเบนควอไทลต์ ่า ๆ ท่ี แสดงวา่ ผเู้ ช่ยี วชาญมีความคดิ เห็นท่ีไมแ่ ตกตา่ งกนั (ส่วนเบย่ี งเบนควอไทลค์ วรต่ากว่า 1.67 แสดงวา่ มีการใช้ภาษาทช่ี ดั เจน และมีค่ามธั ยฐานทแ่ี ตกตา่ งกัน (ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ 2528 : 155)โดยมเี กณฑก์ ารประเมนิ คา่ ระดบั ความคดิ เห็นตามมาตรการวัดเจตคติของเทอรส์ โตน มดี ังนี้ (เพญ็ แข แสงแก้ว,2541 : 49) คา่ มธั ยฐาน 1.00 - 3.00 แสดงว่า มเี จตคติท่ีไม่ดีอย่างยง่ิ คา่ มัธยฐาน 3.01 - 5.00 แสดงวา่ มีทเจตคติทไ่ี ม่ดี คา่ มธั ยฐาน 5.01 - 7.00 แสดงว่า มีเจตคติปานกลาง ค่ามัธยฐาน 7.01 - 9.00 แสดงว่า มีเจตคตทิ ่ดี ี คา่ มัธยฐาน 9.01 - 11.00 แสดงว่า มีเจตคติท่ีดีอย่างย่ิง 2) วิธีการประมาณค่ารวมตามวธิ กี ารของลิเครทิ ์ (1) วิธกี ารประมาณคา่ รวม(The Method of Summated Rating)ตามแนวคดิ ของ ลเิ คริท์ ทมี่ ีความเชื่อพนื้ ฐานวา่ “เชาว์ปัญญาของมนษุ ย์จะมีการแจกแจง แบบโค้งปกติ”โดยใชห้ นว่ ยความเบ่ยี งเบนมาตรฐานเปน็ เกณฑ์ในการวัดประมาณความเขม้ ของความ คิดเห็นท่ีมีต่อส่ิงตา่ ง ๆ สรุปได้ว่า การใช้หน่วยเบ่ยี งเบนมาตรฐานเปน็ เกณฑ์ในการวดั ท่ีมีความสมั พนั ธ์ กับการวดั ท่ใี ช้ 0 1 2 3 4(หรือ 1 2 3 4 5)เปน็ เกณฑ์ เทา่ กับ0.99(Neuman,1997 :159) จึงสรปุ วา่ วิธกี ารประมาณค่ารวมท่ีกาหนดสเกลเป็น 0 1 2 3 4 จะดีกว่าการใช้วธิ กี ารวิเคราะหห์ า คา่ ประจาข้อทซ่ี ับซ้อนของเทอร์สโตน ดังนี้
หนา้ ท่ี 226 บทท่ี 8 เคร่อื งมือ วธิ ีการที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู (1.1)ไมต่ อ้ งหากลมุ่ ที่พจิ ารณาตัดสนิ เพ่ือกาหนดค่าประจาขอ้ (1.2)ไมต่ ้องคานวณค่าประจาข้อ (1.3) มคี วามเชื่อมัน่ สงู กว่าในจานวนข้อท่เี ท่ากันกบั การใช้ วิธีการอื่น ๆ (1.4) ผลท่ไี ด้มีความเท่าเทียมกบั ผลทีไ่ ดจ้ ากวิธีการวัดคา่ ประจาข้อของเทอรส์ โตน แสดงลักษณะของวิธกี ารประมาณค่ารวมตามวธิ ีการของลิเคริท์ ดงั ภาพท่ี 8.2 (Noll,1989 : 35) มากที่สดุ ข้อความเชิงบวก 5 4 3 2 นอ้ ยทส่ี ดุ 1 1 2 345 เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ เห็นด้วย ไม่เเนใ่ จ ไม่เหน็ ดว้ ย ไม่เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ขอ้ ความเชงิ ลบ น้อยทีส่ ุด มากที่สดุ ภาพที่ 8.2 วธิ กี ารประมาณค่ารวมตามวธิ กี ารของลเิ คริท์ (2) ขอ้ ตกลงเบื้องตน้ ของมาตรวัดตามวธิ กี ารของลเิ ครทิ ์ ในการใชม้ าตรวัดตามวธิ ีการของลิเครทิ ์ มขี ้อตกลงเบอ้ื งต้นที่ ควรพจิ ารณาดังน้(ี สวัสดิ์ สุคนธรังษี,2517 : 237 อา้ งอิงใน บุญธรรม กจิ ปรดี าบริสุทธ์ิ, 2534 : 130) (2.1) การตอบสนองต่อข้อความแต่ละข้อในมาตรวัดจะมี ลักษณะคงที่ แต่ทั้งนี้มไิ ดห้ มายความวา่ ลกั ษณะคงท่ขี องการตอบสนองในทุก ๆ ข้อความจะเป็น เสน้ ทับกนั (2.2) ผลรวมของลกั ษณะคงท่ขี องการตอบสนองต่อข้อความ ทง้ั หมดแตล่ ะข้อจะมีลักษณะเป็นเสน้ ตรง เพราะถงึ แม้นว่าลักษณะคงทใี่ นทุก ๆ ข้อความจะไม่เป็น เส้นทบั กัน แต่เมื่อนาคา่ คงทม่ี ารวมกนั แล้วจะทาใหส้ ว่ นทแ่ี ตกต่างจากเสน้ ตรงหักลบกนั ไป (2.3) ผลรวมของลกั ษณะคงทข่ี องการตอบสนองในข้อความ หนงึ่ ๆ จะมอี งคป์ ระกอบรว่ มกันอยู่หน่ึงตัว นั่นคือ ผลรวมน้ีแทนคา่ ลกั ษณะนสิ ยั ทว่ี ัดได้อยา่ งหนง่ึ เพียงอย่างเดียว จากข้อตกลงเบื้องตน้ ท้ัง 3 ประการ ลเิ คริท์นามาใชเ้ ปน็ หลักในการวดั เจตคตใิ นเร่ืองใด ๆ ด้วยการกาหนดข้อคาถามบุคคลหลาย ๆ ขอ้ แล้วนาผลการตอบ ทกุ ขอ้ รวมกันเป็นเจตคติของบุคคล ในเรือ่ งน้นั ๆ (3) องคป์ ระกอบของมาตรวัดตามวิธีการของลิเคริท์ จาแนกได้ ดงั น้ี(Neuman,1997 : 159)
ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 227 ในมาตรวดั ตามวธิ ีการของลิเคริท์ สามารถจาแนกองคป์ ระกอบได้ ดงั น้ี (3.1) สว่ นที่เปน็ สิง่ เร้า(Stimulus)/ ขอ้ คาถาม (3.2) ส่วนที่เปน็ การตอบสนอง(Response) ได้แก่ ระดับ ความคดิ เหน็ หรือความรู้สกึ (4) หลักการสรา้ งคาถามตามวธิ ีการประมาณค่ารวมตามวิธีการ ของลเิ คริท์ ในการสร้างคาถามตามวิธีการประมาณค่ารวมตามวิธีการของลเิ ครทิ ์ มขี ัน้ ตอน ดังน(้ี Mclver and Carmine,1981 : 23) (4.1) การจาแนกประเภทแนวคาถาม ทใ่ี นชดุ ของคาถามใด ๆ จะตอ้ งมจี านวนที่เท่า ๆ กัน ประมาณ 50-100 ข้อจาแนกเปน็ 2 ลกั ษณะ ดังนี้ (4.1.1) ประเภทที่เห็นด้วย หรือคลอ้ ยตาม (Favorable Statements) เป็นขอ้ ความท่ีกาหนดในเชงิ บวก/ทางทีด่ ี หรือสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของสังคม อาทิ คุณธรรมเป็นเคร่ืองค้าจุนโลก ประเทศไทยควรมีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย หรือการตอ่ ต้านนโยบายของรฐั บาลเปน็ ส่ิงท่ีไม่ควรกระทา เปน็ ตน้ (4.1.2) ประเภททไ่ี ม่เหน็ ด้วย หรือขดั แยง้ (Unfavorable Statements) เปน็ ข้อความที่กาหนดในเชงิ ลบ อาทิ ศาสนาเปน็ ส่ิงเสพติด ประเทศไทยควรใช้การปกครองแบบคอมมวิ นสิ ต์ หรือ การตอ่ ตา้ นนโยบายของรัฐบาลเป็นสิ่งท่ี ควรกระทา เป็นตน้ (4.2) การกาหนดน้าหนกั คะแนนของความคิดเหน็ จาแนก ออกเปน็ 5 ระดบั คือ เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ เหน็ ดว้ ย เฉย ๆ ไมเ่ หน็ ด้วย และไมเ่ หน็ ด้วยอย่างย่งิ ท่ี จาแนกตามลักษณะของคาถามแบบเหน็ ด้วย และแบบไมเ่ ห็นด้วย ดังแสดงในตารางท่ี 8.1 ตารางที่ 8.1 น้าหนกั ของคะแนนจากความคิดเหน็ ในเชิงบวกและเชงิ ลบ ขอ้ ความเชงิ บวก ข้อความเชงิ ลบ ให้ 5 คะแนน หมายถงึ เห็นด้วยอยา่ งย่งิ ให้ 5 คะแนน หมายถึง ไมเ่ หน็ ดว้ ยอย่างยง่ิ 4 คะแนน หมายถึง เห็นด้วย 4 คะแนน หมายถึง ไม่เห็นด้วย 3 คะแนน หมายถึง ไม่เเนใ่ จ 3 คะแนน หมายถงึ ไม่เเน่ใจ 2 คะแนน หมายถึง ไมเ่ หน็ ดว้ ย 2 คะแนน หมายถงึ เหน็ ดว้ ย 1 คะแนน หมายถึง ไม่เหน็ ดว้ ยอย่างยงิ่ 1 คะแนน หมายถงึ เห็นดว้ ยอยา่ งยิ่ง ทีม่ า : บุญธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ุทธ,ิ์ 2534 : 131
หน้าที่ 228 บทท่ี 8 เคร่อื งมือ วธิ ีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู (4.3) แนวการสรา้ งข้อความ หรือขอ้ คาถาม ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี (4.3.1) กาหนดเปน็ ขอ้ ความเชงิ ความคิดเห็นแต่ ไมค่ วรกาหนดเป็นข้อเทจ็ จรงิ เก่ียวกบั ประเดน็ ทต่ี ้องการ (4.3.2) กาหนดขอ้ ความทีม่ ีความชัดเจน สอดคล้องกบั ประเดน็ ทต่ี ้องการ และหลีกเล่ยี งข้อความประเภททีต่ ีความไดห้ ลายความหมาย (4.3.3) ควรกาหนดข้อความในประเด็นทคี่ าดวา่ จะมี ความคดิ เหน็ ที่แตกต่างกนั ท้ังเหน็ ดว้ ยและไม่เห็นด้วย (4.3.4) ควรกาหนดคาถามทั้งในแบบเหน็ ด้วยและ ไมเ่ หน็ ดว้ ยท่ีใกล้เคียงกันเพื่อให้ผใู้ ห้ข้อมูลแสดงความคิดเห็นทั้ง 2 แบบ (4.4) การกาหนดน้าหนักของการตอบเป็น 0 1 2 3 และ 4 หรอื 1 2 3 4 และ 5 จะใหผ้ ลทีเ่ ท่าเทยี มกบั วธิ กี ารอน่ื ๆ (4.5) การเลอื กข้อคาถาม เป็นการนาข้อคาถามท่กี าหนดไป ทดลองใช้กับกลมุ่ ตัวอย่างท่ตี ้องการ แล้วนาผลมาวเิ คราะห์เปน็ รายขอ้ เพ่ือหาคณุ ภาพรายข้อ ดงั น้ี (Mclver and Carmines,1981 : 24) (4.5.1) หาความสอดคล้องภายในตามเกณฑ์ดว้ ยคา่ ที (t-test)ระหว่างคา่ เฉลี่ยของกลมุ่ ท่ไี ด้คะแนนรวมสูง กบั กลุ่มท่ีได้คะแนนรวมต่าทลี ะข้อ ถ้าข้อใดที่ได้ ค่าทีเท่ากับหรือมากกว่า1.75 แสดงวา่ ขอ้ คาถามข้อนนั้ มีอานาจจาแนกทใี่ ช้ได(้ Edwards,1987 : 63) (4.5.2) หาสหสมั พนั ธ์ของเพียร์สนั ระหว่างคะแนน แต่ละข้อกับคะแนนเฉล่ียรวมทุกข้อ ท่เี ปน็ วธิ ีการใช้เกณฑ์คงทใ่ี ช้ชุดคาถาม ถ้าได้ค่าสหสัมพนั ธท์ มี่ ี คา่ สงู แสดงวา่ ข้อคาถามข้อน้ันมีความเชื่อม่นั สงู สามารถทจี่ ะนามาใช้ได้ (5) ข้นั ตอนการสร้างแบบวัดมาตรการวัดเจตคติของลเิ ครทิ ์ ในการสรา้ งแบบวัดมาตรการวัดเจตคตขิ องลเิ ครทิ ์ มขี ้ันตอนการสร้าง ดงั น้ี(ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ ,2538 : 157) (5.1) กาหนดข้อความเกย่ี วกบั เจตคติทีต่ ้องการใหม้ ากทีส่ ดุ จาก เอกสาร ผูร้ ว่ มงานผูท้ รงคุณวุฒิ หรอื จากปรากฏการณท์ ั้งเชิงบวกและเชิงลบ ทีม่ คี วามชดั เจน หรอื ไม่ แปลความหมายที่กากวม และ หนง่ึ ข้อความควรมีเจตคตเิ ดยี ว เปน็ ต้น (5.2) การตรวจสอบข้อความ ท่กี าหนดขนึ้ ท่วี า่ สอดคล้องกับ เกณฑ์การพิจารณาหรือไม่ (5.3) การทดสอบข้อความโดยการนาไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญได้ พิจารณาเพอ่ื แก้ไขปรบั ปรงุ แลว้ นาไปทดลองใช้กับกล่มุ ตวั อยา่ งท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กับกล่มุ ตวั อยา่ ง ท่ีตอ้ งการนามาตรการวดั ไปใช้ แลว้ นาข้อมลู มาคานวณหาคา่ สถติ เิ พือ่ ใช้เป็นดชั นีบง่ ช้คี ุณภาพของ ขอ้ ความ ดงั น้ี
ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 229 (5.3.1) คานวณหาค่าสัมประสทิ ธส์ิ หสัมพันธ์(r)ของ ขอ้ ความแต่ละขอ้ กบั คะแนนรวม แล้วนามาพจิ ารณาวา่ ถ้าข้อความใดมีคา่ สมั ประสทิ ธิส์ หสัมพันธ์สูง แสดงวา่ ข้อความนั้นเปน็ ข้อความที่ดี มคี วามเช่ือม่นั (5.3.2) คานวณหาค่าอานาจจาแนกของขอ้ ความ แตล่ ะข้อ โดยการทดสอบค่าทีและคัดเลือกขอ้ ความท่ีมีคา่ ที ตง้ั แต่ 1.75 ขึ้นไปทเี่ ปน็ ค่าที่มีอานาจ จาแนกอยู่ในเกณฑ์ดี(Edward.1987 :63) (6) ข้อจากัดในการใชม้ าตรการวัดของลิเครทิ ์ การใชม้ าตรการวดั ของลเิ ครทิ ์ มีข้อจากดั ทผ่ี วู้ จิ ยั ควรจะต้อง ระมัดระวงั มีดังนี้(บญุ ธรรม กิจปรดี าบริสุทธ์,ิ 2534 : 134-135) (6.1) ความรสู้ กึ ในเรอ่ื งของความเสี่ยง ท่ีผู้ใหข้ ้อมูลบางคน พยายามตอบเป็นกลาง เพื่อป้องกันความเสยี หายท่ีจะเกดิ ข้ึน (6.2) ความเข้าใจความหมายของภาษาทไี่ มส่ อดคล้องกัน (6.3) ขาดแรงจูงใจในการตอบ ทาใหใ้ ชก้ ารใส่เครื่องหมาย เพ่ือให้การให้ข้อมูลไดเ้ สร็จสิน้ (6.4) การยอมรบั ประเดน็ ทีใ่ ห้ขอ้ มลู ถ้าผใู้ ห้ขอ้ มูลเหน็ ดว้ ยกับ เรอ่ื งที่สอบถามกจ็ ะให้ข้อมลู ท่ีเปน็ จริงมากกวา่ ประเดน็ ทไี่ มย่ อมรบั (6.5) ปัญหาในเรื่องเวลาท่ตี อบ ถ้ามเี วลาท่ีจากัดทาให้ผใู้ ห้ ข้อมูลขาดความละเอยี ดรอบคอบในการให้ข้อมลู (6.6) ผใู้ ห้ข้อมลู มักจะมีความรู้สึกซอ่ นเรน้ และต้องการ แสดงออกเฉพาะลักษณะท่ดี ีของตนจึงพยายามปิดบงั ลักษณะทีบ่ กพร่องของบุคลกิ ภาพของตน ทาให้ เลือกคาตอบท่ไี ม่แสดงลักษณะท่ีแท้จริงของตนเอง (7) เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนเฉลี่ยของมาตรการวัดของลเิ คริท์ ในการพิจารณาตัดสนิ คะแนนเฉลีย่ ที่ไดร้ ับจากการให้ข้อมลู มีดงั น้ี (Best.1977 ) ช่วงคะแนนเฉลี่ ความหมาย 1.00 -1.79 หมายถงึ ระดับน้อยทส่ี ุด 1.80-2.59 หมายถึง ระดับนอ้ ย 2.60-3.39 หมายถึง ระดบั ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง ระดบั มาก 4.20-5.00 หมายถงึ ระดับมากทส่ี ุด หรือพันธ์พินิจ(Punpinij.1990 :46) 1.00 - 1.50 หมายถงึ ระดับนอ้ ยท่ีสุด/ไม่เห็นดว้ ยอย่างย่งิ 1.51 - 2.50 หมายถึงระดับน้อย/ไม่เหน็ ด้วย 2.51 - 3.50 หมายถึงระดับปานกลาง/ไม่แน่ใจ 3.51 - 4.50 หมายถึงระดบั มาก/เหน็ ดว้ ย 4.51 - 5.00 หมายถึงระดบั มากทีส่ ดุ /เห็นด้วยอย่างยิง่
