Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบโครงสร้าง-สังคม-ป4

แบบโครงสร้าง-สังคม-ป4

Published by tanapat1589, 2020-01-25 23:31:43

Description: แบบโครงสร้าง-สังคม-ป4

Search

Read the Text Version

ขอ้ มูลพน้ื ฐาน รหสั โรงเรยี น 10 หลกั : 1051510184 รหสั Smis 8 หลัก : 51020023 รหัส Obec 6 หลกั : 510184 ชื่อสถานศกึ ษา(ไทย) : บา้ นศรีเตี้ย ชอ่ื สถานศกึ ษา(องั กฤษ) : Bansritia ทอ่ี ยู่ : หม่ทู ี่ 7 บ้านบา้ นศรีเตีย้ ตาบล : ศรีเตี้ย อาเภอ : บา้ นโฮง่ จังหวัด : ลาพนู รหสั ไปรษณยี ์ : 51130 โทรศพั ท์ : 053578033 โทรสาร : - ระดบั ที่เปิดสอน : อนบุ าล-ประถมศกึ ษา วนั -เดือน-ปี ก่อตงั้ : 10 มกราคม 2477 อเี มล์ : [email protected] เวบ็ ไซต์ : http://- เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น (Host สพฐ.) ประวัตโิ รงเรียนบ้านศรีเตยี้ โรงเรียนบ้านศรีเตี้ย ตั้งขึ้นเม่ือ วันท่ี ๑๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๗๗ โดยครูบาสุรินทร์ สุรินโท (พระครูวิมลศิลาภรณ์) เจ้าอาวาสวัดศรีเต้ีย ต่อมามีนายตุ่น ชัยกาวิลและนายมูล บุญโรจน์ ผู้ใหญ่บ้านท้ัง 2 หมู่บ้าน คือหมู่บ้านศรีเตี้ยและหมู่บ้านศิลาภรณ์ เป็นผู้นาชุมชนได้ร้องขอต่อทางราชการให้จัดตั้งขึ้น โดยมี สามเณรประสิทธ์ สอนบัณฑิตนกั ธรรมโทเป็นพระครสู อนคนแรก โดยอาศยั ศาลาวดั ศรีเตย้ี เปน็ สถานที่เลา่ เรยี น ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ คณะผู้ก่อต้ังได้ร่วมกับราษฎรในหมู่บ้าน สร้างอาคารเรียนช่ัวคราวขึ้น ๑ หลัง บริเวณ หน้าวัดศรีเตี้ย เป็นอาคารไม้ ฝาผนังไม้ไผ่ พืน้ ติดดนิ หลงั คามุงด้วยกระเบื้องดินเผา ปี พ.ศ. ๒๔๘๗ ได้รับงบประมาณจากทางราชการ จานวน ๔๐๐ บาทให้ก่อสร้างอาคารเรียน ก่ึงถาวร จานวน ๑ หลังโดยมีครูบาสุรนิ ทร์ สุรินโท (พระครูวมิ ลศิลาภรณ์) เปน็ ประธานในการก่อสรา้ ง ในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ อาคารเรียนได้ชารุด พระครูสุรินทร์ สุรินโท ได้เชิญชวนราษฎรในหมู่บ้านสละทุน ทรัพย์และแรงงานสมทบงบประมาณจากทางราชการท่ีจัดสรรให้ จานวน ๓๗,๖๔๐ บาท ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ป.๑ ก จานวน ๑ หลัง ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้รับงบประมาณจากทางราชการ จานวน ๓๐.๐๐๐ บาท ให้ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ป.๑ ก ขนาด ๓ ห้องเรียน จานวน ๑ หลัง โดยราษฎรสมบทงบประมาณเพิ่มเติม ๕๐,๐๐๐ บาท รวม งบประมาณ ก่อสร้าง ๘๐,๐๐๐ บาท และทางราชการได้แต่งต้ังให้นายสุวรรณ อินทร์แสง มาดารงตาแหน่ง ครใู หญ่ เปน็ คนแรกของโรงเรียนบ้านศรีเต้ีย โรงเรียนบ้านศรีเตี้ย ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๑ ถึง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ปัจจุบนั มนี ายไพจิตร พายุมงั่ ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี น