หน้าท่ี 230 บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วิธีการทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3) มาตราวัดที่ใช้การจาแนกความหมายของคา (1) ความหมายมาตราวดั ทใ่ี ช้การจาแนกความหมายของคา มาตราวัดทใี่ ช้การจาแนกความหมายของคา(Semantic Differential Scale)ของออสกูดและคณะ(Osgood and Others)เป็นการสรา้ งคาถามวัดเจตคติ ความรสู้ กึ หรอื ความคดิ เหน็ ที่ใชค้ วามหมายของคาเปน็ สงิ่ เร้าประกอบกับความคดิ รวบยอดตา่ ง ๆ โดยแต่ละข้อ คาถามจะมีคาคุณศัพทท์ ี่มคี วามหมายตรงกันขา้ มเปน็ คู่ ๆกากับทางซ้ายและทางขวาของมาตรา ทก่ี าหนดไว้ 7 ระดับ ดงั แสดงในภาพที่ 8.3 (Kidder and Others, 1986 :216) ขาว ดา ขาว 3 2 1 0 1 2 3 ดา 123 4 56 7 ภาพที่ 8.3 มาตราวดั ที่ใชก้ ารจาแนกความหมายของคา (2) ลักษณะของการใชค้ าคณุ ศพั ท์ จาแนกเป็น 3 มิติ ดังนี้(Neuman, 1997 : 165) (2.1) มติ ิดา้ นการประเมินค่า(Evaluation Dimension) มี คาคณุ ศพั ท์ที่ใช้ ดังนี้ ดี-เลว,สขุ -ทกุ ข์,ยตุ ธิ รรม-ไม่ยุตธิ รรม,ฉลาด-โง่,สาเร็จ-ลม้ เหลว,ซอื่ สัตย์- ไมซ่ ่ือสัตย์,บวก-ลบ,หวาน-เปรยี้ ว,มคี ่า-ไร้ค่า,สวย-ขเ้ี หร่ ฯลฯ (2.2) มิติดา้ นศักยภาพ(Potential Dimension) มคี าคณุ ศัพท์ ทใ่ี ช้ ดังน้ี แขง็ แรง-อ่อนแอ,หนัก-เบา,แข็ง-นุ่ม,หนา-บาง,หยาบ-ละเอยี ด,ใหญ่-เล็ก เป็นต้น (2.3) มิตดิ ้านกิจกรรม(Activity Dimension) มคี าคุณศัพท์ทใ่ี ช้ ดงั น้ี เรว็ -ช้า,ร้อน-เย็น,คม-ท่ือ,ขยนั -ขีเ้ กยี จ,คลอ่ งแคลว่ -เฉอื่ ยชา,อึกทกึ -เงยี บ เป็นตน้ นอกจากนีแ้ นลลี(Nunnally)(ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ,2538 : 61)ได้ระบุคา ทีไ่ ม่อยใู่ น 3 องคป์ ระกอบดงั กล่าว ดงั นี้ เหมอื น-ไม่เหมือน,มีประโยชน์-ไมม่ ปี ระโยชน,์ ชัดเจน- ไมช่ ัดเจน,เขา้ ใจ-ไม่เข้าใจ,พยากรณ์ได้-พยากรณ์ไมไ่ ด้,ซับซ้อน-ไมซ่ ับซ้อน ฯลฯ (3) ลกั ษณะการใชม้ าตรการวัดที่ใช้การจาแนกความหมายของคา จาแนก เปน็ 3 รปู แบบ ดังนี้ (3.1) รปู แบบท่ี 1 ใช้คาคณุ ศัพท์หลาย ๆ ค่สู าหรับหน่ึงความคดิ รวบยอด ดงั นี้ (0) ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรต่อการเกิดสงคราม ดี เลวร้าย 321 0 12 3 เสรมิ สรา้ ง 2 1 0 1 2 3 ทาลาย 3
ระเบยี บวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 231 (3.2) รปู แบบที่ 2 ใช้คาคุณศัพทห์ น่ึงคู่สาหรับหน่ึงความคิดรวบยอด ดังน้ี (0) ทา่ นมีความคิดเหน็ อย่างไรตอ่ การศึกษา ดี 3 2 1 0 1 2 3 เลวรา้ ย (00) ทา่ นมีความคดิ เห็นอยา่ งไรต่อ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กา้ วหนา้ 321 0 12 3 ถอยหลัง (3.3) รปู แบบที่ 3 ใชค้ าคณุ ศัพท์คเู่ ดียวสาหรบั หลาย ๆ ความคิดรวบยอด ดังน้ี ท่านมีความรูส้ ึกอย่างไรต่ออาชีพทก่ี าหนดให้ 1) ค้าขาย ชอบ 0 12 ไมช่ อบ 2) รบั ราชการ 3 21 3 3) รฐั วิสาหกจิ 4) รับจา้ ง 5) ประกอบอาชีพอิสระ (4) หลกั การในการสร้างมาตรการวดั ที่ใช้ในการจาแนกความหมายของคา ในการสร้างมาตรการวดั ท่ีใช้ในการจาแนกความหมายของคามหี ลกั การ ดงั นี(้ พิชติ ฤทธ์จิ รูญ,2544 :259) (4.1) กาหนดโครงสรา้ งของเจตคต/ิ ความรู้สกึ และความคดิ เหน็ (4.2) กาหนดข้อความในลักษณะความคดิ รวบยอดทม่ี ลี ักษณะดงั นี้ (4.2.1) มคี วามหมายเดียวไมค่ ลมุ เครือ (4.2.2) มีความแปรปรวนมากระหว่างผู้ให้ข้อมูล (4.2.3) มคี วามค้นุ เคย (4.2.4) เปน็ ความคดิ รวบยอดที่มีความครอบคลุม ความคิดรวบยอดในภาพรวม (ใหค้ รอบคลุมท้ัง 3 มติ ิ) (4.3)เลือกคาคุณศัพท์เป็นคทู่ ี่มีความหมายตรงกันขา้ ม (4.4)นามาสร้างเป็นมาตราวัดตามรปู แบบ
หนา้ ที่ 232 บทที่ 8 เครอื่ งมือ วธิ กี ารท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (5) ข้อแนะนาในการใช้มาตรการวัดทใ่ี ชก้ ารจาแนกความหมายของคา ในการใชม้ าตรการวดั ท่ีใชก้ ารจาแนกความหมายของคา มขี ้อแนะนา ท่คี วรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี (5.1) นาไปใช้ได้ง่าย สร้างได้ไม่ยาก และเหมาะสมกับการใชท้ ัง้ กลุ่มและ รายบคุ คล (5.2) กาหนดคาชี้แจงการตอบโดยให้ผู้ให้ข้อมลู ใชค้ วามรู้สกึ ของตนเอง ทีเ่ กดิ คร้ังแรกในการพิจารณามากกว่าใช้การคดิ แบบใคร่ครวญท่ีมีกฎเกณฑ์ในการพิจารณาตดั สินใจ จากภายนอกมาเกี่ยวขอ้ ง (5.3) ควรมีตวั อยา่ งวธิ กี ารการตอบใหไ้ ด้พิจารณาก่อนที่จะให้ ผใู้ ห้ข้อมูลตอบด้วยตนเอง โดยเป็นการแนะนาวิธกี ารตอบ ไม่ใชแ่ นะนาคาตอบ (5.4) การกาหนดข้อคาถามในแต่ละชุดคาถามควรมปี ระมาณ 50 ข้อ เพื่อไม่ใหผ้ ูใ้ ห้ขอ้ มลู เกดิ ความเบอื่ หนา่ ยในการตอบ (5.5) การคดิ คะแนนสาหรบั คาตอบของแตล่ ะข้อให้กาหนดเปน็ คะแนน ตามลักษณะของคาคุณศัพท์ท่ีอาจเป็นเชิงบวกไปเชิงลบกาหนดเปน็ 3 2 1 0 -1 -2 -3 หรอื เชงิ ลบไป เชงิ บวกกาหนดเป็น -3 -2 -1 0 1 2 3 หรอื อาจกาหนดคะแนนเป็นจานวนเต็มจาก 1ถึง7 คะแนน (เชงิ ลบไปเชิงบวก)หรือ จาก 7 ถงึ 1(เชงิ บวกไปเชงิ ลบ) แล้วนาไปแปลความหมายของคะแนนโดยใช้ การรวมคะแนนทุกข้อทีว่ ัดเร่ืองเดยี วกันเข้าด้วยกันแลว้ หารดว้ ยจานวนขอ้ (6) เกณฑ์ในการพิจารณาคา่ เฉล่ยี มาตรการวดั ที่ใชก้ ารจาแนกความหมาย ของคา มีดงั น(้ี สนิ พันธ์ุพนิ ิจ,2547 : 161) (6.1) เกณฑ์ 7 ระดบั ตั้งแต่ 1 ถงึ 7 มดี งั น้ี 1.00 – 2.20 หมายถงึ อยใู่ นระดับน้อยทส่ี ดุ 2.21 – 3.40 หมายถึง อยใู่ นระดบั น้อย 3.41 – 4.60 หมายถึง อยู่ในระดับปานกลาง 4.61 – 5.80 หมายถงึ อยใู่ นระดบั มาก 5.81 – 7.00 หมายถึง อยู่ในระดบั มากท่สี ุด (6.2) เกณฑ์ 7 ระดบั ตงั้ แต่ -3 ถึง 3 มีดงั น้ี 1.00 – 1.50 หมายถึง อยใู่ นระดับน้อย 1.51 – 2.50 หมายถงึ อยู่ในระดบั ปานกลาง 2.51 – 3.00 หมายถงึ อยู่ในระดบั มาก 3.2.5 โครงสร้างของแบบสอบถาม ในการสร้างแบบสอบถามแต่ละฉบับ มีโครงสร้าง ดงั น้ี(นิภา ศรไี พโรจน,์ 2531:89-90 ; สิน พันธ์พุ ินิจ,2547 : 166 ) 3.2.5.1 คาช้แี จงในการตอบแบบสอบถาม เป็นส่วนทร่ี ะบุรายละเอยี ดเกย่ี วกบั จุดประสงค์การวิจัย คาอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม คารับรองในการปกปดิ ขอ้ มลู ทไี่ ด้รบั วธิ ีการ ตอบแบบสอบถามพร้อมตัวอยา่ งการตอบ คากล่าวแสดงการขอบคุณ และลงท้ายด้วยช่ือ-ชือ่ สกลุ , ทอี่ ยู่ของผู้วจิ ัย
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 233 3.2.5.2 ข้อมูลส่วนบุคคล ทก่ี าหนดให้ตอบเป็นรายละเอยี ดส่วนบุคคลท่ีจะนามาใช้ เป็นตัวแปรอสิ ระ(Independent variables) ในการวิจยั หรอื นามาใช้เป็นข้อมูลเบ้อื งต้นในการ พิจารณาคุณลักษณะของผใู้ ห้ขอ้ มูลท่จี ะนาไปใช้ในการอภปิ รายผลต่อไป 3.2.5.3 ข้อคาถามเกยี่ วกบั ประเด็น/ความคดิ เห็นทตี่ ้องการ ที่อาจกาหนดเป็นข้อ คาถามปลายปิดท่ีให้ทาสัญลักษณใ์ นคาตอบของตนเอง หรือข้อคาถามปลายเปิดทเี่ ว้นชอ่ งว่างให้ ผใู้ ห้ขอ้ มูลเขียนคาตอบตามความคดิ เห็นอยา่ งอสิ ระ บญุ ธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธิ์(2534 : 103-104) ไดน้ าเสนอแนวปฏิบัตใิ นการเรียงคาถามและ จัดรปู แบบของข้อคาถาม ดังน้ี 1) เรยี งลาดบั ข้อคาถามเป็นหมวดหมู่ หรอื เปน็ ตอนท่ี ตามตวั แปร 2) คาถามในแต่ละตอนควรเรียงลาดบั ดงั น้ี (1) เรยี งขอ้ คาถามท่ีเกยี่ วกบั เร่อื งทใ่ี กล้ ๆ ตวั ก่อนเรื่องที่อยู่ไกลตัว (2) เรียงข้อคาถามเรื่องทวั่ ๆ ไปก่อนคาถามทเ่ี ฉพาะเจาะจง (3) เรียงข้อคาถามจากง่าย ๆ ไปหายาก ๆ (4) เรียงขอ้ คาถามทีค่ ุ้นเคยมากไปสขู่ อ้ คาถามที่คุ้นเคยน้อย (5) เรียงข้อคาถามตามลาดบั เหตุการณ์จากอดตี ปัจจุบนั สู่อนาคต 3) ควรกาหนดหมายเลขของข้อคาถามตามลาดบั อย่างต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นเมื่อเร่ิมตน้ ตอนใหม่ 4) กรณีเปน็ ข้อคาถามทมี่ ีตวั เลือก ตอ้ งเรียงข้อคาถามและคาตอบตามความสะดวกและ ความเคยชนิ ของผู้ให้ข้อมูล (จากซา้ ยไปขวา) 5) กาหนดรูปแบบการพิมพ์ เวน้ วรรค ถูกต้องตามอักขรวิธี และพิมพเ์ พียงหน้าเดยี ว 3.2.6 ขน้ั ตอนในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม ในการสร้างและพัฒนาแบบสอบถาม มขี นั้ ตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้(นภิ า ศรไี พโรจน์, 2531:90-91, บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธิ,์ 2534 : 95-96 ; เทียนฉาย กรี ะนนั ท์,2544 : 110-113) 3.2.6.1 ศกึ ษาคุณลักษณะหรือประเดน็ ทต่ี ้องการ ผู้วจิ ัยจะตอ้ งศึกษาคณุ ลกั ษณะหรอื ประเด็นที่ต้องการให้มีความเขา้ ใจทชี่ ัดเจน ถูกตอ้ ง จากเอกสารตารา หรือผลงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง ตลอดจนลักษณะ วิธกี ารสร้างแบบสอบถาม และการกาหนดคาถามทดี่ ี ทีจ่ ะใชเ้ ปน็ แนวทาง การสร้างแบบสอบถาม 3.2.6.2 กาหนดลักษณะของแบบสอบถามที่เหมาะสมกับคณุ ลักษณะหรือประเด็น ทตี่ ้องการ และลักษณะของกลุ่มตัวอยา่ งที่กาหนดให้ตอบ 3.2.6.3 จาแนกคณุ ลกั ษณะหรือประเดน็ ทตี่ ้องการออกเปน็ ประเดน็ ย่อย ๆ เพ่ือท่ีจะ ทาใหส้ ามารถกาหนดขอ้ คาถามได้งา่ ยข้นึ และมีความครอบคลุมมากขนึ้ 3.2.6.4 กาหนดคาชแี้ จงในการตอบแบบสอบถามที่ระบรุ ายละเอยี ดเก่ยี วกับ จุดประสงค์การวจิ ัย คาอธบิ ายลักษณะของแบบสอบถาม คารบั รองในการปกปดิ ข้อมลู ท่ไี ด้รับ วิธกี าร ตอบแบบสอบถามพร้อมตวั อย่างการตอบ คากล่าวแสดงการขอบคณุ และลงทา้ ยด้วยช่อื -ช่อื สกุล, ทอี่ ยูข่ องผวู้ จิ ัย