วิสัยทัศน์ มุ่งสร้างคนให้มีความรู้ เป็นคนดี มีมาตรฐาน สืบสานวัฒนธรรม น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง สกู่ ารพฒั นาชวี ติ ท่ยี ง่ั ยืน พันธกจิ การจดั การศึกษาระดบั ก่อนประถมศึกษา โรงเรียนบ้านศรีเต้ียได้เปิดทาการสอนชั้นอนุบาล ๒ อนุบาล ๓ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน รา่ งกาย อารมณ์ สงั คม สตปิ ญั ญา เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มให้กับเด็กที่จะเรียนในช้ันประถมศึกษาต่อไป การจัดการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา โรงเรียนได้เปิดทาการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ดาเนินการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและหลักสูตรท้องถิ่น ทั้งน้ีได้ตระหนักและจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนให้ครอบคลุมโดยมุ่งให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการท้ังทางร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา มีคุณภาพ ชวี ิตท่ดี ที นั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของสงั คม และอยู่รว่ มกันในสงั คมไดอ้ ย่างดี เปา้ หมาย ในการบริหารและการจัดการของโรงเรียนบ้านศรีเตี้ย มุ่งเน้นตามวัตถุประสงค์การศึกษา การศึกษาของโรงเรียนเพื่อให้โรงเรียนเป็นสถานศึกษาที่สมดุล ในด้านอาคารสถานที่ สภาพภูมิทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน ควบคู่ไปกับการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยวางแผนการ บริหาร และการจัดการที่กระจายอานาจ จัดการเรียนการสอนโดยยึดหลักสูตรสถานศึกษาควบคู่กับหลักสูตร กลาง พัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน และเน้นท่ีผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงจะมีการกากับ การตรวจสอบและการติดตามผล เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา จากแนวคิดดังกล่าว นามาสู่การกาหนดเป้าหมายของโรงเรียน ( School Goals ) ในการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารงานด้านต่าง ๆ ภายในโรงเรียนให้ สอดคล้องกบั พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และหลกั สตู รแกนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้แก่ ๑. ส่งเสรมิ และพัฒนาครู – อาจารย์ ด้านการประกนั คุณภาพการศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐาน และการ เรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๒. สง่ เสรมิ และพัฒนา ครู – อาจารย์ นกั เรียน ใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม ตามวยั ฐานะ ๓. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มพี ฤติกรรม การเรยี นให้ดียงิ่ ขน้ึ ตามความสามารถและ เหมาะสมกบั วยั ๔. ป้องกนั บาบัด ดูแล นักเรยี นใหอ้ อกกาลงั กายและห่างไกลยาเสพตดิ ทกุ ชนิด ทง้ั ภายใน – ภายนอกโรงเรยี น ใหด้ ีทสี่ ุด ๕. พัฒนาอาคารสถานที่ สงิ่ แวดลอ้ ม และสรา้ งบรรยากาศภายในโรงเรียน ให้ดูเป็นสัดสว่ น สวยงาม รม่ รน่ื สะอาดเรียบร้อย ๖. ส่งเสริมและพัฒนาโรงเรยี น ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นของชมุ ชน และบริการชุมชน มีจิตอาสาพร้อม ส่งเสรมิ จติ สานึกในความพอเพยี งตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จากเป้าหมายของโรงเรียนฯ ดังกล่าว คาดว่าจะก่อให้เกิดการจัดการเรยี นการสอนที่พัฒนานักเรียนให้ มคี วามสมบูรณ์ ทง้ั ทางร่างกาย จิตใจ ความรสู้ ติปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถดารงชวี ิตและอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสงั คมได้อยา่ งเปน็ สขุ

คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ส14101 ชือ่ รายวชิ า สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 40 ช่ัวโมง /ภาคเรียน ศึกษาความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ สรุปพุทธประวัติ ต้ังแต่บรรลุธรรม จนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือหรือปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา และหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ช่ืนชมการทาความดีของ ตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ตามหลักศาสนา พร้อมท้ังบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติ มีสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือหรือปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย เป็นผู้นา ผตู้ ามท่ดี ี วเิ คราะหส์ ทิ ธพิ ้นื ฐานที่เดก็ ทกุ คนพึงได้รบั ตามกฎหมาย ศึกษา วิเคราะห์ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถ่ิน เสนอวิธีการท่ีจะอยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข อานาจอธิปไตย ความสาคัญของระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าท่ีของพลเมืองในกระบวนการ เลือกตั้ง ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซ้ือสินค้าและบริการ สิทธิพ้ืนฐานและรักษาผลประโยชน์ในฐานะผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน หน้าทเี่ บื้องตน้ ของเงนิ ใช้แผนท่แี ละภาพถ่ายระบลุ กั ษณะสาคัญทางกายภาพ แหล่งทรพั ยากรและส่ิงตา่ งๆ ใน จังหวัดของตนเอง ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ ที่อยู่ในจังหวัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดาเนิน ชีวิต การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและผลที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงน้ัน และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้อมในจังหวัด โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุม่ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ สามารถดาเนนิ ชีวติ อยา่ งสนั ติสุขในสงั คมไทยและสังคมโลก ตวั ชีว้ ัด ส 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ,ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ส 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5 ส 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 3.2 ป.4/1, ป.4/2 ส 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ส 5.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 รวม 30 ตวั ชวี้ ัด

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยู่ร่วมกันอย่าง สันตสิ ขุ 1. อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศา สนิกชน 2. สรปุ พุทธประวัตติ งั้ แต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรมหรอื ประวัตศิ าสดาท่ีตนนับถอื ตามท่ีกาหนด 3. เห็นคุณค่า และปฏิบัตติ นตามแบบอย่างการดาเนินชีวติ และข้อคิดจากประวัตสิ าวก ชาดก/เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตวั อย่างตามท่ีกาหนด 4. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับถือตามทก่ี าหนด 5. ช่ืนชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชนตามหลักศาสนา พรอ้ มทั้ง บอกแนวปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชวี ติ 6. เหน็ คณุ ค่าและสวดมนต์ แผเ่ มตตามสี ติท่ีเป็นพ้นื ฐานของสมาธใิ นพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามท่ี กาหนด 7. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพอ่ื การอยู่ร่วมกนั เป็นชาติได้อยา่ งสมานฉันท์ 8. อธบิ ายประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสงั เขป มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษา พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ 1. อภิปรายความสาคัญและมสี ว่ นรว่ มในกาบารงุ รกั ษาศาสนสถานของศาสนาทต่ี นนบั ถือ 2. มมี รรยาทของความเป็นศาสนิกชนท่ีดี ตามทกี่ าหนด 3. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธี พธิ ีกรรมและวันสาคัญทางศาสนา ตามทก่ี าหนดได้ถูกตอ้ ง สาระที่ 2 หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธารงรกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกนั ในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสขุ 1. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตยในฐานะสมาชิกที่ดขี องชมุ ชน 2. ปฏบิ ตั ิตนในการเป็นผนู้ าและผตู้ าม ทด่ี ี 3. วเิ คราะหส์ ิทธิพน้ื ฐานทีเ่ ด็กทกุ คนพงึ ไดร้ บั ตามกฎหมาย 4. อธิบายความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของกลมุ่ คนในทอ้ งถิ่น 5. เสนอวิธกี ารท่จี ะอยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ติสุขในชีวติ ประจาวัน มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง รักษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1. อธิบายอานาจอธิปไตยและความ สาคัญของระบอบประชาธปิ ไตย 2. อธิบายบทบาท หนา้ ทขี่ องพลเมืองในกระบวนการเลือกต้ัง

3. อธิบายความสาคัญของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์เป็น ประมขุ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือ การดารงชวี ติ อยา่ งมดี ุลยภาพ 1. ระบุปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเลือกซ้อื สนิ ค้าและบรกิ าร 2. บอกสทิ ธพิ น้ื ฐานและรกั ษาผลประโยชนข์ องตนเองในฐานะผบู้ ริโภค 3. อธบิ ายหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันของตนเอง มาตรฐาน ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก 1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ของคนในชุมชน 2. อธิบายหน้าทเ่ี บ้ืองตน้ ของเงนิ สาระที่ 5 ภมู ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่ และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการ ทาง ภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๑. สืบค้นและอธิบายขอ้ มูลลกั ษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนด้วยแผนที่และรปู ถ่าย ๒. ระบุแหลง่ ทรัพยากรและสถานที่สาคัญในจงั หวัดของตนด้วยแผนท่ีและรูปถา่ ย ๓. อธิบายลักษณะทางกายภาพท่สี ง่ ผลต่อแหล่งทรพั ยากรและสถานที่สาคญั ในจังหวดั มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาทีย่ ัง่ ยืน ๑. วิเคราะห์สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพทสี่ ง่ ผลต่อการดาเนินชีวิตของคนในจังหวัด ๒. อธิบายการเปลย่ี นแปลงสงิ่ แวดล้อมในจงั หวดั และผลทเี่ กิดจากการเปล่ยี นแปลง ๓. นาเสนอแนวทางการจดั การสิง่ แวดล้อมในจงั หวัด

โครงการสอนรายวิชาสงั คมศกึ ษา รหสั วชิ า ส14101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ระดบั ช้ัน ป.๔ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ จานวน ๑.๐ หน่วยกติ ๔๐ ช่วั โมง/ภาคเรยี น มาตรฐาน สอ่ื วิธีการวดั เวลา นา้ หนกั ประกอบการ ประเมนิ ผล (ชวั่ โมง) คะแนน ท่ี ช่อื หน่วยการ การ สาระสาคญั กิจกรรมการ เรยี นรู้ -ใบงาน 8 10 เรยี น เรยี นรู้/ เรียนรู้ -แบบสังเกต -สไลด์ พฤติกรรม 5 15 ตวั ช้ีวัด PowerPoint รายบุคคล -หนงั สือเรียน -แบบสงั เกต 6 10 8 การบริโภค ส 3.1 ปจั จยั สาคญั ท่มี ผี ลต่อ - วิธีสอนโดย สังคมศึกษา ความมุ่งมนั่ -สอื่ วิดีทัศน์ ตัง้ ใจเรยี น สนิ ค้าและ ป.4/1 การเลือกซ้ือสินค้า เน้น -สไลด์ -ใบงาน บริการ ป.4/2 และบรกิ ารนน้ั มี กระบวนการ : PowerPoint -แบบสงั เกต -หนังสือเรียน พฤติกรรม หลายประการ ซง่ึ กระบวนการ สังคมศึกษา รายบุคคล -สื่อวิดีทัศน์ -แบบสงั เกต ข้นึ อยู่กับผู้ซ้ือ ผูข้ าย สรา้ งเจตคติ ความม่งุ ม่นั -สไลด์ ตัง้ ใจเรยี น ตวั สนิ ค้า ซ่ึงผู้บรโิ ภค ทางานร่วมกนั PowerPoint -แบบสังเกต -หนงั สอื เรยี น พฤติกรรม มสี ทิ ธิพืน้ ฐาน และ เป็นกลุ่ม สังคมศึกษา รายบุคคล -สื่อวดิ ที ัศน์ -แบบสงั เกต รกั ษาผลประโยชน์ ความมุง่ มน่ั ตั้งใจเรยี น ของตนเองในฐานะ ผู้บริโภค 9 เศรษฐกจิ ส 3.1 หลกั การของ - วธิ ีสอนโดย พอเพยี ง ป.4/3 เศรษฐกิจพอเพยี ง เนน้ เปน็ แนวทางในการ กระบวนการ : นาไปใช้ในการดาเนนิ กระบวนการ ชีวติ ประจาวนั อย่างมี สรา้ งเจตคติ ดุลยภาพ ทางานร่วมกนั 10 เศรษฐกจิ ส 3.2 ในแตล่ ะชุมชนยอ่ มมี - วิธสี อนโดย ชมุ ชนใน ป.4/1 อาชพี สนิ คา้ และ เนน้ ประเทศไทย บรกิ ารตา่ งๆ ท่ผี ลิต กระบวนการ : ในชุมชน จึงต้องมี กระบวนการ การพ่ึงพาอาศยั กัน สรา้ งเจตคติ ภายในชมุ ชน ทางานร่วมกัน มีการสร้างความ เขม้ แข็งใหช้ มุ ชนดว้ ย การใช้ส่งิ ของทีผ่ ลติ ในชมุ ชน

มาตรฐาน สอ่ื วธิ กี ารวดั เวลา น้าหนัก ประกอบการ ประเมนิ ผล (ช่วั โมง) คะแนน ท่ี ชอ่ื หน่วยการ การ สาระสาคัญ กจิ กรรมการ เรยี นรู้ -แบบสงั เกต 5 10 เรยี น เรียนรู้/ เรียนรู้ ความมุ่งมนั่ 6 10 -สไลด์ ต้ังใจเรียน ตัวชี้วัด PowerPoint 10 15 -หนงั สือเรียน -แบบสังเกต 11 เงินทอง ส 3.2 เงินมีหน้าท่ีเปน็ - วิธสี อนโดย สังคมศึกษา ความมุ่งมั่น ๔๐ ๗๐ -สื่อวดิ ีทัศน์ ตั้งใจเรยี นใน ของมคี า่ ป.4/2 สอ่ื กลางในการ การจดั การ การทางาน -สไลด์ แลกเปลี่ยนสนิ ค้า เรียนรแู้ บบ PowerPoint -แบบสงั เกต -หนังสือเรยี น ความมงุ่ มั่น และบริการตา่ งๆ ใน รว่ มมอื : สังคมศึกษา ตั้งใจเรยี นใน -สอ่ื วดิ ีทัศน์ การทางาน แต่ละประเทศจะมี เทคนิคเลา่ -สไลด์ สกุลเงินท่ีใชใ้ นการ เรอ่ื งรอบวง PowerPoint -หนงั สอื เรียน แลกเปลี่ยนระหวา่ ง สังคมศึกษา -ส่อื วดิ ที ัศน์ ประเทศ 12 แผนที่ ส 5.1 แผนท่ีและภาพถา่ ย - วธิ สี อนโดย ภาพถ่าย ป.4/1 เปน็ เครื่องมอื ทาง เนน้ ป.4/2 ภูมศิ าสตร์ที่ใช้ กระบวนการ : ป.4/3 สาหรบั อธบิ าย กระบวนการ ลักษณะทางกายภาพ ปฏิบตั ิ ตาแหนง่ ท่ีต้ัง และ ทิศทางของทรัพยากร และส่ิงต่างๆ ใน จังหวัด ทาใหเ้ รยี นรู้ เนอ้ื หาทางภูมิศาสตร์ ไดเ้ ข้าใจมากยิ่งขึ้น 13 สภาพ ส 5.2 สภาพแวดล้อมทาง - วิธสี อนโดย แวดลอ้ ม ป.4/1 กายภาพทชี่ มุ ชน การจัดการ รอบตวั เรา ป.4/2 อาศัยอยมู่ ผี ลต่อการ เรยี นรแู้ บบ ป.4/3 ดาเนนิ ชวี ิตของคนใน รว่ มมือ : ชมุ ชน ซงึ่ การ เทคนคิ เลา่ เปลี่ยนแปลง เร่อื งรอบวง สภาพแวดล้อมทาให้ เกิดการเปลยี่ นแปลง สภาพชุมชนดว้ ย ดังน้ันทกุ คนจึงตอ้ งมี ส่วนรว่ มในการ อนรุ กั ษ์ทรัพยากร และสง่ิ แวดลอ้ ม รวม