หนา้ ท่ี 234 บทท่ี 8 เครอื่ งมือ วิธีการทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.2.6.5 การปรับปรุงแก้ไขรา่ งแบบสอบถาม หลังจากสร้างแบบสอบถามเสรจ็ แลว้ ผวู้ ิจยั ควรได้พจิ ารณาทบทวนขอ้ คาถามที่มีความเทย่ี งตรง ชัดเจน แลว้ นาเสนอต่อผูเ้ ชย่ี วชาญ เพ่อื พิจารณาตรวจสอบและใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ แก้ไขให้แบบสอบถามมีความสมบรู ณ์ มากขน้ึ 3.2.6.6 นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งเพอื่ นามาวเิ คราะห์หาคุณภาพของ แบบสอบถาม โดยที่กลุม่ ตวั อย่างทที่ ดลองใช้จะต้องมลี กั ษณะท่ีคล้ายคลงึ กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งที่ต้องการ เก็บรวบรวมข้อมูลจริง เพื่อตรวจสอบความเข้าใจในคาชแ้ี จง ความชดั เจนของคาถาม และคานวณหา ความเช่ือมน่ั และอานาจจาแนกของแบบสอบถาม 3.2.6.7 นาผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ท่ีได้รบั มาใช้พจิ ารณาปรับปรงุ แกไ้ ขแบบสอบถามให้มี ความถูกตอ้ งสมบรู ณ์และมคี ุณภาพทจ่ี ะทาให้ได้รับข้อมลู จากการใชแ้ บบสอบถามทนี่ า่ เช่ือถือ 3.2.6.8 จัดพมิ พแ์ บบสอบถามฉบับสมบรู ณ์ โดยตรวจสอบความถูกต้องของการจดั พมิ พ์ ตามตน้ ฉบบั ถูกต้องอักขระวธิ ีตามหลกั ไวยากรณ์ และมีความชัดเจนของตวั อักษรท่ีพิมพ์ 3.2.7 การตรวจและแก้ไขข้อคาถามเบอื้ งต้น ในการตรวจและแก้ไขข้อคาถามเบื้องตน้ เป็นการดาเนนิ การด้วยตนเองของผู้เขียน/สร้าง ข้อคาถาม หลังจากเขยี น/สร้างขอ้ คาถามเสร็จสิ้นแลว้ ทิ้งขอ้ คาถามไว้ 2-3 วัน แล้วจึงนามาตรวจสอบ โดยอา่ นขอ้ คาถามอยา่ งละเอียด แล้วพจิ ารณาตามแนวทางเบอ้ื งตน้ ดงั นี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ทุ ธ,ิ์ 2534 : 95-96) 3.2.7.1 เขา้ ใจคาถาม คาตอบนน้ั หรือไม่อย่างไร เข้าใจตรงกับที่ต้องการวดั หรอื ไม่ ถ้าอ่านไมเ่ ข้าใจ หรือเขา้ ใจไม่ตรงกบั ที่ต้องการวดั ควรแก้ไข ปรบั ปรงุ 3.2.7.2 คาตอบที่กาหนดให้มคี าถามท่ีถกู ต้องตามหลักวิชาหรอื ไม่ และมีเพยี งคาตอบ เดยี วหรือหลายคาตอบ คาตอบท่ีดีจะถูกต้องตามหลักวชิ า และมีคาตอบท่ีถูกต้องเพยี งคาตอบเดียว 3.2.7.3 คาตอบทกี่ าหนดให้ของคาถามนนั้ ครอบคลุมคาตอบทเี่ ป็นไปได้ไว้ครบถ้วนแล้ว หรอื ไม่ ถ้ายังไมค่ รบถว้ นกต็ อ้ งหาคาตอบมาเพ่มิ เติม 3.2.7.4 คาถามนจี้ าเป็นหรือไม่ ถ้ามีไว้จะใชป้ ระโยชน์อะไรได้ คาถามใดถ้าหาก ไมน่ าไปวเิ คราะห์ หรือไมเ่ อาไวใ้ ชอ้ ธิบายลกั ษณะของกลุ่มตัวอยา่ ง หรอื อภปิ รายผลการวจิ ัยท่ีได้ ควรจะตัดทิ้ง 3.2.7.5 คาถามนน้ั ครอบคลมุ เกนิ หน่ึงประเดน็ หรือไม่ ถา้ เกินควรปรบั ปรุงเป็นใช้ หลาย ๆ คาถามแทน แต่ถา้ มีความซา้ ซ้อนควรได้ตัดท้งิ 3.2.7.6 คาถามน้ันเมื่อใชแ้ ล้วจะได้คาตอบท่ีสอดคล้องกับความเปน็ จริงหรือไม่ ถ้าไม่แนใ่ จใหเ้ พ่ิมคาถามทใ่ี ช้ตรวจสอบการใหข้ ้อมูล 3.2.7.7 ภาษาทใ่ี ช้สื่อความหมายทกี่ วา้ งหรือแคบเกินไปหรอื ไม่ ควรแก้ไข ปรบั ปรุงให้มี ความหมายทชี่ ดั เจนและเฉพาะเจาะจง 3.2.7.8 มคี าถามใดทจี่ ะสอื่ ความหมายใหผ้ ใู้ หข้ ้อมลู เกิดความเข้าใจทค่ี ลาดเคลอ่ื น ไม่ชัดเจนควรมกี ารแก้ไข ปรบั ปรุง
ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 235 3.2.7.9 ภาษาทม่ี ีการใช้คาแนะนา หรือคาทมี่ ีอทิ ธิพลในการใหข้ ้อมลู ในทิศทางท่ี คาดหวังหรอื ไม่ ถา้ มคี วรตัดออกหรือหลกี เลยี่ งใช้คาอน่ื แทน 3.2.7.10 คาตอบท่ีต้องการนั้น ควรใช้คาถามท่ีถามตรง ๆ หรือคาถามอ้อมจะได้ คาตอบทีเ่ ปน็ จริงมากกวา่ กนั 3.2.7.11 คาถามนนั้ ใช้ถามกลุ่มตวั อย่างจะได้คาตอบทนี่ า่ เชือ่ ถือได้เพยี งไร หากเช่ือถือ ไมไ่ ดค้ วรจะตัดทง้ิ หรือเลือกใชค้ าถามอืน่ ทจ่ี ะได้คาตอบท่ีน่าเช่ือถือมากกวา่ 3.2.8 แนวทางการสรา้ งแบบสอบถามเพ่ือขจัดปัจจยั ท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การส่งคนื ของ แบบสอบถาม กอล, บอค และกอล(Gall Brog and Gall,1996:293) ได้นาเสนอแนวทางการสร้าง แบบสอบถามเพ่ือขจัดปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อการสง่ คนื ของแบบสอบถาม ดังน้ี 3.2.8.1 เขยี นคาชแ้ี จงในการตอบแบบสอบถามโดยใช้ภาษาทง่ี า่ ย สัน้ และชัดเจน 3.2.8.2 กาหนดจานวนข้อคาถามใหน้ อ้ ยท่สี ุดที่ครอบคลมุ ประเดน็ ทีต่ ้องการศึกษา 3.2.8.3 จดั ทารูปแบบ/รูปเล่ม/สีสนั แบบสอบถามให้น่าสนใจในการตอบ 3.2.8.4 กาหนดข้อคาถามทใ่ี ชภ้ าษาง่าย ๆ สั้นกะทัดรดั และตอบงา่ ย 3.2.8.5 หลกี เลีย่ งการใช้ศัพท์ทางวิชาการ ภาษาที่กากวม และคาที่จะก่อให้เกิด ความสบั สนแก่ผู้ใหข้ ้อมลู 3.2.8.6 เรยี งลาดบั ขอ้ คาถามที่ง่าย ๆ ไปไมซ่ บั ซ้อน ไปสู่ขอ้ คาถามท่ซี บั ซ้อน 3.2.8.7 หลีกเลีย่ งข้อคาถามในลักษณะปฏิเสธ หรือปฏิเสธซอ้ นปฏิเสธ เพอื่ ปอ้ งกัน การสบั สนในการตีความหมาย 3.2.8.8 หลีกเลย่ี งข้อคาถามท่ีมีหลายแนวคิดในขอ้ เดียวกนั 3.2.8.9 หลีกเล่ียงการใช้ข้อคาถามที่มีลกั ษณะชน้ี าการใหข้ ้อมลู 3.2.8.10. ขอ้ คาถามท่ีมีจานวนข้อมาก ไม่ควรเรียงลาดับข้อท่ีมคี วามสาคญั ไวต้ อนท้าย เน่ืองจากจะไดร้ ับความสนใจในการให้ข้อมลู น้อย 3.2.8.11 เรยี งลาดบั คาถามท่วั ๆ ไปกอ่ นข้อคาถามที่เฉพาะเจาะจง 3.2.8.12 เมอื่ กาหนดใหต้ อบข้อคาถามในประเด็นใหม่ควรทาเครื่องหมาย เพ่ือไม่ให้ เกิดความสับสนระหวา่ งประเดน็ 3.2.8.13 ระบุเหตุผลของการตอบแบบสอบถามหรือความสาคญั ในการให้ข้อมลู ของ ผ้ใู หข้ ้อมลู 3.2.8.14 ยกตวั อย่างวิธกี ารให้ข้อมลู เพื่อไมใ่ หผ้ ู้ให้ข้อมูลเกิดความสบั สน และถ้าใน ขอ้ คาถามใดมีจุดทีต่ อ้ งการเน้นควรทาสัญลักษณ์ใหช้ ดั เจน 3.2.8.15 กาหนดชื่อ-นามสกุล,ที่อย,ู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ ของผเู้ กบ็ รวบรวมข้อมลู ทา้ ย แบบสอบถามเพื่อให้ง่ายและสะดวกในการตดิ ต่อ
หนา้ ที่ 236 บทที่ 8 เคร่อื งมือ วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.2.9 ลกั ษณะของการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยใช้แบบสอบถาม ในเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใช้แบบสอบถาม มลี ักษณะการดาเนินการ ดงั น้ี(นิภา ศรไี พโรจน์ ,2531:97) 3.2.9.1 การส่งแบบสอบถามทางไปรษณยี ์ให้แก่ผูใ้ หข้ ้อมลู หรอื หนว่ ยงานตน้ สงั กัด เพอื่ เก็บรวบรวมข้อมูลให้ เป็นวิธกี ารทส่ี ะดวก ประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ ่าย แต่จะประสบปัญหา เกยี่ วกับ1)การได้รับข้อมลู กลับคนื ท่คี ่อนข้างน้อยทาใหผ้ ลการวจิ ัยไมม่ ีคุณภาพและนาผลการวจิ ยั ไปใช้ อ้างองิ สปู่ ระชากรไม่มีประสทิ ธภิ าพ 2) ใชไ้ ด้กบั ผู้ใหข้ ้อมลู ที่อ่านออกเขียนไดเ้ ท่านนั้ และ 3)ผู้ใหข้ ้อมูล ทไี่ มเ่ หน็ ความสาคัญอาจจะตอบแบบสอบถามด้วยความไม่ต้ังใจ หรอื ให้ผอู้ ื่นตอบแทนตนเอง 3.2.9.2 การนาแบบสอบถามไปสอบถามด้วยตนเอง เป็นการนาแบบสอบถามไปให้ ผใู้ ห้ขอ้ มูลตอบด้วยตนเอง หรือตอบแบบเผชิญหนา้ ในลักษณะของการสัมภาษณ์ทผี่ ู้ให้ข้อมลู เพียง แต่ฟังคาถามจากผเู้ ก็บข้อมูลแล้วตอบคาถามเท่านน้ั เปน็ วิธีการท่ีจะได้รับข้อมลู ทส่ี มบูรณ์กวา่ วธิ ีแรก แต่จะเสยี คา่ ใชจ้ ่ายมาก และใช้เวลามาก สิน พันธพ์ุ ินิจ(2547:213)ได้นาเสนอการใชแ้ บบสอบถามมีกระบวนการใชแ้ บบสอบถาม ดงั แสดงในภาพท่ี 8.4( สนิ พนั ธ์ุพนิ จิ ,2547:213) การประสานงาน กระบวนการเก็บข้อมูล การติดตามแบบสอบถาม การจดั ส่งแบบสอบถาม ภาพท่ี 8.4 กระบวนการใช้แบบสอบถามเกบ็ ขอ้ มูล จากภาพที่ 8.4 สามารถอธิบายรายละเอยี ดของกระบวนการเก็บข้อมูล ดังน้ี 1) การประสานงาน เป็นการติดตอ่ ระหว่างผู้วิจยั กับผใู้ ห้ข้อมูล หนว่ ยงานของผู้ให้ข้อมูล และผทู้ เ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื ให้เกดิ ความสะดวกในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลไดอ้ ย่างง่าย รวดเร็วและ มปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ 2) การจดั สง่ แบบสอบถาม เป็นการจดั ส่งแบบสอบถามไป-ตอบ-กลับถึงผวู้ จิ ัยท่จี ะใช้ เวลาประมาณ 1 เดือน มแี นวทางการปฏบิ ัติ ดงั นี้ (1) ทาจดหมายนาส่งแบบสอบถาม เพอ่ื ระบุรายละเอยี ดเกย่ี วกับผูว้ ิจัย ปัญหาการวิจัย วัตถปุ ระสงค์ ความสาคญั การรกั ษาความลับของข้อมูล กาหนดและวธิ กี ารสง่ คืน และขอบพระคุณ ในความอนเุ คราะห์ตอบแบบสอบถาม รวมทั้งระบุความสาคญั ของผใู้ หข้ ้อมูลในการตอบแบบสอบถาม คร้ังน้ี
ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 237 (2) จัดทาสาเนาจดหมายขออนุญาตของผวู้ จิ ยั จากหนว่ ยงานต้นสังกดั ของผ้ใู ห้ข้อมูลแนบ ไปกบั แบบสอบถามเพื่อแสดงว่าผูบ้ ริหารหนว่ ยงานได้อนุญาตแลว้ ผูใ้ ห้ข้อมลู จะได้ใหค้ วามร่วมมอื ใน การให้ข้อมลู มากย่ิงขึ้น (3) จดั เตรียมซองจดหมายในการส่งแบบสอบถามไปและซองเปล่าท่ีจ่าหน้าซองติดแสตมป์ เรียบร้อยสาหรบั สง่ กลับคนื ทางไปรษณยี ท์ ีร่ วดเร็วและประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย (4) จดั ทารหสั แบบสอบถาม หมายเลข หรอื ทะเบียนของแบบสอบถามเพ่ือใหง้ ่าย และสะดวกในการตดิ ตามแล้วนาผลมาวเิ คราะห์ข้อมูล (5) จดั สง่ แบบสอบถามไปใหก้ ลุม่ ตัวอยา่ งหรือประชากรที่กาหนดไวแ้ ลว้ ให้เร็วทสี่ ุด โดยพิจารณาวัน-เวลาทเี่ หมาะสม 3) การติดตามแบบสอบถาม จากการศึกษาของงานวจิ ัยเก่ียวกับแบบสอบถามพบวา่ ถ้ามีการติดตามแบบสอบถามอยา่ งใกล้ชดิ จะทาใหผ้ ลของการตอบแบบสอบถามไดร้ ับคืนเพ่ิมข้นึ (Gall Brog and Gall,1996:303) โดยทีบ่ ุญธรรม จติ อนนั ต์ (2540 : 92)ไดร้ ะบวุ า่ การใช้จดหมาย ไปรษณียบัตร หรือโทรศัพท์ ในการติดตามจะได้ข้อมลู กลบั คนื ประมาณร้อยละ 75 3.2.10 ข้อดี-ขอ้ จากดั ของการใชแ้ บบสอบถาม ในการใชแ้ บบสอบถามเพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มูลมีข้อดีและข้อจากดั ดังแสดงในตารางที่ 8.2 (สนิ พนั ธพ์ุ ินิจ,2547:218,บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ุทธ,์ิ 2534 : 95-96) ตารางท่ี 8.2 เปรียบเทยี บข้อดี-ข้อจากดั ของการใช้แบบสอบถาม ขอ้ ดี ข้อจากดั 1. ประหยดั เวลา แรงงานและงบประมาณ 1. อัตราการได้รับคืนน้อย โดย 2. ศกึ ษาจากกลุม่ ตวั อย่างท่ีมีขนาดใหญ่ เฉพาะกลุม่ ทมี่ รี ะดับการศึกษาตา่ มีความครอบคลุมประชากร 2. ผใู้ หข้ อ้ มูลไม่เข้าใจข้อคาถาม 3. ออกแบบได้ดี งา่ ยและชดั เจนใน 3. ควบคมุ สภาพแวดลอ้ มในการตอบ การสรปุ ผล ไม่ได้ 4. ปกปดิ ความลับและคาตอบท่ีมผี ลตอ่ 4. ข้อมลู ที่ได้รบั ไมม่ นั่ ใจว่าเป็น ความรสู้ ึกของผใู้ ห้ข้อมูลได้ดี ผใู้ ห้ข้อมลู ทีแ่ ทจ้ รงิ 5. ไมเ่ กิดความลาเอยี งจากการใชค้ าถาม 5. ผ้ใู ห้ข้อมลู ไมส่ ามารถแก้ไขคาถาม 6. ผใู้ ห้ขอ้ มูลมีอิสระในการให้คาตอบ 7. ไม่จาเปน็ ตอ้ งมีการฝึกอบรมผชู้ ว่ ยวิจยั หรอื ความเขา้ ใจผดิ ไมไ่ ด้ 6. มีแรงจงู ใจในการให้ข้อมลู ตา่ ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 8. ได้ข้อมูลปฐมภมู ทิ เี่ ปน็ ขอ้ มูลทม่ี ี ความสาคญั
หนา้ ที่ 238 บทที่ 8 เครอ่ื งมือ วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู 3.3 การสัมภาษณ์/แบบสัมภาษณ์ 3.3.1 ความหมายของการสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณ์เปน็ วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู โดยใชก้ ารสนทนา ซกั ถามและโตต้ อบ ระหวา่ งผู้เกบ็ ข้อมูลกับผูใ้ หข้ ้อมลู แบบเผชญิ หนา้ ทผี่ เู้ กบ็ ข้อมูลมีการสังเกตบุคลิกภาพ อากัปกริ ิยา ตลอดจนพฤติกรรมทางกาย และวาจาขณะทส่ี ัมภาษณใ์ นการพิจารณาประกอบการสรุปขอ้ มลู (นงลักษณ์ วิรัชชัย,2543 : 70) การสมั ภาษณ์ เปน็ การสนทนาอยา่ งมีจดุ มุง่ หมายระหวา่ งผู้สัมภาษณ์ (Interviewer)กบั ผู้ใหส้ ัมภาษณ์(Interviewee)ที่จะไดข้ ้อมูลตามวตั ถุประสงค์การวจิ ัย และขอ้ มลู จาก สภาวะแวดลอ้ มท่ีไดจ้ ากการสังเกตในการนามาใชเ้ ป็นข้อมลู ประกอบการพจิ ารณาเพื่อสรุปผลการวิจยั อาทิ กริ ยิ า การพูด ลักษณะนิสัย เจตคติ ปฏภิ าณไหวพรบิ ในการใหค้ าตอบ ฯลฯ(นภิ า ศรีไพโรจน,์ 2531:97)ที่ผู้วจิ ยั จะต้องมีการวางแผนและเตรียมการใหม้ ีความพร้อม สรุปไดว้ ่าการสมั ภาษณ์ เปน็ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใชก้ ารสนทนาอย่างมี จุดประสงคร์ ะหว่างผ้สู ัมภาษณ์ และผใู้ ห้สัมภาษณ์ เพื่อใหไ้ ดค้ วามรูค้ วามจริงเกยี่ วกบั พฤติกรรม คณุ ลกั ษณะที่ต้องการ และในกรณีท่มี ีขอ้ สงสัยหรือคาถามใดไม่ชัดเจนก็สามารถถามซ้าหรอื ทา ความชดั เจนได้ทนั ที 3.3.2 ประเภทของการสมั ภาษณ์ 3.3.2.1 จาแนกตามแบบสัมภาษณ์ มีดงั นี้(นิภา ศรีไพโรจน์,2531:97-98 ; Kerlinger,1986 :481) 1) การสัมภาษณ์โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ท่ีมโี ครงสร้าง (Structured Interview) เป็นการสัมภาษณท์ ่ใี ชแ้ บบสมั ภาษณ์ทส่ี รา้ งขึ้นเพอื่ ใชเ้ ป็นกรอบของคาถามใน การสมั ภาษณ์ทเ่ี หมือนกันกบั ผ้ใู ห้สัมภาษณ์แตล่ ะคน/กลุ่ม หรือเป็นแบบใหเ้ ลือกตอบ เป็นวิธีการ ที่งา่ ยสาหรบั การนาผลท่ีได้มาวิเคราะห์ข้อมูลและเหมาะสมกบั ผ้สู มั ภาษณท์ ยี่ ังไม่มีประสบการณ์ มากเพยี งพอ แต่จะต้องระมัดระวังการมีตัวเลือกที่ไมส่ อดคลอ้ งกบั ตวั เลอื กที่กาหนดใหท้ าให้ จาเป็นตอ้ งตอบตามตวั เลือกท่ีกาหนดให้ ดงั น้นั อาจจาเปน็ ต้องมีการกาหนดตวั เลือกแบบปลายเปดิ อาทิ อ่นื ๆ ให้ระบ.ุ ........................................... เป็นต้น 2) การสัมภาษณ์แบบใช้แบบสมั ภาษณ์ที่ไม่มีโครงสร้าง (Non-Structured interview) เป็นการสัมภาษณ์ทใ่ี ชเ้ พียงประเดน็ /หวั ข้อเปน็ แนวทางในการต้งั คาถามโดยทผ่ี สู้ มั ภาษณ์สามารถเปล่ียนแปลงได้ตามสถานการณ์ ทาใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ีหลากหลาย และลกึ ซงึ้ ในการนามาพจิ ารณาประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ผสู้ มั ภาษณ์จะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ม่ี ี ประสบการณ์และความเชยี่ วชาญมากท้ังในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3.3.2.2 จาแนกตามระดับความยดื หยุ่น (Merriam,1998 :79) 1) การสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสร้าง(Highly Structured) เปน็ การสัมภาษณ์ท่ีใช้แบบสมั ภาษณท์ ี่กาหนดประเดน็ คาถามไว้อย่างชดั เจนคล้าย ๆ กบั การใช้ แบบสอบถามเพียงแต่เป็นการซกั ถาม/สนทนาแทนการเขียนตอบ
ระเบียบวธิ ีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 239 2) การสมั ภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง(Semi-structured) เป็น การสมั ภาษณ์ทีใ่ ชป้ ระเด็นคาถามที่มีกรอบกวา้ ง ๆ หรอื เป็นการใชค้ าถามปลายเปิดในการซักถาม 3) การสัมภาษณ์แบบไม่มโี ครงสรา้ ง(Unstructured) เปน็ การ สนทนาอย่างเปน็ ธรรมชาตติ ามสถานการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นโดยใช้วจิ ารณญาณของผูส้ มั ภาษณ์ทจี่ ะต้องเป็น ผู้ทีม่ ีประสบการณ์สงู ในการสัมภาษณ์ 3.3.2.3 จาแนกตามจานวนคนท่ีใหส้ ัมภาษณ์ (ผ่องพรรณ ตรยั มงคลกลู , 2543 :172 ; Merriam,1998 :79 ; Van Dalen,1979 :159) 1) การสมั ภาษณเ์ ป็นรายบคุ คล (Individual Interview) เป็น การสัมภาษณ์ของผูส้ มั ภาษณ์ 1 คนตอ่ ผู้ให้สัมภาษณ์ 1 คน ที่เปน็ วธิ ีการสมั ภาษณ์โดยทวั่ ๆ ไป ที่มี หลักการ ดังน้ี (1) ผู้สมั ภาษณค์ วรหลกี เลย่ี งการโตแ้ ยง้ โดยไมพ่ ยายาม แสดงความคดิ เหน็ (2) ไมข่ ดั จงั หวะผู้ใหส้ มั ภาษณ์ เปน็ ผ้ฟู ังทีด่ ี หาวธิ ีการ เบี่ยงเบนท่ีเหมาะสมเพ่ือนาไปสู่เปา้ หมาย (3) หลกี เลย่ี งการชกั จงู ให้โดยใชค้ าพูด ท่าทาง (4) หลีกเล่ยี งคาถามซอ้ น คาถามนา หรอื คาถามทร่ี ะบเุ พยี ง ใช่-ไม่ใช่ ฯลฯ ซ่งึ การสัมภาษณ์รายบุคคล มขี ้อดี-ขอ้ จากัด ดังแสดงในตารางท่ี 8.3(สงั เคราะห์จาก ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกลู ,2543 :172 ; Merriam,1998 :79 ; Van Dalen,1979 :159 ตารางท่ี 8.3 ข้อดี-ขอ้ จากัดของการสัมภาษณร์ ายบุคคล ข้อดี ข้อจากัด 1. มคี วามเป็นส่วนตวั 1. เสยี คา่ ใช้จา่ ยและแรงงานจานวนมาก 2. ซักถามได้อย่างลกึ ซึ้ง และผู้ให้ 2. ตอ้ งใชผ้ ู้สัมภาษณ์ท่ีมีความชานาญจึง สัมภาษณ์มีอิสระในการตอบ จะได้ขอ้ มลู ที่แท้จรงิ 3. ยดื หยุ่นและเปล่ียนแปลงได้ตาม 3. เกิดความลาเอียงจากผสู้ มั ภาษณ์ สถานการณ์ 4. เกิดความขัดแย้งทางความคิดระหว่าง 4. ใช้การสังเกตสภาพแวดล้อม และ ผู้สัมภาษณแ์ ละผู้ใหส้ ัมภาษณ์ พฤติกรรมของผ้ใู หส้ ัมภาษณ์ที่นามา 5. ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา ประกอบการวิเคราะหข์ ้อมลู หรืออืน่ ๆ ท่ีอาจจะเป็นอปุ สรรคใน 5. ใช้ไดก้ ับบคุ คลโดยทัว่ ๆ ไป การสัมภาษณ์ 6. ไดข้ อ้ เทจ็ จริงบางอย่างท่ีซ่อนเรน้ จาก การซักถาม
หน้าท่ี 240 บทที่ 8 เครอื่ งมือ วิธกี ารทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 2) การสัมภาษณ์เป็นกลุ่มหรอื การสนทนากลุ่ม (Forcus Group Interview) เปน็ การสัมภาษณท์ ีป่ ระยุกตม์ าจากการอภปิ รายกลุ่มผสมผสานกบั วธิ ีการสัมภาษณ์ที่จะ ไดข้ ้อมลู เชิงปฏิสัมพนั ธ์ของกล่มุ บคุ คลด้วย โดยมีหลกั การเบือ้ งตน้ ในการดาเนนิ การ ดงั นี้ (นงพรรณ พิริยานุพงศ,์ 2546:130-142) (1) จุดมุ่งหมายของการสนทนากลุ่ม มดี งั น้ี (1.1) ใชใ้ นการกาหนดสมมุติฐาน (1.2) ใช้ในการสารวจความคดิ เหน็ เจตคติและคุณลกั ษณะ ทส่ี นใจ (1.3) ใชท้ ดสอบแนวคิดเก่ียวกบั ประเด็น/ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ (1.4) ใชใ้ นการประเมินผลทางธรุ กจิ (1.5) ใช้ในการกาหนดคาถามและทดลองใช้แบบสอบถาม (1.6) ใช้ค้นหาคาตอบที่ยังคลุมเครือที่ไดจ้ ากเครือ่ งมือเกบ็ ขอ้ มลู อื่น ๆ (2) ขนาดของกลุม่ ในการสัมภาษณ์ประมาณ 6-12 คน เพือ่ ให้ สมาชกิ กลมุ่ ไดม้ ีโอกาสในการแสดงความคดิ เห็นอย่างทวั่ ถึง (3) จานวนกลมุ่ ควรคานึงถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการใช้ข้อมูลว่า ตอ้ งการเปรยี บเทียบหรือไม่ อาทิ ตอ้ งการเปรยี บเทยี บความคดิ เหน็ ระหวา่ งเพศ ควรใช้แยกกลุม่ เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลทช่ี ดั เจนและลึกซ้ึง (4) ผ้สู มั ภาษณห์ รือผู้นาสนทนากลมุ่ มบี ทบาทในการช้ีแจง วัตถุประสงค์และกระตนุ้ ให้สมาชกิ กลมุ่ สนทนาทุกคนแสดงความคดิ เหน็ เท่าน้ันไมค่ วรนาความคดิ ของ ตนเอง หรือเชื่อมโยงความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่มสนทนา (5) เวลาทีใ่ ชใ้ นการสนทนากล่มุ อย่างต่อเน่ือง ใช้เวลาประมาณ 1- 2 ช่ัวโมง ถ้าใชเ้ วลานานกวา่ น้สี มาชกิ อาจจะหมดความสนในในประเด็นท่ตี อ้ งการ (6) การบันทกึ ข้อมลู ควรใชว้ ธิ กี ารจดบนั ทกึ ข้อมูล ประกอบ กบั การบันทึกเทป/วดี ีทศั น์เพื่อนามาเก็บรายละเอียดของข้อมลู แต่ควรได้รบั การอนุญาตจาก สมาชิกกลุ่ม (7) ผจู้ ดบนั ทึกตอ้ งบันทกึ ผังการนั่งสนทนา/จดบนั ทกึ ข้อมลู (เพียงอยา่ งเดยี วเท่าน้นั )และเป็นผู้ถอดเทปด้วยตนเองเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจทสี่ อดคล้องกัน ซงึ่ การสัมภาษณเ์ ปน็ กลุ่ม มขี อ้ ดี-ขอ้ จากัด ดังแสดงในตารางท่ี 8.4 (Issac and Michael,1982 :131)
ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 241 ตารางท่ี 8.4 ขอ้ ดี-ข้อจากัดของการสมั ภาษณ์เป็นกลุ่ม ขอ้ ดี ข้อจากดั 1. ประหยดั ค่าใช้จ่ายและแรงงาน 1.ย่งุ ยากในการนดั หมายผใู้ ห้สมั ภาษณ์ 2. ได้ข้อมูลของสมาชิกที่แสดง ทจ่ี ะมาพรอ้ มกัน พฤติกรรมกลุ่ม 2. กลุ่มมีความคิดเหน็ ท่สี อดคล้องกนั 3. รบั ทราบแบบแผนการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ โดยขาดเหตุผล ของกลุ่ม 3. จากดั ความคดิ ของบคุ คลท่ีมี 4. เปน็ การระดมสมองทท่ี าให้ได้ ความเกรงใจหรือเคารพในสถานภาพ คาตอบทมี่ คี ุณภาพเน่ืองจากมีการ ของบุคคลในกล่มุ ชี้แจงในประเดน็ ท่ีไมช่ ัดเจน 4. ผทู้ ่ีมีความอ่อนแอทางความคดิ จะ ไดร้ บั การครอบงาจากผู้ท่ีมคี วามคดิ ทเ่ี ขม้ แข็ง 3.3.3 หลักการสัมภาษณ์ทีด่ ี ในการสัมภาษณ์เพ่ือให้ไดข้ ้อมูลตามท่ีต้องการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ มีหลกั การ ในการปฏิบตั ิ ดังนี้ 3.3.3.1 กาหนดจดุ มุง่ หมายและข้ันตอนในการสมั ภาษณใ์ หช้ ดั เจน ว่าใน การสัมภาษณต์ ้องการข้อมลู อะไร กาหนดคาถามอะไรก่อน-หลงั และการใช้แบบสมั ภาษณ์ท่มี ี โครงสร้างจะทาให้ได้ขอ้ มลู ที่ครบถว้ น สมบรู ณ์ และวิเคราะหข์ ้อมูลได้งา่ ยกว่า 3.3.3.2 ผ้สู มั ภาษณจ์ ะต้องเตรียมตัวและวสั ดุอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ให้พรอ้ ม กล่าวคอื ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์จะต้องศกึ ษาในประเด็นทตี่ ้องการสมั ภาษณ์ให้ชดั เจน กว้างขวางและลกึ ซึง้ และประวัติ สว่ นตัวหรือลกั ษณะพิเศษของผู้ใหส้ มั ภาษณ์จะไดส้ ร้างบรรยากาศในการให้ข้อมูล พรอ้ มทั้งจัดเตรยี ม วสั ดอุ ุปกรณ์ อาทิ เทปบันทึกเสยี ง หรอื กลอ้ งถ่ายรูปฯลฯ ให้พรอ้ มและสามารถใชง้ านได้เม่อื ต้องการ 3.3.3.3 การจัดเตรยี มผู้ใหส้ มั ภาษณ์ทจ่ี ะต้องคดั เลือกผู้ที่มีและสามารถใหข้ ้อมูลที่ ต้องการอย่างแท้จรงิ โดยการศกึ ษาประวตั ิเปน็ รายบุคคลทั้งอดตี และปัจจุบนั วา่ มีความสัมพันธ์กบั ข้อมูลท่ีต้องการมากหรอื น้อยเพยี งใด มีความลาเอียงทจ่ี ะบิดเบือนข้อมูลท่ีใหห้ รอื ไม่ 3.3.4 กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยการสัมภาษณ์ สนิ พนั ธ์พุ ินจิ (2547:220-222) ไดน้ าเสนอกระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดย การสัมภาษณ์ ท่ีประกอบด้วยการเตรยี มสัมภาษณ์ การสมั ภาษณ์ และการตดิ ตามการสัมภาษณ์ ดงั แสดงในภาพท่ี 8.5(สิน พันธ์พุ นิ จิ ,2547:222)
หนา้ ที่ 242 บทท่ี 8 เครอ่ื งมือ วธิ กี ารทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเตรียมสัมภาษณ์ กระบวนการเก็บข้อมลู การตดิ ตามการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ ภาพที่ 8.5 กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการสัมภาษณ์ 3.3.4.1 การเตรียมสัมภาษณ์ เป็นขนั้ ตอนในการวางแผน/กาหนด วัตถปุ ระสงค์วา่ จะสัมภาษณ์ ใคร ทไี่ หน เมื่อไร และอย่างไรใหช้ ัดเจน และจัดเตรียมวัสดุอปุ กรณ์ ผู้ชว่ ยวจิ ยั หรือยานพาหนะ ฯลฯ โดยมขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) กาหนดวัตถปุ ระสงค์และวางแผนการสัมภาษณ์ โดยให้ระบุ วัน-เวลา สถานที่และผู้ให้สัมภาษณ์ทชี่ ัดเจน 2) ประสานงานกับผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ หน่วยงาน และผู้ทเี่ กีย่ วข้อง 3) เตรียมเครอื่ งมือในการสมั ภาษณ์ อาทิ แบบสัมภาษณ์ กล้องถ่ายรปู เทปบนั ทึกเสียง ปากกา/ดินสอ ฯลฯ 4) มกี ารฝกึ อบรมผูส้ ัมภาษณ์ในกรณที ่ีมผี ู้สัมภาษณ์หลายคน เพอื่ ให้ความเข้าใจในประเด็นทีต่ ้องการสอดคลอ้ งกัน ดงั น้ี(นงพรรณ พริ ิยานุพงศ,์ 2546 : 110) (1) อธิบายใหท้ ราบวตั ถุประสงคแ์ ละความจาเปน็ ที่ตอ้ งสารวจ ข้อมลู วา่ มีอย่างไรใหม้ ีความเข้าใจอยา่ งชดั เจน (2) ใหผ้ สู้ มั ภาษณท์ ุกคนเขา้ ใจในข้อคาถามที่ถกู ต้อง/ สอดคลอ้ งกัน โดยการชีแ้ จงข้อคาถามตามแบบสอบถามทีละประเด็น พรอ้ มการใชเ้ ทคนิคในการถาม (3) ใหผ้ ูส้ ัมภาษณร์ ับทราบประเภทของข้อมูลในแตล่ ะข้อทจี่ ะ นามาวิเคราะหเ์ พ่ือให้เกบ็ รวบรวมข้อมลู ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (4) ให้ศกึ ษาสภาพท้องถ่นิ และลักษณะของสงั คมทจี่ ะไป สัมภาษณ์ เพื่อเป็นการเตรียมตัว (5) พยามยามปรบั ตวั ให้เขา้ กบั คณะ มีความอดทน เสียสละ (6) รกั ษาระเบยี บวนิ ยั ของหมูค่ ณะ รักษาเวลา/มารยาท หรือ การใช้ภาษาที่ถูกต้องและเหมาะสม กับผใู้ ห้สัมภาษณ์ (7) การบริหารจัดการในการสมั ภาษณ์ อาทิ การแบ่งกลุ่ม การเลือกหวั หนา้ กลุ่ม เวลานดั หมาย การรบั -ส่ง ฯลฯ ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 243
5) ประชมุ ผู้สัมภาษณ์ เพือ่ รับทราบแผนปฏบิ ตั กิ ารและแนวทาง การเก็บข้อมลู ค่าใช้จ่าย และกาหนดนดั หมายทีช่ ดั เจน พร้อมท่จี ะสมั ภาษณ์ 3.3.4.2 การสมั ภาษณ์ ในการสัมภาษณผ์ ู้สัมภาษณค์ วรไปใหท้ นั เวลา กาหนดการทไ่ี ดน้ ัดหมายกบั ผู้ให้สัมภาษณ์ โดยมกี ารแตง่ กายให้เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมในทอ้ งถิน่ พร้อมดว้ ยวัสดอุ ุปกรณ์ทจ่ี ดั เตรียมไว้ มีขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) แนะนาตนเอง พรอ้ มกับช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์/ความสาคญั ขอบเขตและประโยชนข์ องการให้ข้อมูล และสนทนาเรื่องท่ัว ๆ ไปเพือ่ เป็นการสรา้ งความคุน้ เคย 2) ใช้คาถามท่ชี ดั เจนโดยใช้ภาษาพดู หรอื ภาษาท้องถิน่ ทสี่ ภุ าพ ทีละคาถาม และใหค้ าอธบิ ายกรณีทผี่ ู้ให้สัมภาษณไ์ ม่เขา้ ใจ 3) ใช้การสงั เกตพฤติกรรมระหว่างการให้ข้อมูลวา่ ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ ใหข้ ้อมลู ท่ีเป็นจรงิ หรอื ไม่ ถ้าพบว่าไม่แนใ่ จให้ปรบั เปลี่ยนประเด็นคาถามใหม่เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ท่แี ทจ้ รงิ 4) ไมค่ วรซักถามข้อมูลท่สี ามารถเก็บรวบรวมได้โดยใช้การสงั เกต อาทิ เพศ บา้ นเลขท่ี ลักษณะของบา้ น เป็นต้น 5) ไมค่ วรใช้เวลาเกนิ ไปในการสัมภาษณ์และควรหยดุ พัก เมื่อพิจารณาสงั เกตเหน็ ผใู้ ห้สัมภาษณไ์ มค่ ่อยใหค้ าตอบ และผสู้ มั ภาษณ์จะไมแ่ สดงอาการเบื่อหน่ายใน การซกั ถาม 6) พยายามให้ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ให้ข้อมูลมาก ๆ โดยผู้สมั ภาษณ์เป็น ผฟู้ ังท่ีดี แต่มวี ธิ ีการกระตนุ้ ให้ผใู้ หส้ มั ภาษณ์พูด/แสดงความคดิ เหน็ ในประเด็นข้อมลู ทีต่ ้องการ 7) ไม่แสดงอาการเบ่ือหน่ายในขณะฟงั คาให้สัมภาษณ์ทอี่ าจจะ เกี่ยวขอ้ งหรือไมเ่ ก่ียวข้องกบั ประเดน็ ท่ีต้องการ 8) จดบนั ทกึ ข้อมลู ตามที่ได้รบั ตามความเป็นจริงโดยไม่ต้องแปล ความหรอื ขยายความเพราะมิฉะนน้ั จะทาให้เกดิ ความคลาดเคลื่อน 9) ถา้ การสัมภาษณ์จาเปน็ จะต้องถ่ายรปู หรือบันทึกเสียงควรจะต้อง ขออนญุ าตและไดร้ ับการอนญุ าตจากผู้ให้สัมภาษณ์ก่อน 10) เมื่อจะส้นิ สุดการสัมภาษณ์ผูส้ ัมภาษณค์ วรแจ้งข้อมลู /ผลการ สัมภาษณใ์ หแ้ กผ่ ใู้ ห้สมั ภาษณ์ไดร้ ับทราบเพ่ือเพ่ิมเตมิ หรอื แก้ไขข้อมลู /ประเด็นในการสัมภาษณท์ ่ียัง ไมช่ ัดเจน 11) การปิดการสัมภาษณ์ เป็นการดาเนนิ การน้ี (1) กล่าวขอบคณุ ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ท่ีใหค้ วามอนเุ คราะห์ใหข้ อ้ มูล กอ่ ใหผ้ ู้ใหส้ มั ภาษณเ์ กิดเจตคติที่ดใี นการให้สมั ภาษณแ์ ก่ผู้อืน่ ต่อไปในอนาคต หรอื ให้ความร่วมมอื ใน โอกาสทต่ี ้องการได้รับขอ้ มูลเพิม่ เตมิ (2) ทบทวนความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของข้อมูลทไ่ี ดร้ บั โดยการแจง้ ข้อมูลให้ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ไดร้ ับทราบเพ่อื ความชัดเจน หรือแก้ไขปรับปรงุ ข้อมูลให้ถกู ต้อง มากขึ้น
หน้าท่ี 244 บทท่ี 8 เครื่องมือ วธิ กี ารทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 3.3.4.3 การติดตามการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยจะต้องมกี ารติดตามการสมั ภาษณ์ ของผสู้ ัมภาษณ์อย่างใกลช้ ิดว่าไดด้ าเนนิ การตามแผนปฏบิ ัตกิ ารหรือไม่ และได้จานวนผู้ให้สัมภาษณ์ ครบตามจานวนที่ต้องการหรือไม่(ร้อยละ 85-90) ถ้าไมค่ รบตามจานวนจะต้องมาดาเนนิ การตาม ข้ันตอนใหมเ่ พื่อให้ได้ข้อมลู จากผสู้ ัมภาษณท์ เ่ี พยี งพอตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 3.3.5 การจดบันทึกในการสมั ภาษณ์ ในการจดบนั ทึกข้อมูลในการสมั ภาษณ์ ผูส้ มั ภาษณ์จะต้องดาเนินการดังน้ี (นภิ า ศรีไพโรจน์,2531:100) 3.3.5.1 จดบนั ทึกข้อมูลทนั ทหี ลงั จากเสร็จสน้ิ การสัมภาษณเ์ พื่อป้องกัน การลืมสาระสาคัญของข้อมลู ระหวา่ งการสัมภาษณ์ 3.3.5.2 จดบนั ทึกข้อมูลเฉพาะเนือ้ หาสาระทสี่ าคัญเทา่ นนั้ โดยไม่ตอ้ งแสดง ความคดิ เหน็ ผ้สู มั ภาษณป์ ระกอบ เพราะอาจจะทาใหข้ ้อมูลมีอคติ 3.3.5.3 อย่าเว้นขอ้ คาถามใหว้ า่ งในแบบฟอรม์ การสัมภาษณ์โดยไม่มีการ จดบนั ทกึ ถ้าไม่มีคาตอบควรบันทึกสาเหตุว่าเพราะเหตุใด 3.3.5.4 บนั ทึกผลโดยใช้ภาษาของผู้ใหส้ ัมภาษณ์ แต่ถ้ายาวมากควรบนั ทึก เนือ้ หาสาระทีต่ อ้ งการ และใช้ภาษาท่ชี ัดเจน ไม่คลมุ เครือ 3.3.5.5 ข้อความทบ่ี นั ทึก จะประกอบด้วย 1) ชอื่ -นามสกลุ และท่ีอยู่ 2) วนั -เดือน-ปี ทสี่ ัมภาษณ์ 3) ผลการสัมภาษณ/์ ข้อสงั เกตขณะสัมภาษณ์ หรือข้อเสนอแนะ ของผู้ให้สมั ภาษณ์ 4) สรุปผลการสมั ภาษณ์ 3.3.6 ลักษณะของผสู้ ัมภาษณท์ ดี่ ี ในการสัมภาษณใ์ ด ๆ ผสู้ ัมภาษณ์ เป็นเครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ที่ควรจะ มลี ักษณะ ดงั น้ี(นภิ า ศรีไพโรจน,์ 2531:101) 3.3.6.1 มมี นุษยสัมพันธ์ทีด่ ี เป็นผู้ที่มอี ธั ยาศยั ดี ย้มิ แยม้ แจ่มใสในระหว่าง การสนทนา และสามารถทางานร่วมกับผ้อู ่ืนได้เป็นอย่างดี มีประสทิ ธิภาพ 3.3.6.2 มบี ุคลกิ ลักษณะทดี่ ี เปน็ ผู้ที่มกี ิริยาสภุ าพ เรียบรอ้ ย วางตวั ได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ การพูดจาทไ่ี พเราะ อ่อนหวาน ฯลฯ จะทาให้ได้รับข้อมูลที่มปี ระสิทธิภาพจาก ผ้ใู หส้ มั ภาษณด์ ว้ ยความเต็มใจและพงึ พอใจ 3.3.6.3 มคี วามว่องไวในการรับรู้/ไหวพรบิ ดี เปน็ ผทู้ ่มี ปี ระสาทในการรับรูท้ ด่ี ี รวดเรว็ และสามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดข้ึนเฉพาะหนา้ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3.3.6.4 มีความอดทน เปน็ ผทู้ ่ีอดทนตอ่ ความยากลาบากในการเดินทางไป สมั ภาษณ์ การรอคอยผู้ใหส้ มั ภาษณ์ และการซกั ถามเพือ่ ให้ไดร้ ับข้อมูลในระหว่างการสัมภาษณ์ โดย ไมแ่ สดงกิรยิ าอาการที่เบือ่ หน่าย
ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 245 3.3.6.5 มคี วามซอื่ สตั ย์ เปน็ ผทู้ ี่มีความซื่อสัตยต์ ่อตนเองในการจดบันทึก ข้อมูลตามความเป็นจริง และตอ่ ผู้อ่ืนในการแจ้งผลการสมั ภาษณใ์ ห้ผู้ใหส้ ัมภาษณไ์ ด้รับทราบและ ปรบั ปรงุ แก้ไข 3.3.6.6 มีความยุตธิ รรม เปน็ ผทู้ มี่ คี วามยุติธรรมในการปฏิบตั ิตนต่อผู้ให้ สมั ภาษณ์ทุกคนอยา่ งเท่าเทียมกนั และไมม่ ีอคติตอ่ ข้อมูลที่ไมส่ อดคลอ้ งกับความคิดเหน็ ของตนเอง 3.3.6.7 มีความละเอยี ดรอบคอบ เป็นผ้ทู ส่ี ามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจาก การสมั ภาษณ์ได้อยา่ งครบถว้ นตามประเด็นสาคญั ที่กาหนด ท้งั จากการซกั ถามและการสังเกตสภาวะ แวดลอ้ มในระหวา่ งการสัมภาษณเ์ พื่อนาข้อมลู มาประกอบการพิจารณาสรปุ ผล 3.3.6.8 มีความรูค้ วามเขา้ ใจในแบบสมั ภาษณ์ เปน็ ผู้ทม่ี ีความเข้าใจใน ประเด็นที่กาหนดในแบบสมั ภาษณ์อยา่ งชัดเจน และสามารถใชแ้ บบสัมภาษณใ์ นการสมั ภาษณไ์ ด้ อยา่ งคล่องแคล่ว 3.3.6.9 มคี วามสนใจในการสมั ภาษณ์ เป็นผ้ทู ่ใี หค้ วามสนใจในประเด็น ท่จี ะสมั ภาษณ์/ข้อคาถามทาใหส้ ามารถซักถามผ้ใู หส้ ัมภาษณเ์ พื่อใหไ้ ดร้ ับข้อมลู ตามวัตถุประสงค์ 3.3.7 ลกั ษณะของการใชค้ าถามในการสมั ภาษณ์ ในการใช้คาถามในการสมั ภาษณ์ไดจ้ าแนกลกั ษณะการใชค้ าถามตามช่วงเวลา การสมั ภาษณ์ ดงั น้ี(โยธนิ แสวงดี,2541 :143) 3.3.7.1 คาถามสร้างความคนุ้ เคย เปน็ คาถามที่กาหนดข้นึ ในช่วงเริ่มต้น ของการสัมภาษณเ์ พ่ือสร้างความคุ้นเคย/บรรยากาศทีเ่ ป็นกันเองระหวา่ งผ้สู ัมภาษณ์กบั ผู้ให้สมั ภาษณ์ โดยท่ผี สู้ ัมภาษณแ์ นะนาตนเอง/ทีมงานแล้วใหผ้ ู้ให้สมั ภาษณไ์ ด้แนะนาตนเอง และนาสนทนา ในเร่ืองท่วั ๆ ไป 3.3.7.2 คาถามหลกั ทเ่ี ฉพาะเจาะจง เป็นคาถามทกี่ าหนดขึ้นใชใ้ นระหว่าง การสัมภาษณ์ทเ่ี กยี่ วกับประเดน็ หลักทีต่ อ้ งการคาตอบอย่างแท้จริง ทผ่ี ้สู มั ภาษณ์จะต้องมี ความเข้าใจอยา่ งชัดเจนลึกซง้ึ ทจ่ี ะสามารถนามาใช้เปน็ ประเด็นในการสนทนาไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง และเป็นไปตามธรรมชาตใิ หม้ ากทส่ี ดุ 3.3.7.3 คาถามสร้างผ่อนคลาย/เพ่ิมเติม เป็นคาถามที่กาหนดขึน้ เมื่อผู้ สัมภาษณพ์ ิจารณาว่าได้รับข้อมลู จากการสัมภาษณเ์ พยี งพอแล้ว ทอ่ี าจจะเปน็ การสรุปข้อมูลท่ไี ดร้ ับ เพ่ือให้ผ้ใู หส้ ัมภาษณ์ได้ทบทวนคาตอบทใี่ ห้ข้อมูลดว้ ยตนเอง หรอื การกลา่ วเพอื่ แสดงการขอบคุณ/ มอบของท่รี ะลึก และการเปดิ โอกาสใหใ้ นภายหลังในกรณีต้องการได้รับข้อมูลเพิ่มเติม ดังแสดงลักษณะของคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ในภาพที่ 8.6(โยธนิ แสวงด,ี 2541: 143)
หน้าที่ 246 บทท่ี 8 เครอ่ื งมือ วิธีการท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู คาถามหลัก คาถามเฉพาะเจาะจง เริม่ ต้นการสัมภาษณ์ ระหว่างการสมั ภาษณ์ สิน้ สดุ การสมั ภาษณ์ คาถามสรา้ งความคุ้นเคย คาถามสรา้ งผอ่ นคลาย คาถามเพิม่ เตมิ ภาพที่ 8.6 ลกั ษณะของคาถามท่ีใชใ้ นการสัมภาษณ์ เทียนฉาย กรี ะนันท์(2544 : 103) ได้เสนอวิธีการซกั ถามในการสัมภาษณ์ มีดังนี้ 1) การซักถามเพื่อให้ได้ประเดน็ ท่สี มบูรณม์ ากย่ิงขนึ้ อาทิ มีขอ้ มูลท่ีต้องการจะ เพม่ิ เติมอีกไหมครบั ฯลฯ 2) การซักถามเพ่ือให้ไดป้ ระเดน็ ที่ชัดเจนเพิม่ ข้ึน อาทิ กรุณาอธิบายเพิ่มเตมิ หรอื ยกตัวอย่างประกอบด้วย ฯลฯ 3) การซักถามเพ่ือให้ไดป้ ระเดน็ ที่มีรายละเอยี ดที่ตอ่ เนื่อง ลึกซ้งึ อาทิ รับทราบ ข้อมลู มาจากไหน มคี วามคดิ เห็นอยา่ งไรต่อประเดน็ น้ี ฯลฯ 4) การซักถามที่มีการกาหนดขอ้ สมมุตทิ ี่เป็นเง่ือนไข อาทิ สมมตุ ใิ ห้ท่านมีโอกาส เลือกท่านจะเลือกเป็น..........ฯลฯ 5) การซักถามเพื่อให้ไดป้ ฏิกิริยาโตต้ อบของผ้ใู หส้ ัมภาษณท์ ่ีจะมตี ่อสถานการณ์ ทก่ี าหนดขนึ้ หรือให้ไดข้ ้อมลู ท่ีซ่อนเร้นในความคิดนน้ั ๆ อาทิ...........คุณเหน็ ด้วยหรอื ไม่ อย่างไร ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ(2538:135)ไดน้ าเสนอว่าในการสัมภาษณ์เพ่ือให้ได้รบั ข้อมลู ตามวตั ถุประสงค์ ผสู้ มั ภาษณ์ควรใช้คาถามที่มีลักษณะดงั น้ี 1) การสัมภาษณ์ตอ้ งใชเ้ ทคนิคคาถามที่ยั่วยุให้ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ต้องการตอบคาถาม ด้วยความเตม็ ใจ 2) การใชค้ าถามที่ตรงประเด็น ชัดเจนไม่กากวมเพอ่ื ใหผ้ ใู้ หส้ ัมภาษณ์ให้คาตอบ ทต่ี รงประเดน็ 3) การใช้คาถามที่มคี วามเชือ่ มน่ั สงู หมายถึง การใชค้ าถามเดิมจะไดค้ าตอบที่ เหมอื นเดมิ 4) คาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ควรจะได้คาตอบท่ีสามารถนาไปใช้อ้างอิงใน กรณที ี่คล้ายคลึงกันไดเ้ ป็นอย่างดี
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 247 3.3.8 วิธีวเิ คราะห์และสรปุ ผลจากการสัมภาษณ์ หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสมั ภาษณ์ จะมกี ารนาข้อมูลมาวิเคราะห์และ สรุปผล ดงั น้ี(ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกูล,2543 :177) 3.3.8.1 ตรวจสอบขอ้ มูลเบอ้ื งต้น ว่านา่ เช่ือถอื เพียงใด มหี ลักฐานใดใน การพจิ ารณาประกอบ ดังนี้ 1) ใช้เทคนิคการวเิ คราะห์เน้ือหา(Content Analysis) 2) พิจารณาความเชอื่ มโยงระหวา่ งขอ้ มลู 3.3.8.2 ลดทอนข้อมูลจากรายละเอียดไปส่ภู าพรวมท่ีแสดงแบบแผนของ ความคดิ หรือพฤติกรรม 3.3.8.3 ในกรณกี ารสัมภาษณก์ ลุ่ม ข้อมลู ที่สรปุ จะต้องเป็นภาพรวมของกล่มุ ท่ีสะท้อนอิทธิพลของปฏสิ ัมพันธ์ทีเ่ กดิ ขึ้นภายในกลมุ่ ดว้ ย 3.3.8.4 การนาเสนอข้อมูล ทง้ั ในการสัมภาษณ์รายบุคคลหรือรายกลมุ่ จะ ใชว้ ิธีการบรรยาย ท่ีเสรมิ ดว้ ยคาพดู ของให้ผูส้ มั ภาษณ์บางตอนที่เน้นความหมายใหเ้ กดิ ความชัดเจน มากยิง่ ข้นึ 3.3.9 ข้อดแี ละขอ้ จากดั ของการสมั ภาษณ์ มีดังนี้ ในการใชส้ มั ภาษณเ์ พอ่ื เกบ็ รวบรวมข้อมลู มีข้อดแี ละข้อจากดั ดงั น้ี (นิภา ศรีไพโรจน์ ,2531 : 101-102 ; นงพรรณ พิรยิ านพุ งศ,์ 2546 : 127-128) 3.3.9.1 ข้อดีของการสัมภาษณ์ มีดงั น้ี 1) แก้ปัญหาการไดร้ ับแบบสอบถามสง่ กลับคนื มาค่อนข้างน้อย 2) สามารถให้คาช้แี จงเพ่ิมเติมในข้อคาถามท่ผี ู้ใหข้ ้อมูลเกิด ความสงสยั ใหม้ คี วามชัดเจนมากข้นึ และซักถามข้อมูลเพิ่มเติมเม่ือพจิ ารณาวา่ ยังได้รับข้อมลู ไมค่ รบถ้วน 3) นาไปใชไ้ ด้กบั ผูใ้ ห้สัมภาษณ์อยา่ งหลากหลายลักษณะ และ มคี วามเหมาะสมทจี่ ะนาไปใช้กบั บคุ คลทอ่ี ่านและเขียนหนังสือไม่ได้ 4) ใช้การสงั เกตในระหวา่ งการสมั ภาษณ์ทั้งบคุ ลิกภาพ แววตา กริ ิยาท่าทางของผูใ้ ห้สัมภาษณ์ และสภาวะแวดล้อมที่จะนามาประกอบการพจิ ารณาสรุปผลขอ้ มลู 5) ผใู้ ห้สมั ภาษณม์ คี วามพยายามที่จะใหข้ ้อมูล เนอื่ งจากเป็นการ ให้ขอ้ มลู แบบเผชิญหนา้ 3.3.9.2 ขอ้ จากัดของการสัมภาษณ์ มีดังน้ี 1) ตอ้ งใช้เวลา แรงงาน และงบประมาณจานวนมาก โดยเฉพาะ ผู้ใหส้ มั ภาษณท์ ี่อย่หู า่ งไกลกัน 2) ผู้ให้สัมภาษณ์ อาจจะเกดิ ความละอายในการให้ขอ้ มลู บางลกั ษณะที่ต้องการความเป็นส่วนตัว 3) ผู้สัมภาษณจ์ ะต้องเป็นบคุ คลท่มี มี นุษยสัมพนั ธ์ทีด่ ี จงึ จะทาให้ ไดร้ บั ความรว่ มมือในการให้ข้อมูลท่ถี ูกต้อง ชัดเจน และครบถว้ น
หน้าที่ 248 บทที่ 8 เคร่อื งมือ วิธีการทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4) กรณใี ชแ้ บบสมั ภาษณ์แบบไม่มีโครงสรา้ งทาให้ข้อมูลทีน่ ามา วเิ คราะหค์ ่อนข้างย่งุ ยากโดยเฉพาะกรณีที่มผี สู้ ัมภาษณ์หลายคน 5) ขจัดอคติของผสู้ ัมภาษณ์ท่ีมตี อ่ ผ้ใู ห้สัมภาษณ์ไดย้ ากในกรณี รู้จักกันเปน็ สว่ นตัว 6) ภาษาของผสู้ ัมภาษณ์และผูใ้ ห้สัมภาษณ์ในการส่ือความหมาย ทีไ่ มส่ อดคล้องกันก่อให้เกดิ ความเข้าใจท่ีคลาดเคล่อื น 3.3.10 การหาประสิทธภิ าพของการสมั ภาษณ์ 3.3.10.1 ความเทย่ี งตรงของการสมั ภาษณ์ พิจารณาได้จากเนอ้ื หา สาระในข้อคาถามที่กาหนดท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์/ประเดน็ ของการสมั ภาษณ์ และจะตอ้ งได้รบั มาอยา่ งครบถ้วน สมบูรณ์ โดยใหผ้ ู้เช่ียวชาญเป็นผู้พจิ ารณาตรวจสอบ 3.3.10.2 ความเชอื่ มั่นจะตรวจสอบได้จากการหาความสอดคล้องของ การตอบจากการสัมภาษณ์มดี ังน้(ี วิเชยี ร เกตสุ ิงห,์ 2530 :122-124) 1) การสมั ภาษณซ์ า้ เป็นการสัมภาษณ์ซา้ โดยให้ผู้สมั ภาษณ์ คนเดียวไปสัมภาษณ์ผใู้ หส้ ัมภาษณ์คนเดียวแล้วนาผลมาหาคา่ สหสมั พนั ธ์ หรือค่ารอ้ ยละของ ความคงที่ในการตอบ ถ้าพบว่ามีค่าสหสมั พันธ์หรือค่าร้อยละของความคงท่ีในการตอบสงู แสดงวา่ การสัมภาษณม์ คี วามเช่อื มั่นสูง 2) การสมั ภาษณ์โดยใชผ้ สู้ ัมภาษณ์หลายคน เปน็ การสมั ภาษณ์โดยใชผ้ ู้สมั ภาษณ์หลายคนเก็บข้อมลู โดยใช้ข้อมูลชดุ เดยี วกัน แล้วนาข้อมลู มาหา ความสอดคล้องระหวา่ งข้อมูลที่ได้ โดยใชว้ ธิ ีการของแคลดอล(Kendall) หรือวิธีการวิเคราะห์ ความแปรปรวนของฮอยส์ 3.4 การสังเกต 3.4.1 ความหมายของการสังเกต การสงั เกต(Observation) เป็นการใช้ประสาทสัมผัสท้งั ห้า(ตา หู จมกู ลน้ิ และ รา่ งกาย) ในการสงั เกตหรือศึกษาพฤตกิ รรมและปรากฏการณต์ ่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้น ท่ีได้รบั การกระตนุ้ หรอื ไม่กระตนุ้ กไ็ ด้ เพื่อหาข้อสรุปหรือข้อเท็จจรงิ ทตี่ ้องการทราบ(บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบริสุทธ์ิ, 2534 : 39) การสังเกต เป็นวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ที่เปน็ การกระทา กิรยิ าอาการ หรอื พฤติกรรมที่สามารถใช้ประสาทสัมผัสและเครื่องมือช่วยในการรบั ร้แู ละจดบันทึกเป็นข้อมูลได้ (นงลักษณ์ วริ ชั ชัย,2543 : 69) การสังเกต เปน็ การเฝา้ ดูสงิ่ ท่เี กิดขน้ึ /ปรากฏการณ์อยา่ งเอาใจใสแ่ ละกาหนดไว้อย่างมี ระเบยี บวิธเี พือ่ วิเคราะห์หรือหาความสัมพันธ์ของสง่ิ ที่เกดิ ขน้ึ กับส่ิงอื่น ๆ(นงพรรณ พิรยิ านพุ งศ์, 2546 : 80)
ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 249 การสงั เกตเป็นการเก็บรวบรวมข้อมลู ท่เี กีย่ วกับปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมท่ีใช้ ประสาทสัมผัสของผู้สงั เกต ซึ่งการสังเกตจะต้องกระทาโดยทผ่ี ูถ้ กู สงั เกตไม่รตู้ ัวจงึ จะทาใหไ้ ดร้ บั ข้อมูล ทเี่ ป็นจริง และความสาเร็จของการสังเกตข้ึนอยู่กบั ประสาทสมั ผัสของผู้สงั เกต ทจี่ ะต้องใช้ประสาท สมั ผสั ท้งั หา้ การตีความพฤติกรรม การบันทึกข้อมูลอย่างรวดเร็ว ละเอียด และจะต้องไม่มอี คติตอ่ การสรุปข้อมลู ที่ได้รับข้อมูล(กฤติยา วงศ์ก้อม,2545:110) การสงั เกต หมายถงึ การเฝา้ ดอู ย่างเอาใจใส่ การพิจารณาและกาหนดไว้อยา่ งมี ระเบยี บวิธี การเฝา้ ดแู ละกาหนดอย่างแม่นยาในส่งิ ที่เกิดขึน้ เพ่อื หาความสัมพนั ธ์หรอื ความสัมพันธ์ เชิงสาเหตทุ ่เี กดิ ขึน้ (อาธง สุทธาศาสน์,2527 : 152 ) 3.4.2 ระบบการสงั เกต แอนเดอรส์ ันและเบริน์(Anderson and Burn,1989 : 135) ไดน้ าเสนอระบบ การสังเกตท่ปี ระกอบดว้ ยบทบาทของผสู้ ังเกตและสิง่ ทีส่ งั เกต ดงั แสดงในภาพที่ 8.7(Anderson and Burn,1989 : 135) ผู้สังเกต บันทึกอย่างเดียว สิ่งทีส่ ังเกต การสงั เกต การสังเกต สิง่ สงั เกตขน้ึ กับ ระบุไว้ลว่ งหน้า แบบมีโครงสรา้ ง แบบไมม่ โี ครงสรา้ ง ผูส้ งั เกต ผู้สังเกต บันทึกและตคี วาม ภาพที่ 8.7 บทบาทของผ้สู ังเกตและสิง่ ท่จี ะสังเกต จากภาพท่ี 8.7 สามารถอธบิ ายรายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทของผ้สู งั เกต จาแนกเป็น 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1) ผูส้ งั เกตท่ีเป็นผบู้ ันทกึ อย่างเดียว จะตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีประสาทสมั ผัสท่ีดใี นการเก็บรายละเอียด ของขอ้ มูลแลว้ จดบันทึกโดยไม่ตอ้ งตีความหมาย เพ่ือปอ้ งกันความมีอคติ 2) ผสู้ งั เกตทเี่ ป็นผู้บันทกึ และตคี วาม จะต้องเปน็ ผทู้ ่ีมปี ระสบการณ์สูงและใช้ เทคนิคการสงั เกตที่เน้นภาพรวมของปรากฏการณ์(Holistic View)ในระหวา่ งการสงั เกต ท่ีเปรยี บเสมอื นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เบื้องตน้
หน้าท่ี 250 บทที่ 8 เครื่องมือ วธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.4.3 ประเภทของการสงั เกต จาแนกได้ ดงั น้ี 3.4.3.1 จาแนกตามโครงสร้างของเครื่องมือที่ใช้ 1) การสังเกตแบบมโี ครงสรา้ ง (Structured Observation) เป็น การสังเกตทีม่ รี ายละเอียดพฤตกิ รรมหรอื ปรากฏการณ์ท่ไี ด้ระบุไว้ล่วงหนา้ เปน็ การสงั เกตที่มีระบบ ชัดเจน โดยจะใชเ้ ครือ่ งมือท่ีได้สรา้ งไวอ้ ย่างเป็นมาตรฐานให้ผสู้ งั เกตได้ใชเ้ ป็นคมู่ ือการสงั เกต และจดบันทึก โดยมีหลักการเบอ้ื งต้นและข้อดแี ละข้อจากัดในการใช้ ดงั น้ี (1) หลักการเบ้ืองตน้ ของการสงั เกตแบบมโี ครงสร้าง มดี ังน้ี (Wilkinson, 1995 : 218-221) - เลอื กพฤติกรรมที่จะสงั เกตและผูท้ ี่ไดร้ บั การสังเกต ใหม้ ีความชัดเจนว่าจะสงั เกตพฤติกรรมอะไร ของใคร - กาหนดความหมายของพฤติกรรมท่ีจะสงั เกตไว้ อยา่ งชดั เจน - เลือกสถานการณ์/เวลาท่จี ะสังเกต - เลอื กและสร้างเครอ่ื งมือในการสังเกต -ในกรณที ี่มีผสู้ ังเกตหลายท่าน ควรได้มีการชี้แจง พฤติกรรมท่ีต้องการสงั เกตให้มีความสอดคล้องกัน (2) ข้อดี-ขอ้ จากัดของการสงั เกตแบบมโี ครงสรา้ ง (Anderson and Burn,1989 : 141-142) ดงั แสดงในตารางท่ี 8.5 ตารางท่ี 8.5 ข้อดีและข้อจากัดของการสังเกตแบบมีโครงสร้าง ข้อดีของการสังเกตแบบมโี ครงสรา้ ง ข้อจากัดของการสังเกตแบบมโี ครงสร้าง 1. เปน็ วธิ ีการทีม่ คี วามเข้าใจร่วมกนั และส่ือสาร 1. มีรายละเอียดของประเด็นทตี่ ้องทาความเขา้ ใจ ระหวา่ งกันได้อย่างชัดเจนวา่ ประเด็นท่จี ะสงั เกต และตอ้ งจดบันทึกข้อมูลทุกประเดน็ ทาใหน้ ่าเบื่อ คืออะไร สงั เกตแล้วจะได้ขอ้ มูลอยา่ งไร และจะ หน่ายเม่ือจะต้องดาเนินการสังเกตหลาย ๆ ครั้ง นาไปตีความอยา่ งไร 2. ไม่มีโอกาสที่จะสังเกตสภาวะแวดล้อมท่ีจะ 2. มคี วามคงที่ในข้อมูลที่ไดจ้ ากการสงั เกตที่ นามาประกอบการวิเคราะหข์ ้อมลู ทาให้ข้อมูลที่ กาหนดประเด็นไว้อย่างชัดเจน ดงั นน้ั ผู้สงั เกต ไดอ้ าจจะเปน็ ข้อมูลเบ้ืองตน้ ท่ีเป็นเพียงตัวเลขท่ี หรอื ผ้ชู ่วยสงั เกตทไี่ ด้รับการชี้แจงจะสามารถเกบ็ ระบุไวแ้ ต่ไมม่ ีความหมายท่ลี กึ ซง้ึ และครอบคลุม รวบรวมขอ้ มูลได้ในลักษณะเดียว 3. ขอ้ มลู ท่ีได้ส่วนมากจะเป็นขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ หรือประเดน็ ที่ชัดเจน ทเี่ อ้ือต่อการวิเคราะห์ ข้อมลู ท่ีจะสามารถดาเนนิ การไดอ้ ย่างสะดวก และรวดเรว็
ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าที่ 251 2) การสังเกตแบบไมม่ โี ครงสร้าง(Unstructured Observation)เปน็ การสังเกตท่ไี ม่ไดร้ ะบุรายละเอยี ด เปน็ วธิ ที ีใ่ หผ้ ูส้ งั เกตได้ใช้วิจารณญาณใน การเลือกประเดน็ ท่ีจะสงั เกตและจดบนั ทึก โดยสว่ นมากผใู้ ชว้ ิธกี ารนจี้ ะเปน็ ผทู้ ่ีมปี ระสบการณ์สูง สามารถรับรู้และเขา้ ถึงปรากฏการณไ์ ดง้ ่าย และมีความไวเชิงทฤษฏ(ี Theoretical Sensitivity) 3.4.3.2 จาแนกตามพฤติกรรมหรือบทบาทของผู้สงั เกต(Merriam,1998 : 100-101) 1) การสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ ม(Participant Observation) เป็น การสงั เกตทีผ่ ู้สังเกตเปน็ สว่ นหน่ึง(Complete Participant)หรอื ท่มี สี ว่ นร่วม(Participant as Observer)ของปรากฏการณ์ทศ่ี กึ ษาซึ่งสมาชิกอาจจะทราบหรือไม่ทราบบทบาทของผู้สังเกต เป็น วิธกี ารศึกษาทีม่ คี วามเปน็ ธรรมชาติ ทาให้สามารถเขา้ ถึงความหมายแฝงเร้นของพฤตกิ รรมท่ี แสดงออกไดอ้ ย่างลึกซง้ึ มากขึ้น จาแนกเป็น ดงั น้ี 2) การเข้าไปรว่ มโดยสมบูรณ์ (Complete Participant)ผ้สู งั เกต จะเปน็ สมาชกิ คนหนงึ่ ของกลุ่มทท่ี าการสงั เกต โดยทีผ่ ู้ถูกสังเกตจะไม่รู้ตัวว่ากาลงั ถกู สงั เกตพฤติกรรม ผสู้ งั เกตจะต้องปกปดิ บทบาททแ่ี ทจ้ รงิ ของตนเองและต้องเป็นผ้ทู ีม่ คี วามสามารถสงู ท่ีได้รับการฝึกฝน มาเป็นอย่างดี 3) การเขา้ ร่วมโดยไมส่ มบูรณ์(Incomplete Participant) ผูส้ งั เกตจะเข้าร่วมและมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ ของกลุ่มที่ทาการสังเกตตามทีส่ มควรเพอ่ื สร้าง ความคนุ้ เคยแล้วสงั เกตพฤติกรรมหรอื ปรากฏการณ์ท่เี กดิ ขึ้น และผถู้ กู สงั เกตจะรตู้ วั ว่ากาลงั ได้รับการสงั เกต 4) การสงั เกตแบบไมม่ ีส่วนรว่ ม(Non-Participant Observation) เป็นการสงั เกตท่ีผู้สังเกตเป็นเพยี งผู้สังเกตที่อาจจะซ่อนเรน้ หรือเปิดเผยอยูภ่ ายนอก เพอ่ื สงั เกตพฤติกรรมที่เกดิ ขึ้นโดยทผ่ี ู้ถกู สังเกตจะรู้ตัวหรือไมร่ ตู้ ัว 3.4.3.3 จาแนกตามบทบาทของวิธีการ(ปาริชาติ สถาปิตานนท.์ 2546 : 145) 1) การสงั เกตโดยตรง(Direct Observation) เป็นการสังเกตใน สถานการณ์ที่เกิดขึ้นจรงิ หรอื สภาพแวดล้อมจรงิ 2) การสังเกตโดยอ้อม (Indirect Observation) เปน็ การสังเกต จากข้อมลู เทป ภาพถา่ ย หรือส่อื มวลชน 3) การสงั เกตจากสถานการณจ์ าลอง เป็นการสงั เกตโดย การกาหนดสถานการณจ์ าลองแลว้ ให้บุคคลทต่ี ้องการสงั เกตไดอ้ ยู่ในสถานการณนัน้ ๆ เพอ่ื แสดง พฤติกรรม
หนา้ ท่ี 252 บทที่ 8 เครอ่ื งมือ วิธีการทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.4.4 หลกั การในการสงั เกต ในการสงั เกต มหี ลกั การท่ีควรปฏิบตั ดิ งั น้ี(กฤติยา วงศก์ ้อม,2545 : 111; นงลักษณ์ วริ ัชชัย,2543 : 69; บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ทุ ธ,์ิ 2534 : 41-42) 3.4.4.1 กาหนดจุดมุง่ หมายการสงั เกตท่ีชัดเจน เฉพาะเจาะจง ท้งั พฤติกรรมทส่ี ังเกตและผู้ท่ีได้รบั การสังเกต 3.4.4.2 กาหนดความหมายของพฤติกรรมหรือคณุ ลักษณะท่สี งั เกตให้ ชดั เจนวา่ คืออะไร เป็นอยา่ งไร ขอบเขตการสังเกต เชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ โดยอาจจะกาหนด เป็นรายการของพฤติกรรมทต่ี ้องการสังเกตไวล้ ว่ งหน้า 3.4.4.3 การสงั เกตจะต้องวางแผนดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบ อาทิ ใช้การสงั เกตพฤติกรรมหรอื คุณลกั ษณะนัน้ ๆในชว่ งเวลาใด นานเทา่ ไร(ที่แตกตา่ งกัน) 3.4.4.4 การสงั เกตทดี่ จี ะต้องมกี ารบนั ทกึ ผลการสงั เกตตามสภาพจริง ที่เป็นระบบ ชัดเจนและรวดเร็วที่อาจจะเปน็ แบบตรวจสอบรายการ หรือมาตราส่วนประมาณค่า หรือ แบบจดบันทึกขอ้ มลู ท่ีเปน็ คาถามปลายเปิดท่ีควรมกี ารช้ีแจงใหเ้ ปน็ แนวทางเดียวกันในกรณี ทมี่ ีผ้สู งั เกตหลายคน และไมต่ ้องตคี วามเนื่องจากจะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากเกดิ ความกงั วลกับการตีความ 3.4.4.5 ควรมีการสงั เกตในพฤติกรรมหรอื คุณลักษณะหนึ่ง ๆ หลาย ๆ คร้ังเพ่ือให้ได้รบั ข้อมูลที่มคี วามเชือ่ มนั่ และหลาย ๆ สถานการณเ์ พอ่ื ให้ได้รบั ขอ้ มูลทม่ี ีความเทีย่ งตรง 3.4.4.6 ผูส้ งั เกตจะตอ้ งมีศึกษาและค้นควา้ ให้มีความรอบรู้ ชดั เจนใน พฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ท่ีสังเกตใหม้ ากท่ีสุด ฝึกทักษะการสงั เกต รวมท้ังมปี ระสาทในการรบั รู้ที่ สมบรู ณ์และสขุ ภาพการที่สมบูรณ์ แขง็ แรง 3.4.5 กระบวนการเกบ็ ขอ้ มูลโดยการสังเกต ในการสงั เกตปรากฏการณห์ รือพฤติกรรมใด ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ผูส้ ังเกตจะกระบวนการ ที่จาแนกเปน็ ขั้นตอนในการสังเกต ดังแสดงในภาพท่ี 8.8
ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 253 การเตรยี มการ การสนิ้ สดุ กระบวนการการสงั เกต การดาเนนิ การ การบนั ทึกขอ้ มลู ภาพที่ 8.8 กระบวนการเกบ็ ข้อมลู โดยการสังเกต จากภาพท่ี 8.8 สามารถอธิบายรายละเอยี ดของขนั้ ตอนในกระบวนการสังเกต ดงั น้ี 3.4.5.1 ขัน้ การเตรยี มการ เปน็ การเตรยี มการก่อนทีจ่ ะดาเนินการสงั เกต ทจ่ี ะมีข้นั ตอนในการดาเนนิ การดังน้ี 1) กาหนดประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ งทจี่ ะสงั เกตตามวตั ถุประสงค์ ของการวจิ ัย 2) จัดเตรยี มแบบสงั เกต และวัสดอุ ปุ กรณ์ในการสงั เกต อาทิ กล้องถ่ายรูป เทปบันทึกเสียง เป็นต้น 3) ประสานงานกับบุคคล ชมุ ชน หรอื หนว่ ยงานในพื้นที่ เพื่อขอ อนญุ าตเขา้ สังเกต 4) จดั ฝกึ อบรมผู้สงั เกตในการใช้แบบสังเกตการจดบันทึก และ ทกั ษะการอยรู่ ว่ มกับชุมชน 5) จัดเตรียมคา่ ใชจ้ ่าย และยานพาหนะ และอน่ื ๆ 3.4.5.2 ขั้นการดาเนนิ การ มีขั้นตอนในการดาเนินการ ดังนี้ 1) พดู คุย หรือแนะนาตนเองเพ่อื สร้างความสมั พันธ์ท่ีดกี ับผู้ไดร้ บั การสังเกตใหเ้ กิดความเขา้ ใจ ไวว้ างใจ และความคุน้ เคย 2) สงั เกตสภาพแวดล้อมทวั่ ไป และข้อมูลของกลุ่มตวั อยา่ ง ทางกายภาพในภาพรวมที่สามารถสงั เกตได้ อาทิ เพศ วยั ความเป็นอยู่ และบทบาทของบคุ คล เปน็ ตน้
หน้าที่ 254 บทที่ 8 เครอ่ื งมือ วิธกี ารท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3) เมือ่ เกดิ ความคนุ้ เคยกบั กลุ่มตวั อย่างแล้วจงึ ดาเนนิ การสงั เกต แบบเจาะลกึ กบั ข้อมลู ท่ีเฉพาะเจาะจงจากแบบสังเกตท่ีจัดเตรียมไว้ โดยการใชค้ าถาม และภาษา ท้องถนิ่ ทแ่ี สดงความเป็นกนั เอง 3.4.5.3 ขัน้ การจดบันทกึ ข้อมลู เป็นการบันทกึ ข้อมลู ทเ่ี ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ทไ่ี ด้ จากการสังเกตอย่างรวดเร็ว และทนั ทที ี่พบข้อมูลเพื่อป้องกันการลมื ข้อมลู หรอื ถา้ ไม่มีโอกาสใน ขณะน้ันใหจ้ ดบนั ทึกทนั ทหี ลังจากสน้ิ สดุ การดาเนนิ การสังเกต 3.4.5.4 ขนั้ การสน้ิ สุดการสงั เกต เป็นข้ันตอนหลังจากไดพ้ ิจารณา ความเพยี งพอของข้อมูลท่ตี ้องการตามวตั ถุประสงค์ของการสังเกตแล้วให้แสดงการขอบคณุ ในความอนเุ คราะห์และความร่วมมอื หรือมอบของทีร่ ะลึก เป็นการส้นิ สุดกระบวนการสังเกต 3.4.6 กรอบในการสงั เกต ในการสงั เกตใด ๆ เพ่อื ให้การสังเกตมีระบบ ชดั เจนมากขนึ้ ได้กาหนดกรอบ ในการสังเกต ดังน้(ี นงพรรณ พิริยานพุ งศ์,2546 : 85-87) 3.4.6.1 การกระทา(Act) เป็นการกระทาหรอื พฤตกิ รรมทีเ่ กิดขน้ึ ทั่ว ๆ ไป ในสถานการณ์ปกติ 3.4.6.2 กจิ กรรม(Activities) เป็นการกระทาหรือพฤตกิ รรมท่ีมขี ้ึนก่อน และตอ่ เน่ืองท่ีแสดงสถานภาพ บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในกลมุ่ ที่ทาการสงั เกต 3.4.6.3 ความหมาย(Meaning) เปน็ การปฏิบตั ิหนา้ ทขี่ องบคุ คลที่แสดง ความเข้าใจสภาพสงั คม วฒั นธรรม และคา่ นิยม 3.4.6.4 ความสมั พนั ธ์(Relationship) เปน็ ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล ในกลมุ่ ที่สังเกตทจี่ ะนามาวเิ คราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล 3.4.6.5 การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม(Participant) เป็นความรว่ มมือของ สมาชกิ ในกจิ กรรมทีแ่ สดงความสมั พนั ธท์ ี่ดแี ละความขดั แย้งไดช้ ดั เจนมากขึน้ ในการสังเกต 3.4.6.6 สภาพสังคม(Setting) เป็นภาพรวมทีเ่ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู และ ประเมนิ จากสภาพสังคมของกลุ่ม สถานที่ ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลฯลฯ 3.4.7 เทคนคิ ในการสงั เกต นงพรรณ พิริยานุพงษ์(2546 : 89-90 อ้างองิ มาจาก Wolcott,1981) ได้ นาเสนอเทคนิคในการสงั เกต ดงั น้ี 3.4.7.1 สงั เกตและจดบันทกึ ทุกส่งิ ทุกอย่างทม่ี องเหน็ และพิจารณาแล้ววา่ มคี ณุ คา่ แก่การจดบันทึก 3.4.7.2 ไมส่ ังเกตและจดบันทึกอะไรเลย รอคอยให้เหตกุ ารณ์ทนี่ า่ สนใจ เกดิ ขนึ้ แล้วจึงเรม่ิ สังเกตและจดบันทึก 3.4.7.3 สังเกตในส่ิงหรอื ประเดน็ ทีข่ ัดแยง้ กบั การรบั รู้ของตนเอง 3.4.7.4 สงั เกตจากสง่ิ หรือประเด็นท่ีบุคคลทัว่ ไปพจิ ารณาแลว้ ว่าเปน็ ปญั หา
ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 255 3.4.8 ลกั ษณะของผสู้ ังเกตทด่ี ี ลักษณะของผ้สู งั เกตที่จะสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีต้องการได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ควรมลี ักษณะ ดังนี้ 3.4.8.1 เปน็ ผทู้ มี่ ีจิตวญิ ญาณทางมนุษยวิทยา มคี วามซาบซ้ึงและสนใจท่ี จะศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ มีความอดทน มีความต้ังใจ และมสี มาธิ 3.4.8.2 เปน็ ผ้ทู ี่มปี ระสาทสัมผสั การรับรู้ทีด่ ี มที ักษะการสังเกต มีความละเอียดรอบคอบ 3.4.8.3 เปน็ ผ้มู ีจริยธรรมของนักวจิ ยั ไมเ่ ปิดเผยความลบั ของกลุม่ ตวั อย่าง และไม่ลาเอยี ง 3.4.8.4 เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละการแปลความ มคี วามเขา้ ใจในปรากฏการณ์ สามารถวเิ คราะห์และแปลความหมายได้ถูกตอ้ ง 3.4.8.5 เป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์ ประกอบด้วยประสบการณเ์ ก่ยี วกบั ชมุ ชน การสงั เกตอนั เกดิ จากทักษะของตนเอง การฝึกอบรม และการศกึ ษาจากแหลง่ ความรตู้ า่ ง ๆ 3.4.9 บทบาทของผ้สู งั เกต ในการสงั เกตใด ๆ ไดจ้ าแนกบทบาทของผสู้ ังเกต ดังนี้(นงพรรณ พริ ิยานุพงศ์, 2546 : 91 อา้ งอิงมาจาก Denzin : 1978) 3.4.9.1 ผู้เข้ารว่ มโดยสมบรู ณ์ เป็นการสังเกตท่ีผสู้ ังเกตเขา้ ร่วมกิจกรรม โดยทผ่ี ถู้ กู สงั เกตไม่รู้ตวั วา่ ถูกสงั เกตพฤติกรรมหรือเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.4.9.2 ผเู้ ขา้ ร่วมในฐานะนักสังเกต เปน็ ผูส้ ังเกตท่ีผ้ถู ูกสงั เกตรตู้ ัวโดยท่ี ผู้สงั เกตจะต้องสร้างความคนุ้ เคย/ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลในกล่มุ เพื่อให้ได้รบั ข้อมลู 3.4.9.3 ผสู้ งั เกตในฐานะผเู้ ขา้ รว่ ม เปน็ บทบาทของผสู้ งั เกตทเ่ี ปน็ ทางการ โดยการไปสมั ภาษณบ์ ุคคล โดยการแนะนาตนเองให้เป็นท่รี ู้จกั แล้วเกบ็ รวบรวมข้อมูลทต่ี ้องการ ในระยะเวลาสั้น ๆ 3.4.9.4 ผสู้ งั เกตโดยสมบูรณ์ เปน็ บทบาทของผู้สงั เกตที่ไม่มคี วามสมั พันธ์ กับผใู้ หข้ ้อมลู จะไม่ทราบวา่ กาลังถกู สงั เกตพฤติกรรมผา่ นสื่อต่าง ๆ อาทิการสงั เกตผ่านกระจก ดา้ นเดยี ว เป็นตน้ 3.4.10 เครอ่ื งมือที่ใช้ประกอบการสังเกต ในการสังเกตจาเป็นจะตอ้ งมีการจดบันทกึ พฤตกิ รรมการแสดงออกหรือ คณุ ลักษณะต่าง ๆ จึงมเี คร่ืองมอื ท่ีใช้ประกอบการสงั เกต ดังนี้ 3.4.10.1 แผนภูมกิ ารมีส่วนร่วม เปน็ การสังเกตพฤติกรรมท่เี กิดขนึ้ ตาม ธรรมชาติในการเขา้ ร่วมกิจกรรมของสมาชิกในกลุ่มเลก็ ๆ โดยทผ่ี ู้สงั เกตเปน็ ผู้สังเกตการณ์ ภายนอกเพ่อื ป้องกันความลาเอียง และจดบนั ทกึ ทนั ทเี มื่อไดส้ งั เกตพบพฤตกิ รรมหรือใน คุณลกั ษณะที่ต้องการเพ่ือป้องกนั การลมื แลว้ จึงนาผลการบันทกึ มาแปลความหมายตามจดุ ม่งุ หมาย อีกคร้ังหน่งึ ดงั ตวั อย่างตารางแผนภูมิการมีสว่ นร่วมในการอภปิ รายกลุ่มในตารางท่ี 8.6
หน้าที่ 256 บทที่ 8 เครื่องมือ วิธกี ารทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตารางที่ 8.6 แบบจดบันทึกแผนภมู กิ ารมสี ว่ นรว่ มในการสังเกต แนวความคิดท่ีนาเสนอ สมศักดิ์ ผูเ้ รยี นทร่ี ่วมอภิปราย สมควร ในการอภปิ ราย สมศรี สมชาย มคี วามสาคัญมาก มคี วามสาคญั น่าสงสัย-ไม่ชัดเจน อภปิ รายไม่ตรงประเด็น 3.4.10.2 แบบตรวจสอบรายการ ท่เี ปน็ การรายการแสดงขนั้ ตอน กจิ กรรมหรือพฤติกรรมและคุณลักษณะของกลุ่มหรอื รายบุคคลทผี่ ู้สงั เกตไดจ้ ดบันทกึ ไวว้ า่ มี-ไมม่ ี/ จริง-ไม่จริง/ใช่-ไม่ใช่ แตจ่ ะไม่มกี ารประมาณค่าระดับความเขม้ ของพฤติกรรมทเี่ กดิ ขึน้ ดังตวั อย่าง การสังเกตกระบวนการสร้างแบบทดสอบของผ้เู รยี นในตารางท่ี 8.7 ตารางท่ี 8.7 แบบตรวจสอบรายการกระบวนการสร้างแบบทดสอบ พฤตกิ รรมทส่ี ังเกต มี ไมม่ ี 1.กาหนดจดุ ม่งุ หมายเชิงพฤติกรรม 2. แสดงรายละเอยี ดของเนือ้ หาและพฤติกรรมทว่ี ดั 3.กาหนดลักษณะของแบบทดสอบท่ีใช้ 4. ตัดสนิ ใจจะใช้ข้อสอบกี่ข้อ 5. กาหนดระดบั ความยากของขอ้ สอบ 6.ลงมอื เขียนข้อสอบ 7. ตรวจสอบความถูกต้อง 8. เฉลยคาตอบ 3.4.10.3 มาตราส่วนประมาณค่า เป็นการกาหนดรายการหรอื พฤติกรรมท่ตี ้องการสังเกตในลักษณะของการประเมินทีม่ ีค่าระดบั ความเขม้ ของพฤติกรรมหรอื คณุ ลักษณะท่ีเกิดข้ึน(กระบวนการ/ผลลัพธ)์ โดยมีผสู้ ังเกตเปน็ ผปู้ ระเมนิ แต่จะตอ้ งระมัดระวังใน การกาหนดข้อความท่ีกากวม ความลาเอียงของผู้สังเกตท่ีเป็นในลกั ษณะ Hallo Effect หรอื ธรรมชาติ และสภาวะแวดลอ้ มของสิ่งท่ีจะสงั เกต
ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 257 3.4.11 ขอ้ เสนอแนะท่ีควรคานงึ ในการดาเนินการสังเกต บุญธรรม กจิ ปรีดาบริสุทธ(์ิ 2534: 51)ได้ใหข้ ้อเสนอแนะในการสังเกต มดี งั น้ี 3.4.11.1 ผู้สงั เกตต้องมีความรใู้ นประเด็นท่จี ะไปสังเกตเป็นอยา่ งดี หรือศกึ ษาหาความร้เู กีย่ วกับประเดน็ นัน้ ๆ ให้มากทีส่ ุด 3.4.11.2 กาหนดจดุ ม่งุ หมายของการสงั เกตให้ชัดเจน สอดคลอ้ งกบั ประเด็นที่ต้องการได้ขอ้ มลู 3.4.11.3 ก่อนสังเกตจะต้องเตรียมเคร่อื งมือชว่ ยบันทึกข้อมูลใหพ้ ร้อม และสามารถใชบ้ นั ทึกขอ้ มูลได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ 3.4.11.4 พยายามจาแนกข้อมูลที่สังเกตเปน็ หมวดหมู่ ตามประเดน็ ที่ ต้องการ และสังเกตทลี ะประเด็น เพือ่ ป้องกันความสบั สนทเี่ กดิ ขนึ้ 3.4.11.5 ในการสังเกตต้องเน้นความเฉพาะเจาะจง และต้ังใจสงั เกต ด้วยความระมดั ระวัง เพราะปรากฏการณห์ รือพฤตกิ รรมบางอยา่ งเกิดข้นึ อย่างรวดเรว็ และจะ สญู หายไปโดยไมเ่ กิดข้ึนอกี กเ็ ปน็ ไปได้ 3.4.11.6 พยายามสงั เกตให้เป็นปรนยั มากท่ีสดุ โดยใชแ้ บบจดบนั ทึก ข้อมูลที่จัดเตรียมไว้ลว่ งหน้าแลว้ 3.4.11.7 ก่อนจะสงั เกตควรเตรียมการให้พรอ้ มทัง้ วิธีการ ประเด็น และเครื่องมือทชี่ ว่ ยในการบันทกึ ข้อมูลทจ่ี ะต้องมีการทดลองใชม้ าแล้ว 3.4.12 ขอ้ ดแี ละข้อจากัดในการสังเกต ในการสงั เกต ผู้สังเกตควรไดค้ านึงถึงข้อดแี ละขอ้ จากัดของการสังเกต ดงั แสดง ในตารางที่ 8. 8(นงลักษณ์ วิรชั ชยั ,2543 : 70 )
หน้าที่ 258 บทท่ี 8 เครอื่ งมือ วิธกี ารทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ตารางที่ 8.8 ข้อดีและข้อจากัดของเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสงั เกต ขอ้ ดีในการเกบ็ ขอ้ มูลโดยใช้การสังเกต ข้อจากัดในการเกบ็ ขอ้ มลู โดยใช้การสงั เกต 1. เป็นข้อมูลตามธรรมชาตจิ ากแหล่งปฐมภมู ทิ ่ีได้ 1.บางกรณจี ะใช้งบประมาณจานวนมากหรอื จากพฤตกิ รรมการแสดงออกท่ีชดั เจน ลกึ ซึ้ง เวลานานกวา่ วิธีเกบ็ ข้อมลู อนื่ ๆ เนอ่ื งจากต้องรอ 2. ได้รบั ข้อมลู ทีไ่ มค่ าดหวงั หรือผูถ้ ูกสังเกต คอยการเกิดพฤติกรรม ไมเ่ ตม็ ใจในระหวา่ งการสงั เกตทใ่ี ช้กับผทู้ ไี่ ม่ 2) เป็นข้อมลู ในเชงิ บรรยายที่ยุ่งยากใน สามารถให้ข้อมลู โดยตรง อาทิ เด็กเล็ก ๆ หรอื การวเิ คราะห์ข้อมลู เพื่อหาข้อสรุปโดยเฉพาะใน ผพู้ กิ ารท่ีพูดไมไ่ ด้ เป็นต้น เชิงเปรยี บเทียบ 3) สามารถแปลความหมายจากข้อมลู ทสี่ ังเกตได้ 3) ถ้ากลุ่มตวั อย่างรตู้ ัวว่าถูกสังเกตอาจจะมี 4) เป็นหลักฐานขอ้ มลู เพ่ิมเติมท่ีใช้ใน ความระมัดระวังในพฤติกรรมการแสดงออกที่ การสัมภาษณ์ใหเ้ กดิ ความถูกต้อง และชัดเจน ไมส่ อดคลอ้ งกับพฤติกรรมท่ตี ้องการ มากยิ่งข้ึน 4) คุณภาพของข้อมลู ขึน้ กบั ทักษะวธิ ีการ การสงั เกตของผสู้ งั เกตทจี่ ะต้องได้รบั การฝกึ อบรม/ชแี้ จงให้มีความเข้าใจทสี่ อดคล้อง กันและมีประสาทในการรับรู้ท่ีดี 5) บางพฤตกิ รรมท่ีอาจจะเกิดขึ้นอยา่ งรวดเรว็ / เกดิ ขน้ึ เพียงครั้งเดยี วในขณะท่ผี สู้ งั เกตไมไ่ ด้ สงั เกต 6) ใช้กบั รายบุคคลที่ไม่สามารถให้ข้อมลู ด้วย วิธกี ารใด ๆ หรือกล่มุ ตัวอยา่ งขนาดเลก็ 7) พฤตกิ รรมบางอยา่ งเปน็ พฤติกรรมท่ีซ่อนเรน้ ทีจ่ ะแสดงออกนาน ๆ ครง้ั ท่ผี ู้สังเกตอาจจะ ไมไ่ ด้รับข้อมูล 3.4.13 การหาประสทิ ธิภาพของการสังเกต 3.4.13.1 ความเท่ยี งตรงของการสังเกต พิจารณาได้จากเน้ือหาสาระ ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์/ประเดน็ ของการสังเกต และจะตอ้ งได้รับมาอย่างครบถ้วน สมบูรณ์ โดยจะพิจารณา ดังน้ี 1) ความสอดคลอ้ งของข้อมูลและลักษณะของข้อมูลท่ีกาหนดไว้ วา่ สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์หรอื ประเด็นท่ีตอ้ งการหรือไม่ โดยใช้ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเน้อื หาสาระ เปน็ ผตู้ รวจสอบ
ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 259 2) วิธีการทีใ่ ช้สงั เกต เลือกใชว้ ิธกี ารสังเกตท่ีให้ได้รับขอ้ มูลท่ี เปน็ จริง โดยการมีสว่ นร่วมหรอื ไม่มีสว่ นรว่ มของผู้สังเกต ที่ขน้ึ อยกู่ ับสถานการณแ์ ละปรากฏการณ์ นน้ั ๆ 3) ผู้สงั เกต จะต้องเป็นผู้ทม่ี ลี ักษณะของผสู้ ังเกตทช่ี ว่ ยให้ การสังเกตมปี ระสทิ ธิภาพ 3.4.13.2 ความเช่ือมั่นของการสงั เกต เป็นความสอดคล้องของการสังเกต มวี ธิ ีการดาเนนิ การดงั นี้(วเิ ชยี ร เกตสุ ิงห,์ 2530 :124-126) 1) ใช้ผสู้ งั เกตคนเดยี วแต่ใช้เวลาทต่ี า่ งกัน แล้วนาผลที่ได้มาหา สัมประสทิ ธ์ิสหสัมพันธ์ระหวา่ งขอ้ มูล 2 คร้งั หรือหาร้อยละของความคงท่ขี องข้อมลู ทั้ง 2 ครง้ั กไ็ ด้ ถ้ามีสัมประสิทธสิ์ หสมั พันธห์ รือค่าร้อยละสงู กแ็ สดงว่าการสังเกตน้ันมีความเชอ่ื มั่นสูง 2) ใช้ผ้สู ังเกตหลายคนในเวลาเดยี วกนั แล้วนาผลของผู้สังเกต มาหาความสมั พันธ์กันโดยใช้สตู รการดชั นคี วามสอดคลอ้ งความเชือ่ มนั่ ของสก็อต(Scott ) 4. องคป์ ระกอบที่มีผลต่อการเลือกเครื่องมือในการวิจยั ในการเลือกเคร่ืองมือในการวิจัย มอี งค์ประกอบท่ีผู้วิจยั จะต้องพิจารณาเพอื่ เลือกใช้ใน การเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่ต้องการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มดี ังน้ี(ปาริชาต สถาปิตานนท.์ 2546:163-165) 4.1 คาถามการวจิ ยั การกาหนดคาถามการวิจยั ทช่ี ัดเจนจะทาให้ทราบประเด็นหลกั ใน การวจิ ัย และประชากรในการวิจยั ท่ีจะเปน็ เกณฑเ์ บื้องตน้ ในการกาหนดวธิ ีการ/เครอ่ื งมือสาหรบั เก็บรวบรวมข้อมูล เพ่อื ตอบคาถามการวิจัย 4.2 กรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฏี การกาหนดกรอบแนวคดิ เชิงทฤษฎีท่ีครอบคลุม จะช่วยให้ เห็นแนวทางของการศกึ ษาประเดน็ การวิจัยในอดีตว่าใช้ระเบียบวิธีวิจยั อยา่ งไร และมีแนวทาง ในการวดั ประเดน็ หรือตัวแปรท่ีสนใจอย่างไร 4.3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั การศกึ ษาระเบยี บวธิ ีวิจยั แตล่ ะประเภทให้เกิดความชดั เจน จะทาให้ ทราบปรชั ญา แนวคาถาม และแนวทางในการศึกษาขอ้ มูล ตลอดจนลกั ษณะของเคร่ืองมือที่ สอดคลอ้ งกบั ปรชั ญา ทจ่ี ะสามารถนามาเป็นแนวทางในการดาเนินการวจิ ยั 4.4 หน่วยการวเิ คราะห์ ในการวจิ ยั ใด ๆ การกาหนดหน่วยการวเิ คราะห์ที่แตกต่างกัน ทอี่ าจจะเปน็ หน่วยแตล่ ะหน่วย หรือเป็นกลมุ่ ท่ีจะทาให้มผี ลต่อการเลือกใช้เครื่องมือในการวิจยั ทต่ี อ้ งสอดคล้องกบั หน่วยการวเิ คราะห์ 4.5 ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง/ประชากร ในการกาหนดขนาดของกลุม่ ตวั อย่างและประชากร ท่แี ตกตา่ งกัน จะต้องมีความสอดคล้องกับการเลือกใชเ้ ครื่องมอื ในการวิจยั ระยะเวลา และ งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4.6 คณุ สมบัติของกลมุ่ ตัวอย่าง/ประชากร ท่ีเป็นคุณลักษณะเฉพาะหรือขอ้ จากัดใน การเก็บรวบรวมข้อมลู อาทิ ในการศึกษาพฤติกรรมของเด็ก ๆ อาจจะต้องเลอื กใชก้ ารสงั เกต หรอื การสัมภาษณ์แทนการใชแ้ บบสอบถาม เปน็ ต้น
หนา้ ที่ 260 บทท่ี 8 เครือ่ งมือ วิธกี ารที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. ข้อจากัดของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล การใช้เคร่อื งมือเกบ็ ในการรวบรวมขอ้ มลู มีขอ้ จากัดท่ีผวู้ ิจัยควรระมัดระวงั ดงั นี้ (บญุ ธรรม กิจปรดี าบรสิ ทุ ธิ,์ 2534 : 19-20) 5.1 เครอ่ื งมือเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการวดั ทางอ้อมทใ่ี ช้ข้อคาถามเป็นสง่ิ เร้าใหผ้ ใู้ หข้ ้อมูล แสดงพฤติกรรม(คาตอบ)แลว้ วดั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ ท่ีอาจเป็นพฤติกรรมท่เี ป็นจรงิ หรือเปน็ เทจ็ ก็ได้ 5.2 เครอ่ื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู เปน็ เคร่ืองมือที่ใชว้ ดั พฤตกิ รรมเพยี งบางสว่ นทเ่ี ปน็ ตัวแทนเท่าน้ัน แตจ่ ะไมส่ ามารถวดั พฤติกรรมทตี่ ้องการท้ังหมดได้ 5.3 เคร่อื งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล ทใี่ ชแ้ ตล่ ะคร้ัง จะมีความคลาดเคลื่อนท่ีเกิดขึน้ เสมอ ๆ ทง้ั จากการสรา้ งของผูเ้ ก็บข้อมลู และจากการตอบคาถามของผใู้ หข้ ้อมลู 5.4 เครอ่ื งมอื เก็บรวบรวมข้อมลู เปน็ เครือ่ งมือที่ยงั วัดได้ไม่ละเอยี ด ความแตกต่างของ ผลการวัดท่ีได้จากเคร่ืองมือที่มเี ล็กน้อยเม่อื ทดสอบความแตกต่างแลว้ อาจจะไม่พบความแตกต่างกัน กไ็ ด้ 5.5 หนว่ ยการวดั ของเครื่องมอื เก็บรวบรวมข้อมูลไมเ่ ทา่ กนั เมอ่ื นามาเปรยี บเทียบกนั จะตอ้ งมีความระมดั ระวังในการใหค้ วามหมาย
Search