โครงสรา้ งแผนฯ สังคมศกึ ษา ป.4 เวลา ๔0 ชั่วโมง เวลา หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั วธิ สี อน/กระบวนการจดั (ช่ัวโมง) หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 8 การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ การบริโภคสินค้าและ บรกิ าร 1. สนิ ค้าและการบรกิ าร วิธีสอนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบ 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 ร่วมมอื : เทคนคิ คู่คดิ ส่สี หาย เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ปัจจัยทม่ี อี ทิ ธิพลต่อการเลือก วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 10 เศรษฐกิจชมุ ชนใน ซื้อสินคา้ และบรกิ าร รว่ มมือ : เทคนคิ เล่าเรื่องรอบวง ประเทศไทย 3. การคุ้มครองผู้บรโิ ภค วธิ ีสอนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบ 1 ร่วมมือ : เทคนิคคตู่ รวจสอบ 4. สทิ ธพิ น้ื ฐานของผู้บรโิ ภค วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 1 กระบวนการสร้างความตระหนกั 5. เคร่อื งหมายรบั รองคุณภาพ วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1-2 สินคา้ และบรกิ าร (Inquiry Method : 5E) 6. หลักเกณฑใ์ นการตัดสนิ ใจ วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1-2 เลอื กซื้อสนิ คา้ และบริการ (Inquiry Method : 5E) รวม 8 1. ความหมายของเศรษฐกจิ วิธสี อนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบ 1 พอเพยี ง ร่วมมอื : เทคนิคกลมุ่ สืบคน้ 2. หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 1-2 พอเพยี ง (Inquiry Method : 5E) 3. การประยุกตใ์ ช้เศรษฐกจิ วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา 1-2 พอเพยี งในชวี ติ ประจาวนั (CIPPA Model) รวม 5 1. เศรษฐกจิ ชมุ ชน วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้แบบ 1 ร่วมมอื : เทคนคิ คคู่ ิด 2. ลกั ษณะอาชีพ สินคา้ และ วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ 1-2 บริการในชมุ ชน (Inquiry Method : 5E) 3. การพึ่งพาอาศัยกันทาง วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 1-2 เศรษฐกิจในชมุ ชน (Inquiry Method : 5E) 4. ชุมชนเข้มแขง็ วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : 1 กระบวนการสร้างเจตคติ รวม 6

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัด วธิ ีสอน/กระบวนการจดั เวลา การเรียนรู้ การเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 11 1. ความหมายของเงนิ วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 1 1-2 เงนิ ทองของมีคา่ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด 1-2 5 2. หน้าท่ีของเงนิ ในระบบ วธิ ีสอนแบบโมเดลซิปปา 1 1 เศรษฐกิจ (CIPPA Model) 1 1-2 3. ประเภทของเงิน วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 1 6 (Inquiry Method : 5E) 1 1-2 รวม 1 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 12 1. ความสาคัญของแผนท่ี วธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : 1 แผนท่ี ภาพถ่าย กระบวนการสร้างความตระหนัก 1 1-2 2. ชนดิ ของแผนท่ี วิธสี อนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบ รว่ มมอื : เทคนิคคูต่ รวจสอบ 3. การใชแ้ ผนท่ี วิธีสอนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบ ร่วมมือ : เทคนิคกล่มุ สบื คน้ 4. ขอ้ มูลจากแผนที่จังหวดั วิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : ของเรา กระบวนการเรยี นความรู้ความเขา้ ใจ 5. ภาพถา่ ย วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) รวม หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1. สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : 13 สภาพแวดลอ้ ม ของชมุ ชน กระบวนการสร้างเจตคติ รอบตัวเรา 2. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ กับการประกอบอาชพี (Inquiry Method : 5E) 3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ วิธสี อนแบบโมเดลซิปปา กบั ลกั ษณะทีอ่ ยู่อาศยั (CIPPA Model) 4. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ วธิ ีสอนโดยการจดั การเรียนรู้แบบ กบั การบรโิ ภค รว่ มมอื : เทคนิคการต่อเรอ่ื งราว (Jigsaw) 5. ลักษณะของการเปล่ยี นแปลง วิธสี อนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ สภาพแวดล้อมในจังหวัด รว่ มมอื : เทคนคิ คคู่ ิดสสี่ หาย 6. ผลจากการเปล่ียนแปลง วิธสี อนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบ สภาพแวดลอ้ มในจงั หวดั ร่วมมือ : เทคนิคการเรียนรว่ มกนั 7. การอนรุ ักษ์ทรัพยากรและ วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ สิง่ แวดล้อม (Inquiry Method : 5E)

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัด วธิ สี อน/กระบวนการจดั เวลา การเรียนรู้ การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) 8. การมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ วธิ สี อนโดยใช้ทักษะกระบวนการ 1 ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อม เผชิญสถานการณ์ ๑๐ ๔๐ รวม รวม

การบันทกึ ความเห็นของผเู้ กี่ยวข้อง ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................... ครพู เ่ี ลี้ยง ............/.............../............ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ...................................................... หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ ฝ่ายวิชาการ ............/.............../............ ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ลงช่ือ...................................................... ผู้บริหารโรงเรยี น ............/.............../............ ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ...................................................... อาจารย์นิเทศก์ ............/.............../..........


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook