Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน62

คู่มือนักเรียน62

Published by ครูบอล, 2019-06-11 12:50:04

Description: คู่มือนักเรียน62

Search

Read the Text Version

101 ค่มู อื นกั เรียนโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ เคร่อื งแบบสมาชกิ ยวุ กาชาด 1. หมวก - หมวกท�ำ ด้วยสกี รมทา่ มีรปู ทรงคงท ี่ แบบมแี ก๊ปด้านหนา้ ตลบปกี ดา้ นหลังและดา้ นข้าง ท้ังสองดา้ นข้ึน หนา้ หมวกติดเข็มเครื่องหมายทำ�ดว้ ยโลหะสเี งิน หรือสที องเปน็ ลายดุน ด้านล่างมชี อ่ ชัยพฤกษ์ ตรงส่วนมอี ณุ าโลม อุณาโลมมีรศั มจี ากฐานเคร่ืองหมายถงึ ยอด สงู 3 เซนติเมตร 2. เสอ้ื - เสอื้ สีฟ้าอมเทาแบบเช๊ติ แขนส้นั ปลายแขนพับตลบออกด้านนอก ขนาดกวา้ งประมาณ 3 เซนติเมตร ตวั เส้ือผา้ อกตลอดมีสาบกวา้ ง 3 เซนตเิ มตรและขัดดุมตลอด 5 ดุม ทอี่ กเสอ้ื มีกระเป๋า 2 ข้าง ตรงกึ่งกลางกระเป๋าพับจีบเป็นแถบกว้างเท่ากับสาบเสื้อ มีใบรูปมน ชายกลางแหลมและขดั ดมุ ทไ่ี หล่เสอ้ื มสี าบอินทรธนขู ัดดุมข้างละ 1 ดุม ดมุ ท้งั สิน้ ดังกลา่ ว นมี้ ลี กั ษณะเปน็ รูปกลมแบนขนาเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 1 เซนติเมตร ท�ำ ดว้ ยวตั ถสุ ีเดยี วกบั เสื้อที่อกซ้ายด้านขวาติดเข็มเครื่องหมายสมาชิกยุวกาชาด ที่ต้นแขนขวาตํ่าลงมา 1 เซนติเมตร ตดิ แถบช่ือโรงเรยี นขนาด 2 X 7 เซนติเมตร ตามแนวตะเขบ็ เสอ้ื ท�ำ ด้วย ผา้ พ้ืนสีแดง กรอบและอกั ษรชอ่ื โรงเรียนเป็นสขี าว (ไมต่ อ้ งมคี �ำ วา่ โรงเรยี น) และตดิ เครอ่ื งหมายบอกครูทปี่ รึกษาชั้นกลมุ่ และหน่วยใต้แถบช่อื โรงเรียนหา่ งจากจุดกึ่งกลาง ป้ายชือ่ โรงเรียนลงมา 1 เซนติเมตร ทแ่ี ขนซ้ายตดิ เครอื่ งหมายกิจกรรมตา่ งๆ ทีอ่ ินทรธนู ติดตัวเลขบอกระดับเป็นโลหะสีทอง 3. ผา้ ผกู คอ - ผ้าผูกคอใชผ้ ้าสกี รมท่า มลี ักษณะเปน็ สามเหลี่ยมมมุ ฉากยาวดา้ นละ 75 ถงึ 90 เซนตเิ มตร เยบ็ ริมทั้งสามด้านติดเครือ่ งหมายยุวกาชาดท�ำ ด้วยผา้ ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลาง 5 เซนติเมตร ให้หา่ งจากมมุ ฉาก 5 เซนตเิ มตร เวลาใชใ้ ห้พับด้านมุมฉากกว้างประมาณ 4 เซนตเิ มตร ทบจีบหลายๆ ครั้งแลว้ พับตลบอีกคร้งั หนงึ่ ใหเ้ หลอื ประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร วาง ทาบปกเสือ้ เอารอยพบั ไว้ด้านใน ผกู เป็นเงือ่ นพริ อด ใหเ้ งือ่ นตรงกับดุมเมด็ ทส่ี อง 4. กระโปรง - กระโปรงสฟี ้าอมเทา ใหใ้ ช้ผ้าและสีชนดิ เดยี วกบั เสอื้ ยาวคลุมเข่ามีจีบรอบตวั 12 จีบ ระยะหา่ งระหว่างจีบเทา่ กัน ตะเข็บหลบในยาวประมาณ 4 นว้ิ ใชส้ วมทับเสอื้

คู่มอื นกั เรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 102 5. เขม็ ขดั - เข็มขดั หวั เขม็ ขัดท�ำ ด้วยโลหะสีเงนิ รปู สเ่ี หลี่ยมผนื ผ้ากว้า 3.5 เซนติเมตร ยาว 4.5 เซนติเมตร ตรงกลางมีลายดุนเป็นเคร่อื งหมายอย่างเดยี วกับเขม็ เครื่องหมายห้าหมวก สายเขม็ ขดั ท�ำ ด้วย หนังสีดำ�ขนาดพอดีกับหัวเข็มขดั โดยคาดทบั ขอบกระโปรง 6. ถงุ เทา้ - ใช้ถุงเท้าสีขาวเรียบ ไมม่ ลี วดลาย ขอบกว้าง 3 – 4 นิว้ เหนอื ข้อเท้า ห้ามใช้ถุงเทา้ ลกู ฟกู หรือมีลวดลาย หรอื ขอ้ สน้ั 7. รองเทา้ - รองเท้าหนงั สีด�ำ แบบนกั เรียน เคร่อื งแบบลูกเสือสามัญรุ่นใหญเ่ หลา่ อากาศ ประกอบดว้ ย 1. หมวก - หมวกทรงอ่อนสีเทา มีตราหน้าหมวกรูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติของเหล่าอากาศ ทำ�ด้วยโลหะสีทอง เวลาสวมใหต้ ราหน้าหมวกอย่เู หนือคิ้วซ้าย 2. เสอ้ื - เส้ือคอพับสเี ทาแขนส้นั เหนือศอก ผา่ อกตลอด อกเสอ้ื ทำ�เปน็ สาบกวา้ ง 3.5 เซนตเิ มตร มีดุมเหนือเขม็ ขดั 4 ดุม อกมกี ระเป๋าปะข้างละ 1 กระเป๋า มแี ถบตรงกึ่งกลางตามทางดิ่ง ปกรปู มน ชายกลางแหลม เจาะรังดุมกงึ่ กลางกระเปา๋ 1 ดุม มีอินทรธนสู ีเลือดหมู ปลายอินทรธนมู อี กั ษร “ล.ญ.” สเี หลือง 3. ผา้ ผกู คอ - ผา้ ผูกคอรปู สามเหลยี่ มหนา้ จัว่ ด้านฐาน 100 เซนตเิ มตร ด้านตงั้ 7.5 เซนตเิ มตร สีตาม สีประจ�ำ ภาคการศกึ ษา และมีห่วงซงึ่ ไม่ใช่ห่วงกิลเวลล์สวมผา้ ผกู คอ 4. กางเกง - กางเกงสีเทา ขาสน้ั เหนือเขา่ ประมาณ 5 เซนติเมตร สว่ นกว้างของกางเกง เมือ่ ยืนตรง หา่ งจากขาตั้งแต่ 8 – 12 เซนติเมตร ปลายขาพับเข้ากว้าง 5 เซนตเิ มตร ผา่ ตรงส่วนหนา้ ใชด้ มุ ขนาดย่อมขดั ซอ่ นไว้ข้างใน มีกระเป๋าตามแนวตะเข็บข้าง ข้างละ 1 กระเป๋า และ มหี ูรอ้ ยเขม็ ขัดยางไม่เกิน 6 เซนติเมตร กวา้ ง 1 เซนตเิ มตร 5. เขม็ ขดั - เขม็ ขดั หนงั สีด�ำ กวา้ งไม่เกนิ 3 เซนตเิ มตร หัวชนดิ หวั ขัดท�ำ ดว้ ยโลหะสีทอง มลี ายดมุ รูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติภายในกรอบชอ่ ชัยพฤกษ์

103 คู่มอื นกั เรยี นโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 6. ถุงเท้า - ถงุ เท้ายาวสีเทาพับขอบไว้ใตเ้ ข่า ใตพ้ ับมีรอยรัดถุงเท้าติดพู่สเี ลือดหมูขา้ งละ 2 พู่ 7. รองเท้า - รองเทา้ หนงั หรือผา้ ใบสีด�ำ ไมม่ ลี วดลาย หุ้มส้น ชนิดผูก เครอื่ งแบบเนตรนารสี ามัญร่นุ ใหญเ่ หล่าอากาศ 1. หมวก - หมวกปีกแคบสเี ทา มีตราหน้าหมวกรูปเครอ่ื งหมายเนตรนารที ำ�ด้วยโลหะ ปกี หมวก ดา้ นหลังพับขน้ึ เวลาสวมหมวกให้ตราหน้าหมวกอยู่เหนือคิ้วซ้าย 2. เส้อื - เสื้อสีเทา แขนสนั้ เหนือศอก ผ่าอกตลอด อกเสือ้ ท�ำ เปน็ สาบกวา้ ง 3.5 เซนตเิ มตร มีดมุ เหนือเข็มขดั 4 ดุม อกมกี ระเป๋าข้างละ 1 กระเปา๋ มีแถบตรงก่งึ กลางตามทางดง่ิ ปกรูปมน เจาะรงั ดมุ กง่ึ กลาง 1 ดมุ มอี ินทรธนูสเี ลือดหมูอยู่เหนือบ่าทงั้ สองข้าง ด้านไหล่กวา้ ง 3.5 เซนติเมตร เยบ็ ตดิ ตะเข็บไล่เสื้อดา้ นคอกว้าง 2.5 เซนติเมตร ปลายมนมีดุมที่ ปลายอินทรธน ู ทางด้านคอดา้ นละ 1 ดุม ดุมลกั ษณะกลมแบน ท�ำ ด้วยวตั ถสุ เี ทา ให้ สอดชายเสอื้ อยภู่ ายในกระโปรง หรือเย็บตดิ กระโปรงได้อินธนู มีสีเลอื ดหมู ปลายอินทรธนู มรี ปู เคร่อื งหมายเนตรนารสี เี หลือง 3. ผา้ ผกู คอ - ผา้ ผูกคอรปู สามเหล่ยี มหน้าจวั่ ด้านฐาน 100 เซนติเมตร ด้านต้งั 7.5 เซนติเมตร สตี ามสปี ระจำ�ภาคการศกึ ษา และมหี ว่ งซง่ึ ไม่ใชห่ ่วงกิลเวลลส์ วมผา้ ผูกคอ 4. กระโปรง - กระโปรงเทา ยาวเสมอเขา่ ด้านหน้าและดา้ นหลังพับเป็นกลีบ หนั ออกดา้ นข้าง ขา้ งละ 1 กลบี 5. เขม็ ขัด - เข็มขัดหนงั สีดำ� 6. ถุงเท้า - ถุงเทา้ สเี ทา พับสน้ั เพียงขอ้ เท้า 7. รองเทา้ - รองเทา้ หนังสดี �ำ แบบนักเรียน หรือผ้าใบสดี ำ� ไม่มีลวดลายหมุ้ ส้น ชนดิ ผกู

คมู่ อื นักเรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 104 เคร่อื งแบบนักศึกษาวิชาทหาร 1. หมวก - เปน็ หมวกทรงกลมท�ำ ดว้ ยผ้าสักหลาดหรือเสริ จ์ หรือวตั ถเุ ทยี มเสิร์จกากแี กมเขยี ว ไม่มี ตะเขบ็ ขอบหมวกหุ้มด้วยหนังหรอื วตั ถุเทยี มหนังสดี �ำ กว้าง 1 เซนติเมตร ดา้ นหน้าข้างซ้ายเหนอื ขอบ หมวกมตี รา หนา้ หมวกขนาดใหญ่ 2. เสอื้ สีกากีแกมเขยี ว - เป็นเสือ้ คอเปดิ สีกากีแกมเขียวปกเสอ้ื แบะมุมปกแหลม ตัวเสื้อดา้ นหนา้ ผา่ ตลอด ไม่มีสาบท่ี คอและแนวอก มีดมุ 6 ดมุ แขนยาวรูปทรงกระบอก ที่อกมกี ระเปา๋ ปกั ข้างละ 1 กระเป๋า ไม่มแี ถบ มปี กกระเป๋า ขดั ดุมข้างละ 1 ดมุ กระเปา๋ และปกกระเป๋าเป็นรปู สเ่ี หลยี่ มผืนผา้ ตัดมมุ เปน็ รูปตัด พองาม ดุมท้งั สิ้น ใชด้ ุมกลมแบบขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร ทำ�ดว้ ยวตั ถสุ กี ากีแถมเขยี ว ชายเสอื้ ตดั ตรงไม่มเี วา้ เมอ่ื สวมเส้อื นใ้ี ห้สอดชายเสื้อไวภ้ ายในกางเกง และใช้เสอ้ื ยืดคอกลมแขนสน้ั สีกากีแกมเขยี ว ประกอบด้วย การพับแขนเส้อื กระท�ำ ไดเ้ มอ่ื ไดร้ บั อนุญาตเป็นครัง้ คราว ถา้ จะพับแขน เสื้อใหพ้ บั ไวเ้ หนือขอ้ ศอก โดยพบั กวา้ งประมาณ 7 เซนตเิ มตร 3. กางเกงขายาวสีกากีแกมเขยี วแบบฝึก - กางเกงขายาวสีกากีแกมเขยี วแบบฝึกไมพ่ บั ปลายขา ปลายขายาวปิดตาตมุ่ กว้างไม่น้อยกวา่ 18 เซนตเิ มตร และไม่เกนิ 26 เซนติเมตร ขอบเอวมหี ่วงส�ำ หรบั สอดเขม็ ขดั กวา้ งไม่เกนิ 1 เซนติเมตร 7 หว่ ง ท�ำ ดว้ ยผา้ สีเดยี วกับกางเกง กระเปา๋ ทแ่ี นวตะเขบ็ กางเกงดา้ นข้างเป็นกระเปา๋ ปะข้างละ 1 กระเป๋า ปากกระเปา๋ เฉียงไม่มีปกกน้ กระเปา๋ ตดั ตรง และด้านหลังมีกระเป๋าปะข้างละ 1 กระเป๋า ก้นกระเป๋าเปน็ รปู สามเหลี่ยมมีปกกระเปา๋ เปน็ รูปสี่เหลยี่ มผืนผ้าขัดดุมขา้ งละ 1 ดมุ เม่ือสวมประกอบ กับรองเทา้ ครึ่งนอ่ งสีด�ำ หรือรองเทา้ เดินป่าให้สอดปลายขากางเกงไว้ในรองเท้า 4. เขม็ ขัดสกี ากีแกมเขียว - ทำ�ดว้ ยดา้ ยหรือไนล่อนถกั สีกากีแกมเขยี วกว้าง 3 เซนตเิ มตร หวั เข็มขัดทำ�ดว้ ยโลหะสีทอง เป็นรปู สเ่ี หลยี่ มผืนผ้าทางนอนปลายมน กวา้ ง 3.5 เซนติเมตร ยาว 5 เซนติเมตร พน้ื เกลยี้ งมรี ปู เคร่อื งหมายหนว่ ยบญั ชาการกำ�ลังสำ�รองอยู่เหนือชอ่ ชัยพฤกษด์ ุนนูนอยกู่ ึ่งกลางเหนือหวั เข็มขัด ไมม่ เี ข็ม สำ�หรบั สอดร ู ปลายสายเข็มขัดหมุ้ ด้วยโลหะสที องกว้าง 1 เซนตเิ มตร ใชค้ าดทับขอบกางเกงโดยให้ สายเขม็ ขดั สอดไว้ภายในห่วงกางเกง 5. รองเทา้ สวมครึ่งนอ่ งสดี �ำ - ชนดิ ผกู เชอื กท�ำ ด้วยหนงั หรือวัตถุเทยี มหนัง หุ้มเลยข้อเท้าประมาณครึ่งนอ่ ง มีรสู �ำ หรบั รอ้ ยเชอื กมากกว่า 6 คู่

105 คู่มอื นักเรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 6. ถงุ เทา้ มี 2 ชนิดคอื 6.1 ถงุ เท้าสีดำ�ใช้ประกอบรองเทา้ สงู ครึง่ น่องสดี ำ�หรอื รองเท้าเดนิ ปา่ 6.2 ถงุ เท้าสีกากแี กมเขยี ว ใชป้ ระกอบรองเท้าสูงครึ่งน่องสดี �ำ หรอื รองเท้าเดินปร่ องเทา้ รองเทา้ หนงั สีด�ำ แบบนกั เรียน หรอื ผา้ ใบสดี ำ� ไม่มลี วดลายหุ้มส้น ชนิดผกู 7. เคร่ืองหมายและป้ายชอ่ื 7.1 เครื่องหมายช้นั ปีการศึกษา เป็นตัวเลขไทยสงู 1 เซนตเิ มตร ท�ำ ดว้ ยโลหะสที องให้ด้านบนของตวั เลขอยูท่ างดา้ นคอ ห่างจากตะเขบ็ ไหล่เสอื้ 1 เซนติเมตร ปักด้วยไหมหรอื ดา้ ยสีเหลืองติดท่ีปกเส้อื ด้านซา้ ย ใหฐ้ านของ ตัวเลขขนานกบั ปกเสอ้ื ด้านหนา้ หา่ งจากขอบปก 2.5 เซนตเิ มตร 7.2 เครือ่ งหมายต�ำ แหนง่ ท�ำ ดว้ ยผา้ หรอื ปกั ด้วยไหมหรือด้าย เป็นรปู ย่อ ปลอกอนิ ธนู สตี ามต�ำ แหนง่ ขนาดกวา้ ง 2.5 เซนติเมตรสงู 3 เซนตเิ มตร ตดิ ท่ปี กเส้อื ดา้ นซ้ายใหฐ้ านของเคร่อื งหมายอย่แู นวกลางและขนานกับ ขอบปกเสอ้ื ดา้ นหนา้ ระยะห่างจากขอบปกเส้อื 1.5 เซนตเิ มตร 7.3 เคร่อื งหมายสังกัดจังหวัด เป็นรูปอักษรย่อชื่อของจังหวัดตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องแบบราชการฝ่ายพลเรือนให้ปัก ดว้ ยไหมหรอื ด้ายสีเหลอื งตรงแนวกลางเหนือกระเป๋าดา้ นซ้ายหา่ งจากขอบกระเปา๋ ด้านบน 2 เซนตเิ มตร 7.4 เครอ่ื งหมายสงั กัดหนว่ ยบญั ชาการก�ำ ลังส�ำ รอง เป็นรูปเครื่องหมายหน่วยบัญชาการกำ�ลังสำ�รองปักด้วยไหมหรือด้ายสีเหลืองที่ปกเส้ือ ดา้ นขวา ใหส้ ่วนล่างของเครอ่ื งหมายขนานกับขอบปกเสื้อดา้ นหนา้ 7.5 เครอ่ื งหมายสังกัดสถานศกึ ษาวิชาทหาร เป็นรูปเครื่องหมายหรือสัญญลักษณ์ของสถานศึกษาวิชาทหารซึ่งนักศึกษาวิชาทหารสังกัด อยทู่ ำ�ด้วยผ้าพมิ พ์หรอื ปกั ลักษณะและสตี ามเครอื่ งหมาย หรอื สัญญลกั ษณ์ของสถานศกึ ษาวิชาทหาร ขนาดกว้างไมน่ ้อยกวา่ 7.5 เซนติเมตร และไมเ่ กิน 8.5 เซนตเิ มตร สูงไม่น้อยกวา่ 8.5 เซนติเมตร และ ไมเ่ กนิ 10 เซนติเมตร โดยเยบ็ ติดท่ีต้นแขนเสอ้ื ด้านขวาหา่ งจากตะเขบ็ ไหล่ 2 เซนติเมตร 7.6 เครอ่ื งหมายป้ายผ้าชือ่ ท�ำ ด้วยผ้าสีดำ� รปู สเ่ี หลยี่ มผนื ผ้า กว้าง 3 เซนตเิ มตร ยาวเท่ากับความกว้างของปาก กระเปา๋ เสือ้ ชือ่ ตัวและชอื่ สกลุ ปกั ด้วยไหมหรอื ด้ายเปน็ อกั ษรตัวบรรจงสีเหลือง สูง 0.8 เซนตเิ มตร เยบ็ ติดกบั อกเสอื้ ชดิ กบั ด้านบนของปกกระเป๋าเส้อื ด้านขวาของเสอ้ื คอเปดิ สกี ากแี กมเขยี ว

คู่มือนักเรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 106 ระเบียบว่าด้วยเครือ่ งแต่งกายชุดพละของนกั เรยี นชาย – หญงิ ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ C นกั เรียนทกุ คนต้องแต่งตวั ดว้ ยเครือ่ งแบบชุดพละทโี่ รงเรยี นก�ำ หนดไว้ดงั นี้ 1. เส้ือ - แบบเสอ้ื เช้ติ คอตัง้ โปโล แขนสน้ั เพยี งขอ้ ศอก ชายเส้ือดา้ นข้างท้ัง 2 ขา้ ง ผา่ ลกึ ประมาณ 4 นว้ิ - ผ้าสีเทาปกและคอเส้อื สีแดง - กระดุมสขี าวกลมแบนขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางไม่เกนิ 1 เซนตเิ มตร จ�ำ นวน 3 เมด็ - มกี ระเป๋าตดิ ราวหนา้ อกเบื้องซา้ ย 1 กระเปา๋ ขนาดกว้าง 8 – 12 เซนติเมตร ลกึ ประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร พอเหมาะกับขนาดตวั เส้ือ และท่ีกระเป๋ามีตรา โรงเรยี นสเี หลอื ง ตรงมนกระเป๋าดา้ นบนขวามแี ถบสีเทา - แดง - ปลายแขนเสื้อตลบเข้าด้านใน ประมาณ 2.5 เซนติเมตร - หนา้ อกดา้ นซา้ ยปกั ช่ือ – สกลุ ของนักเรยี น ขนาด 1 เซนติเมตร สีน้าํ เงนิ - ปกั ดาวระดับชน้ั โดยใช้สตี ามคณะส ี ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นปกั บรเิ วณเหนอื ช่ือ ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปกั บรเิ วณปลายปกด้านซา้ ย 2. กางเกง - กางเกงวอลม์ สเี ทาปลายขาจาํ้ - ด้านขา้ งมีแถบพน้ื สีแดง มีตัวหนงั สอื ช่ือโรงเรยี นเป็นภาษาอังกฤษสขี าว ตอ่ จากชื่อ โรงเรียนเปน็ แถบสเี ท่า - แดงจนถงึ ปลายขากางเกง 3. รองเท้า - นกั เรยี นหญิงใช้รองเทา้ ผ้าใบนักเรียนสดี ำ� นักเรยี นชายใชร้ องเท้าผ้าใบนกั เรยี น สนี า้ํ ตาล สายผกู สเี ดยี วกับรองเทา้ 4. ถุงเทา้ - นกั เรียนหญงิ ใชถ้ ุงเทา้ นักเรยี นสีขาว นกั เรียนชายใชถ้ ุงเทา้ นกั เรียนสีน้ําตาล หมายเหตุ ห้ามแต่งกายชดุ พละนอกเหนอื จากทีโ่ รงเรยี นกำ�หนด

เครอ่ื งแบบนกั เรยี นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ชาย) เครื่องแบบนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (หญงิ ) ปกั ช่ืออกั ษรยอ่ ปกั ดาวตามระดบั ช้นั ปักช่อื อักษรยอ่ ปักดาวตามระดบั ชั้น 107 คู่มคู่มือือนนักักเรเียรียนนโรโรงงเรเรยี ยี นนตตาาคคลลปี ปี รระชาสรรค์ โรงเรียน ต.ป. (ม.1 ★) โรงเรียน ต.ป. (ม.1 ★) เสอ้ื เชต้ิ คอตง้ั (ม.2 ★ ★) เสอ้ื ขาวเกล้ียง (ม.2 ★ ★) สขี าวเกลย้ี ง เขม็ ขดั หนงั สีนํ้าตาล (ม.3 ★ ★ ★) มปี ก (ม.3 ★ ★ ★) หัวเขม็ ขัดสเ่ี หลย่ี ม ปักชอ่ื และนามสกลุ ผกู ไทดส์ เี ดียวกบั ปกั ชื่อและนามสกุล (เรยี นดี รักเรียน) (เรียนดี รักเรียน) กางเกงสีกากี กระโปรง รองเทา้ หมุ้ ส้น ถุงเทา้ สีน้ําตาล รองเทา้ ผา้ ใบ กระโปรง สีดำ� หุม้ สน้ สนี า้ํ ตาล สีกรมท่า ถุงเท้าสขี าว พบั ขอบบน

เคร่อื งแบบนักเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ชาย) เครือ่ งแบบนกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย (หญิง) ค่มู คือู่มนือกั นเรักียเรนยี โรนงโเรรงยี เนรียตนาคตลาีปครละปี ชราะสชรารสคร์ รค์ 110088 ติดเขม็ โลหะ ด้านข้าง ด้านหลงั ตดิ เข็มโลหะ ด้านขา้ ง ดา้ นหลัง ตราโรงเรยี น ปักดาวตามระดบั ชน้ั ตราโรงเรียน ปักดาวตามระดบั ชั้น ปักชอ่ื อกั ษรย่อ (ม.4 ★) ปกั ชื่ออักษรยอ่ (ม.4 ★) โรงเรยี น ต.ป. (ม.5 ★ ★) โรงเรียน ต.ป. (ม.5 ★ ★) (ม.6 ★ ★ ★) เสือ้ เช้ิตคอต้ัง (ม.6 ★ ★ ★) เสอื้ เช้ิตคอต้งั สีขาวเกลี้ยง สขี าวเกลยี้ ง ปักช่อื และนามสกุล ปกั ช่อื และนามสกลุ เขม็ ขดั หนังสีนํ้าตาล (เรียนดี รักเรยี น) เขม็ ขดั หนังสีด�ำ (เรยี นดี รักเรียน) หัวเขม็ ขัดเปน็ โลหะ หวั เข็มขดั เป็นโลหะ สเี งนิ มีตราสญั ลักษณ์ สีเงนิ มตี ราสัญลกั ษณ์ โรงเรียน โรงเรียน กางเกงสกี ากี กระโปรงสกี รมท่า ถงุ เทา้ สนี ํา้ ตาล รองเทา้ ผ้าใบ ถุงเท้าสีขาว รองเทา้ หมุ้ สน้ หมุ้ ส้นสนี าํ้ ตาล พบั ขอบบน สีด�ำ

109 คมู่ ือนกั เรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ เครอ่ื งแบบลกู เสอื -เนตรนารเี หลา่ เสนา หมวก ผา้ ผกู คอ (อมินตี ธรนาเูสนเี ลตอืรนดาหรมี)ู ชอื่ กลมุ่ /กอง เคร่ืองหมายหมู่ เลขกลุ่ม/กอง เคร่อื งหมายภาษาตา่ งประเทศ เครื่องหมายเนตรนารี เครอ่ื งหมายวชิ าพิเศษ สามัญรนุ่ ใหญ่ เส้อื สเี ขยี วแก่ เครอ่ื งหมายประจ�ำ การ เข็มขดั เครื่องหมายหัวหน้าหมู่ เครือ่ งหมายนายหมู/่ รอง ถงุ เท้า รองเท้า กระโปรงสเี ขียวแก่ เครื่องแบบลูกเสอื -เนตรนารเี หลา่ อากาศ

คูม่ อื นกั เรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 110 เครอ่ื งแบบยุวกาชาด เครื่องแบบนกั ศึกษาวิชาทหาร เครอ่ื งแบบชดุ พละโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ ปกั ดาว (ม.ปลาย) ปักดาว (ม.ปลาย) ปปักกั ดชา่อื ว (ม.ตน้ ) ปปกั กั ดชาอื่ ว (ม.ตน้ )

111 คมู่ ือนักเรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ ระเบียบโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ วา่ ด้วย คณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองนกั เรียน พ.ศ. 2562 C เพ่ือให้การบริหารและการจัดการเก่ียวข้องกับเครือข่ายผู้ปกครองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกบั พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 อาศัย อ�ำ นาจตามความในมาตรา 30 วรรค 3 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ระเบียบบรหิ ารราชการ พ.ศ. 2546 และขอ้ 1 (3) ของกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สำ�นกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 จึง ก�ำ หนดวางระเบียบ เพอื่ เปน็ แนวทางในการบริหารและจดั การรว่ มกันระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองไวด้ งั นี้ ขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบยี บโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ ว่าดว้ ยคณะกรรมการเครอื ข่าย ผปู้ กครองนกั เรยี น พ.ศ. 2562” ขอ้ 2 ระเบยี บน้ใี หใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแต่วันถดั ไปจากวนั ประกาศเป็นต้นไป ขอ้ 3 บรรดาระเบยี บ ขอ้ งบงั คบั ประกาศ และคำ�สั่งอ่นื ในสว่ นทีก่ �ำ หนดไว้ในระเบียบน้หี รือซง่ึ ขัดแย้งกบั ระเบียบน้แี ทน ขอ้ 4 ในระเบียบนี้ คำ�วา่ “เครือข่าย” (network) หมายความวา่ การเขา้ มามีบทบาทในฐานะการสร้างความ ร่วมมือ แนวรว่ มและหรอื การมสี ่วนรว่ ม ตามแนวทางพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 9 วรรค (6) ไดร้ ะบุว่า การมีส่วนรว่ มของบุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถานบนั สงั คมอนื่ ซ่งึ ค�ำ วา่ “เครอื ขา่ ย” ได้ถูกมาใช้เป็นลักษณ์อักษรเพ่ือท่ีจะให้เกิดกลไกลความร่วมมือในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกันระหว่าง ผู้ปกครองกับสถานศึกษา ข้อ 5 วัตถุประสงค์ของคณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครอง 5.1 เพอ่ื การดำ�เนนิ งานสรา้ งความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งบา้ นและสถานศกึ ษาพร้อมส่งเสริม ความสามัคคชี ่วยเหลือซงึ่ กันและกัน 5.2 เพอ่ื ใหพ้ ่อแม่ – ผ้ปู กครองมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมพัฒนาพฤติกรรมผเู้ รยี น 5.3 เพอื่ ใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นความรู้ ประสบการณพ์ รอ้ มแนวคดิ ระหวา่ งผปู้ กครอง ครู และ นกั เรียนในสถานศึกษา 5.4 เพื่อส่งเสรมิ ความสามัคคชี ่วยเหลอื เกอ้ื กลู ซึ่งกนั และกนั และร่วมจดั กิจกรรมตา่ งๆ 5.5 เพอ่ื ให้มกี ารติดต่อสอ่ื สารกบั พ่อแม่ ผปู้ กครองอยา่ งรวดเรว็ และมีประสทิ ธภิ าพ ขอ้ 6 คุณสมบัติของคณะกรรมการเครอื ข่ายผ้ปู กครอง 6.1 ประกอบอาชพี สุจริต มีทีอ่ ยอู่ าศยั เปน็ หลกั แหล่งแนน่ อน

คมู่ ือนักเรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 112 6.2 บรรลุนิติภาวะ และมีสถานภาพเป็นผู้ปกครองนักเรียนในปัจจุบันของสถานศึกษา โดยชอบธรรมตามกฎหมาย 6.3 ไมเ่ ปน็ โรคตดิ ต่อรา้ ยแรงหรอื โรคทสี่ ังคมรงั เกียจ ขอ้ 7 การพน้ จากตำ�แหนง่ ของกรรมการเครือข่ายผปู้ กครอง 7.1 ตาย 7.2 ลาออก 7.3 ขาดคณุ สมบัติตามทไ่ี ดก้ ำ�หนดไวใ้ นข้อ 3.1 ข้อ 8 วาระการด�ำ รงตำ�แหนง่ คณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครองทกุ ระดับมีวาระ 1 ปี นับตง้ั แตท่ ี่ไดร้ ับการคัดเลอื กสิ้นสุด ลงในวันท่ีคณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครองชุดใหมไ่ ดร้ ับการคัดเลอื ก ข้อ 9 คณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง คณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครองประกอบดว้ ย 9.1 คณะกรรมการระดับห้องเรียน มีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยการคัดเลือกจาก ผู้ปกครองของแต่ละห้องเรียน ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ นายทะเบียน ประชาสัมพันธ์ 9.2 คณะกรรมการระดับช้นั เรียน มีจำ�นวนไม่น้อยกวา่ 5 คน โดยการคดั เลอื กจากคณะกรรมการ ระดบั หอ้ งเรียนของช้ันเรียนนัน้ ๆ ห้องละ 2 คน ผ้แู ทนหอ้ งเรยี นประกอบด้วย ประธาน และเลขานุการระดบั หอ้ งเรยี นคณะกรรมการระดบั ช้ันเรียน ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ นายทะเบยี น ประชาสัมพันธ์ 9.3 คณะกรรมการระดบั โรงเรยี น มจี �ำ นวน 13 คน โดยการคัดเลอื กมาจากประธานและ เลขานุการ ของแตล่ ะระดับช้ัน ทั้งหมดจำ�นวน 12 คน และคดั เลอื กมาจากกรรมการ เครอื ขา่ ยระดบั ชน้ั อกี 1 คน รวมเปน็ 13 คน คณะกรรมการระดบั โรงเรยี นประกอบดว้ ย ประธาน รองประธานคนที่ 1 รองประธานคนที่ 2 เลขานกุ าร ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร เหรัญญกิ ปฏิคม ประชาสมั พนั ธ์ ผชู้ ว่ ยประชาสมั พันธ์ นายทะเบยี น และกรรมการกลาง จำ�นวน 3 คน กรณีที่ผู้แทนของระดับใดได้รับการคัดเลือกเป็นประธานเครือข่ายผู้ปกครอง โรงเรียน ใหเ้ ลอื กผู้แทนของระดับช้ันข้ึนมาแทนตำ�แหน่งทวี่ ่างลง เพอื่ ใหค้ รบจำ�นวน 13 คน ข้อ 10 บทบาทและหนา้ ที่ของคณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง 10.1 รว่ มสนบั สนนุ กจิ กรรมของสถานศึกษาโดยผ่านความเหน็ ชอบจากผู้บรหิ ารสถานศึกษา 10.2 รว่ มสร้างสายใยเชอื่ มสมั พันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งครู ผปู้ กครอง และนกั เรยี น 10.3 สนบั สนนุ การพฒั นาการเรียนการสอนของสถานศึกษา 10.4 ให้ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะตอ่ สถานศึกษาในเรอ่ื งต่างๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์แกน่ กั เรียน และสถานศึกษา

113 คูม่ อื นกั เรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 10.5 เครือขา่ ยฯ ระดบั ห้อง ควรจัดการประชุมกรรมการและผูป้ กครองในห้องนั้นๆ ตาม ความเหมาะสมอย่างน้อยปลี ะ 2 ครั้ง 10.6 เครือขา่ ยฯ ระดบั ชัน้ ควรจดั การประชุมกรรมการตามความเหมาะสมอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครัง้ 10.7 เครอื ข่ายฯ ระดับโรงเรยี น ควรจัดการประชมุ กรรมการตามความเหมาะสมอย่างน้อย ปลี ะ 2 ครัง้ 10.8 เครือข่ายฯ ระดบั โรงเรียน จดั การประชมุ ใหญ่คณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองทกุ ระดับ ตามความเหมาะสมอย่างนอ้ ยปีละ 2 ครง้ั 10.9 เครอื ข่ายฯ ระดับหอ้ ง ควรทำ� ท�ำ เนียบนกั เรยี น และผ้ปู กครองโดยละเอยี ด 10.10 เครือข่ายฯ ระดับช้ัน ควรรวบรวมข้อมูลของระดบั ห้องของช้ันนั้นๆ เข้าประชุมและ สรปุ ผลสง่ มอบใหเ้ ครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียนตอ่ ไป 10.11 เครอื ขา่ ยฯ ระดบั โรงเรยี นจะตอ้ งรวบรวมข้อมูล และกิจกรรมของระดับชนั้ นำ�เสนอ โรงเรยี น 10.12 คณะกรรมการเครอื ข่ายฯ ทุกท่านจะต้องให้ความสำ�คัญตอ่ การประชุม ข้อ 11 อำ�นาจและหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการเครือขา่ ยผูป้ กครอง ระดบั โรงเรยี น 11.1 ประธาน ทำ�หนา้ ทเี่ ป็นประธานในการประชมุ เครอื ขา่ ยฯ เปน็ ผู้นำ�การบรหิ ารและ เป็นผกู้ ำ�หนดแผนงานในแตล่ ะปีของเครือข่ายฯ และปฏบิ ตั ิหน้าทอ่ี ืน่ ตามหน้าท่ีโดย ปกตใิ นตำ�แหนง่ ประธาน 11.2 รองประธานอนั ดับที่ 1 ท�ำ หนา้ ท่เี ปน็ ประธานในที่ประชุมเครอื ขา่ ยฯ ประชมุ กรรมการ เครอื ข่ายฯ และบริหารงานของเครอื ข่ายฯ แทนประธาน เมอื่ ประธานไมอ่ ยูห่ รือมอิ าจ ปฏบิ ัตหิ น้าที่อื่นซ่งึ เกีย่ วข้องกับตำ�แหน่งรองประธานโดยปกติ 11.3 รองประธานอนั ดับที่ 2 มีหน้าท่ีบรหิ ารเครอื ขา่ ยฯ แทนประธานหรือรองประธาน อนั ดบั ท่ี 1 ในเมื่อท้ังสองทา่ นไมอ่ าจปฏบิ ัตหิ น้าทไี่ ด้ 11.4 เลขานุการ มหี น้าทร่ี วบรวมรักษาทะเบียนท�ำ เนยี บสมาชิกเครอื ข่ายผู้ปกครอง ส่งหนังสือ แจ้งกำ�หนดการประชุมของเครอื ข่ายฯ และเป็นผจู้ ัดการประชุมใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บแผน ของเครือข่ายผู้ปกครอง จัดระเบยี บวาระการประชมุ จดบันทึกรายงานการประชมุ และจดั งานสารบรรณเกบ็ รักษาเอกสารและดำ�เนินงานของเครอื ขา่ ยฯ โดยทั่วไป และ ปฏบิ ัติหน้าที่อ่ืนซึ่งตามปกติเป็นหน้าท่ขี องเลขานุการ 11.5 ผชู้ ่วยเลขานุการ มีหน้าท่ีและอำ�นาจทำ�การแทนเลขานกุ ารเครอื ข่ายฯ ในเมื่อเลขานุการ เครือข่ายฯ ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ตามปกติ และคอยช่วยเหลือเลขานุการในการ ดำ�เนนิ งานการประชมุ และปฏิบตั ิหน้าทเี่ ปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื เลขานกุ าร 11.6 เหรัญญกิ เปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบการเงนิ การบญั ชแี ละทรัพย์สินของเครือข่ายฯ ทำ�บญั ชี หลักฐานการเงินประจำ�ปขี องเครือขา่ ยผ้ปู กครอง พร้อมทจ่ี ะแสดงเมอ่ื มีการร้องขอหรอื

คู่มอื นกั เรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 114 ตอ้ งการทราบจากคณะกรรมการและสมาชิกของ เครือข่ายผู้ปกครองและมอี ำ�นาจใน การสรรหาอนุกรรมการจากสมาชกิ มาชว่ ยงานด้านการเงนิ และท�ำ บัญชี 11.7 ปฏิคม มีหน้าท่ตี ้อนรบั ควบคมุ ดูแลจัดสถานท่แี ละอ�ำ นวยความสะดวกในการประชมุ และในกจิ กรรมต่างๆ และอืน่ ๆ ตามหนา้ ทีท่ ไี่ ด้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ 11.8 ประชาสมั พันธ์ มหี น้าทท่ี �ำ การประชาสัมพันธ์ทง้ั ภายในและภายนอก ให้ทราบถงึ กจิ กรรม ของเครือข่ายผู้ปกครอง แถลงข่าว ประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้บุคคลภายนอกเข้าใจถึง กจิ กรรมของเครือขา่ ยผ้ปู กครอง และประสานงานกิจกรรมของเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง 11.9 ผู้ช่วยประชาสัมพนั ธ ์ มหี นา้ ที่ช่วยเหลือประชาสัมพนั ธ์ 11.10 นายทะเบียน มหี นา้ ท่ีจัดท�ำ ทะเบียนประวตั ขิ องกรรมการ และส่งมอบเลขานุการ 11.11 กรรมการกลางจำ�นวน 3 คน มีหนา้ ท่เี ข้าร่วมประชมุ พิจารณา และลงมติ ข้อ 12 อ�ำ นาจและหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองระดบั หอ้ งเรียนและระดบั ช้ัน 12.1 ประธาน มีหนา้ ทบ่ี ริหารงานเครอื ข่าย และเปน็ ประธานการประชุม 12.2 รองประธาน เปน็ ผูช้ ว่ ยประธาน หรอื ทำ�หน้าท่ตี ามท่ปี ระธานมอบหมาย 12.3 เลขานุการ มีหน้าที่นัดหมาย จัดเตรียมเรื่องในการประชุมบันทึกการประชุมและ รายงานการประชุม 12.4 นายทะเบยี น มีหน้าท่ีจดั ทำ� ท�ำ เนียบนักเรยี นและผปู้ กครอง 12.5 ประชาสมั พันธ ์ ทำ�หน้าทแ่ี จ้งขา่ วสารตดิ ตอ่ ประสานสัมพันธร์ ะหวา่ งครู – ผปู้ กครอง หรอื คณะกรรมการเครอื ข่ายผูป้ กครอง ข้อ 13 ใหส้ ถานศกึ ษาแตง่ ตั้งครูเป็นผปู้ ระสานงานกับคณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองทุกระดบั ช้ัน ข้อ 14 แนวปฏิบัติ การจัดกิจกรรมของคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียน ตาคลีประชาสรรค์ 14.1 การจัดกจิ กรรมใดๆ ในสถานศึกษาตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากหวั หน้าสถานศกึ ษา 14.2 การจดั ประชมุ ตอ้ งทำ�หนงั สอื ขออนญุ าตผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาพรอ้ มแนบวาระการประชุม และมีครผู ูป้ ระสานงานเข้าร่วมประชุม ขอ้ 15 ให้รองผูอ้ �ำ นวยการสถานศึกษาที่ได้รบั มอบหมายรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี ข้อ 16 คณะกรรมการท่ีโรงเรียนจัดตงั้ ข้ึนมีอยูก่ ่อนระเบยี บน้ีใช้บงั คับใหส้ น้ิ สภาพ และให้ด�ำ เนินการ สรรหาใหมต่ ามระเบียบ ประกาศ ณ วนั ที ่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ลงนาม (นางสาวจงกล เดชปน้ั ) ผ้อู ำ�นวยการโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์

115 คู่มือนักเรียนโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ ผังโครงสรา้ งคณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครองของโรงเรียน คณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครองระดบั โรงเรียน เลือกตั้ง คณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองระดบั ช้นั เรียน เลอื กตัง้ คณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครองระดับห้องเรียน เลือกต้งั ผปู้ กครองทกุ คนในหอ้ ง คณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการเครือข่ายผ้ปู กครอง ระดบั ห้องและระดับชน้ั เรยี น ระดบั โรงเรยี น 5 คน 13 คน ประธานเครือข่ายระดบั หอ้ งเรยี น ประธานเครอื ขา่ ยระดบั โรงเรยี น หรอื ประธานเครอื ขา่ ยระดบั ชั้น รองประธานเครือข่ายคนที่ 1 รองประธานเครือข่ายคนที่ 2 รองประธาน เลขานุการ เลขานุการ นายทะเบยี น ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ประชาสมั พันธ์ เหรญั ญกิ ปฏคิ ม ประชาสัมพันธ์ ผู้ช่วยประชาสมั พนั ธ์ นายทะเบียน กรรมการกลาง ๓ คน

ค่มู ือนกั เรียนโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 116 ระเบยี บโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ ว่าดว้ ย สภานักเรียนและการเลือกตง้ั คณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ พ.ศ. 2562 C เพ่ือเปน็ การส่งเสรมิ และสนองนโยบายของรฐั บาลเกีย่ วกบั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ์เป็นประมุข โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์จึงได้กำ�หนดใหจ้ ดั ตัง้ สภานกั เรยี นเป็นแนวทางส่ง เสรมิ กจิ กรรมของนักเรียน ให้นักเรยี นใชเ้ วลาใหเ้ ปน็ ประโยชน์ เพมิ่ พนู ประสบการณ์ใหแ้ กน่ ักเรียน ตามความถนัด ความสามารถและฝกึ การอยูร่ ่วมกนั ตามแบบประชาธิปไตยโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ จึงให้ตราขอ้ บงั คับว่าดว้ ยสภานักเรียนขน้ึ ไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบยี บน้เี รยี กว่า “ขอ้ บงั คับว่าดว้ ยโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์” ข้อ 2 ใหใ้ ชร้ ะเบยี บน ี้ ตั้งแตว่ ันท่ี 1 พฤษภาคม 2562 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ในระเบยี บน ี้ เวน้ แตจ่ ะมขี อ้ ความแสดงให้เห็นเป็นอย่างอ่ืน “โรงเรยี น” หมายความว่า โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ “สภานักเรยี น” หมายความว่า สภานักเรียนโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ “ผูอ้ �ำ นวยการ” หมายความวา่ ผอู้ ำ�นวยการโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ “คร”ู หมายความว่า ครโู รงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ “ทป่ี รกึ ษาสภานักเรยี น” หมายความวา่ ผู้บรหิ าร ครู และนกั เรียนทไ่ี ดร้ บั การแต่งตงั้ เปน็ ท่ปี รึกษาสภานกั เรียน “ประธานคณะกรรมการนักเรยี น” หมายความวา่ ประธานคณะกรรมการนกั เรียนโรงเรียน ตาคลีประชาสรรค์ “คณะกรรมการนักเรยี น” หมายความวา่ คณะกรรมการนักเรยี นโรงเรียน ตาคลปี ระชาสรรค์ “ยวุ สภานักเรียน” หมายความว่า นักเรียนที่ไดร้ ับการแตง่ ต้ัง ใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าที่ ช่วยเหลอื งานตา่ งๆ ของสภานักเรยี น ขอ้ 4 ให้ยกเลิกข้อบังคับโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ พ.ศ. 2559 ข้อ 5 ให้รองผูอ้ �ำ นวยการกลุ่มบริหารงานบคุ คลโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรคร์ กั ษาการให้เป็นไป ตามระเบียบน้ี ในกรณีท่ีเป็นปญั หา ให้เปน็ อำ�นาจของผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นทจี่ ะวินิจฉยั ยุบ เลกิ แตง่ ตงั้ ถอดถอน แก้ไข เปลี่ยนแปลง ยับยัง้ หมวด 1 วตั ถปุ ระสงค์ ข้อ 6 สภานกั เรียนจัดตงั้ ขนึ้ ด้วยวัตถุประสงคส์ �ำ คัญ 4 ประการ คือ 6.1 เพอ่ื ปลกู ฝังให้นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์

117 ค่มู อื นกั เรียนโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ ทรงเปน็ ประมุข 6.2 เพื่อฝกึ ฝนให้นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มและมีประสบการณ์ในด้านการบริหาร และ การปกครองนกั เรียน โดยนักเรียนและเพ่ือนักเรยี น 6.3 เพือ่ สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้นกั เรียนได้มโี อกาสในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ร่วมกบั โรงเรียน ชมุ ชน สงั คม 6.4 เพือ่ เป็นการประสานงานระหว่างคณะครู นักเรยี น โดยการและเปลีย่ นเรยี นรู้ แสดง ความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะและความต้องการของนกั เรียนเสนอต่อผูบ้ ริหารโรงเรียน หมวด 2 องค์ประกอบของสภานกั เรยี น ข้อ 7 สภานกั เรยี นใหม้ อี งค์ประกอบ ดงั น้ี 7.1 คณะกรรมการนักเรียน 7.2 คณะกรรมการผแู้ ทนนักเรียน 7.3 ท่ีปรกึ ษาสภานักเรยี น ข้อ 8 คณะกรรมการนักเรียนประกอบดว้ ย 8.1 ประธานคณะกรรมการนกั เรียน 8.2 รองประธานคณะกรรมการนักเรียนฝ่ายอำ�นวยการและวชิ าการ 8.3 รองประธานคณะกรรมการนกั เรียนฝ่ายกิจกรรม 8.4 งานเหรญั ญกิ (ฝา่ ยอำ�นวยการและวชิ าการ) 8.5 งานเครอื ข่ายสภานกั เรยี นและชุมชนสัมพนั ธ์ (ฝ่ายอ�ำ นวยการและวชิ าการ) 8.6 งานประชาสมั พนั ธ์ (ฝ่ายอ�ำ นวยการและวิชาการ) 8.7 งานส�ำ นักงานและเลขานกุ าร (ฝ่ายอ�ำ นวยการและวชิ าการ) 8.8 งานปฏิคม (ฝา่ ยอ�ำ นวยการและวิชาการ) 8.9 งานวัดประเมนิ ผล (ฝา่ ยอำ�นวยการและวิชาการ) 8.10 งานจติ อาสาสภานักเรียน (ฝ่ายกิจกรรม) 8.11 งานนนั ทนาการ (ฝ่ายกิจกรรม) 8.12 งานส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย (ฝ่ายกจิ กรรม) 8.13 งานแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ และพฤตกิ รรมเสยี่ ง (ฝา่ ยกิจกรรม) 8.14 งานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม (ฝ่ายกจิ กรรม) 8.15 งานสารวัตรนักเรยี น (ฝ่ายกิจกรรม) ข้อ 9 คณะกรรมการผ้แู ทนนกั เรียนประกอบด้วย หวั หนา้ หอ้ งเรียนและรองหัวหน้าห้องเรยี น ทกุ หอ้ ง ประธานและรองประธาน 5 คณะสี ข้อ 10 ทปี่ รึกษาสภานกั เรียนประกอบด้วย ผู้บรหิ าร ครทู ่ีไดร้ ับการแตง่ ตง้ั ครทู ่ีปรึกษา ห้องละ 2 คน และนกั เรยี นท่ีได้รบั การแตง่ ตงั้

คู่มอื นักเรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 118 หมวด 3 การเลอื กต้ัง การแตง่ ตง้ั และสมาชกิ ภาพ ข้อ 11 การเลือกต้ังประธานสภานักเรียนและคณะกรรมการสภานักเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์ และวิธีการโรงเรยี นกำ�หนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการเชน่ ว่าน้ีให้คลมุ ถงึ 11.1 เกณฑ์ค�ำ นวณสมาชิก 11.2 วธิ หี าเสยี ง วิธีลงคะแนน และวธิ นี ับคะแนน 11.3 การประกาศผล ข้อ 12 ผมู้ สี ทิ ธิไดร้ ับการเลือกตง้ั เป็นประธานสภานักเรียน ตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดังนี้ 12.1 เป็นนักเรยี นปจั จุบันของโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 12.2 เป็นผู้ไม่เคยถกู ตัดคะแนนความประพฤติ หรอื เคยถูกตัดคะแนนความประพฤติ ไมเ่ กิน 20 คะแนน 12.3 มผี ู้รบั รองความสามารถในการปฏบิ ัติงานสงั คมไมน่ อ้ ยกวา่ 10 คน โดยผ้รู ับรอง ตอ้ งเปน็ ครู 2 คน และนกั เรยี น 8 คน 12.4 เปน็ ผู้มีความตั้งใจและสนใจต่องานสภานักเรยี นดว้ ยความบริสุทธิใ์ จ 12.5 ตอ้ งก�ำ ลังศกึ ษาอยใู่ นระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ในปีการศกึ ษานน้ั และมคี ะแนน เฉลีย่ สะสมไม่ตาํ่ กว่า 2.50 ขอ้ 13 การเลอื กต้ังประธานคณะกรรมการนกั เรยี น ให้กระท�ำ โดยการเลอื กต้ังทวั่ ไปผสู้ มคั รรบั เลอื กตัง้ ตอ้ งรวมกลมุ่ โดยระบุต�ำ แหนง่ หน้าท่ใี ห้ครบตามขอ้ 7 ในกรณีทม่ี ผี ู้สมัครรบั เลอื กตง้ั มเี พยี งกล่มุ เดียว การนับคะแนนเสียง ตอ้ งไดค้ ะแนนเสยี งไม่น้อยกว่ากง่ึ หน่ึงของผ้มู าลงคะแนนเสยี งทั้งหมด จงึ จะมี สทิ ธิไดร้ ับเลือกตั้ง ขอ้ 14 คณะกรรมการผู้แทนนักเรียน เปน็ ตวั แทนนักเรยี นของแต่ละหอ้ ง และตัวแทนคณะสี โดยผา่ นการคัดเลอื กมาแล้วจากหอ้ งของตนและคณะสขี องตน หรือวธิ ีการที่โรงเรียนก�ำ หนด และใหม้ ีกรรมการ ผูแ้ ทนหอ้ งละ 2 คน และคณะสีละ 3 คน ข้อ 15 สภานกั เรยี นใหม้ ีวาระคราวละ 1 ปี โดยเร่มิ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นเดือนพฤศจิกายน และให้ ครบวาระการปฏิบตั ิหน้าที่ในเดอื นตุลาคม ของปีถดั ไปคณะกรรมการผู้แทนนักเรียนซึ่งพน้ จากต�ำ แหน่ง อาจ ไดร้ ับการเลือกตัง้ หรอื การแต่งตง้ั อกี ก็ได้ ขอ้ 16 ครูทปี่ รกึ ษา ใหร้ องผู้อ�ำ นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คลเป็นผู้คัดเลอื กครูเพ่อื ใหโ้ รงเรียน แต่งตั้ง จ�ำ นวน 2 คน ขอ้ 17 นอกจากพน้ ต�ำ แหนง่ ตมวาระขอ้ 15 สภานกั เรียนและคณะกรรมการผแู้ ทนนักเรยี น พน้ ตำ�แหน่งเมอ่ื 17.1 ตาย 17.2 ลาออก โดยแสดงความจ�ำ นงต่อครูทปี่ รกึ ษาเป็นลายลกั ษณ์อักษร

119 ค่มู ือนกั เรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 17.3 เม่ือปฏิบัติตนไมเ่ หมาะสมกับการเปน็ คณะกรรมการนักเรยี น สภานกั เรียนมีมติ 2 ใน 3 ใหพ้ น้ สภาพ 17.4 โรงเรยี นมีคำ�ส่ังใหย้ บุ สภานกั เรยี น เม่อื กรรมการผูใ้ ดพ้นจากตำ�แหน่งก่อนวาระ โรงเรียนอาจจัดใหม้ กี ารเลอื กตั้ง หรอื แตง่ ต้งั ผูอ้ ่ืนแทนก็ได ้ ผไู้ ดร้ บั เลอื กต้งั หรือ แต่งต้ังใหอ้ ยู่ในตำ�แหน่งตามวาระของผทู้ ต่ี นแทนเทา่ น้นั หมวด 4 การบริหารงานสภานักเรยี น ข้อ 18 การบริหารงานของสภานักเรยี น ให้แบ่งความรับผิดชอบ ดังนี้ 18.1 การวางระเบียบ หรือข้อบังคบั และการบรหิ ารกิจกรรมนักเรยี น ใหเ้ ป็นอำ�นาจและ หนา้ ทขี่ องสภานักเรียน 18.2 ปรึกษาสภานักเรียน มหี น้าทใี่ ห้ค�ำ ปรึกษาในการวางแผนหรอื การเขยี นโครงการ และมอี ำ�นาจหนา้ ทใี่ นการควบคมุ ดูแลการปฏิบตั ิงานของสภานักเรียนใหเ้ ปน็ ไปดว้ ย ความเรยี บรอ้ ยตามวัตถปุ ระสงคใ์ นขอ้ 6 18.3 การปฏบิ ัตงิ านในกิจกรรมตา่ งๆ ของนกั เรยี น ให้สภานกั เรียนเป็นผู้เสนอโครงการ โดยได้รบั ความเห็นชอบจากครทู ป่ี รึกษา ใหร้ องผูอ้ ำ�นวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล พิจารณาเห็นชอบเพอื่ เสนอผู้อำ�นวยการโรงเรยี นพิจารณาอนมุ ัติ หมวด 5 อ�ำ นาจ และหน้าที่ ของสภานกั เรยี น ข้อ 19 การปฏิบัตงิ านตามหนา้ ทข่ี องสภานกั เรียน จะขัดหรอื แย้งกบั ระเบยี บ หรอื ขอ้ บังคับอ่ืน ใดของทางราชการ ทีโ่ รงเรยี นถอื ปฏบิ ัติอยู่มิไดก้ บั ทงั้ ต้องรกั ษาไวซ้ งึ่ ศีลธรรม วฒั นธรรม และขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงาม ทง้ั นี้ เวน้ แต่กรณที ีจ่ ำ�เปน็ ใหข้ อความเหน็ ชอบจากโรงเรียนก่อน ข้อ 20 สภานักเรยี นให้มีอ�ำ นาจและหน้าที่ ดงั นี้ 20.1 จัดการประชุมสภานักเรียนอยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 คร้งั 20.2 จดั ท�ำ โครงการกิจกรรมนักเรยี น ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น เสนอให้ รองผ้อู ำ�นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล โรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ พิจารณาเหน็ ชอบ 20.3 เปน็ ตวั แทนของนักเรียนในการกระท�ำ ใดๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน 20.4 ปฏบิ ตั ติ ามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากโรงเรยี น 20.5 เผยแพร่ความรเู้ รื่องประชาธปิ ไตยแก่นกั เรียน และดำ�เนนิ การเลือกต้ังประธาน สภานักเรียน 20.6 รับฟงั ปญั หาและความต้องการของนกั เรียนในโรงเรยี น เพ่ือเสนอไปยังผบู้ รหิ ารต่อไป 20.7 แตง่ ต้ังอนกุ รรมการเพ่อื ปฏิบัติการอย่างหนง่ึ อย่างใด ตามทีเ่ หน็ สมควร

คมู่ ือนักเรยี นโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 120 20.8 เป็นผรู้ กั ษากฎระเบียบ ตกั เตือนนกั เรียนในโรงเรยี น เม่อื พบวา่ กระท�ำ ผิดกฎระเบยี บ ของโรงเรยี น ขอ้ 21 หน้าทข่ี องคณะกรรมการนกั เรยี นและคณะกรรมการผแู้ ทนนกั เรยี น มดี งั นี้ 21.1 ประธานคณะกรรมการนกั เรยี น มอี �ำ นาจหน้าที่ดังนี้ 21.1.1 เป็นผนู้ �ำ ของสภานกั เรยี นและตัวแทนของนักเรยี น 21.1.2 ส่งเสรมิ และดแู ลการจัดกจิ กรรมของฝา่ ยและงานตา่ งๆของสภานกั เรยี น ให้มปี ระสทิ ธิภาพตามแผนทวี่ างไว้ 21.1.3 เปน็ ผู้ชี้ขาดในการแกป้ ัญหางานของสภานกั เรยี น 21.1.4 เป็นประธานในการประชมุ สภานักเรยี นและการประชุมวางแผนงานตา่ งๆ 21.1.5 ประสานงานกบั กลมุ่ บรหิ ารงาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และกล่มุ งานต่างๆ ของโรงเรียน ในการด�ำ เนนิ กิจกรรมของสภานกั เรยี นใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ และเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย 21.1.6 ปกป้องสทิ ธิและเสรีภาพของนกั เรยี น โดยวิธีการทางประชาธปิ ไตย อยา่ งสันติ 21.1.7 กำ�กับติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการนกั เรียน 21.2 รองประธานคณะกรรมการนักเรียนฝา่ ยอำ�นวยการและวชิ าการมีอ�ำ นาจหน้าท่ีดังนี ้ 21.2.1 แบ่งเบาภาระของประธานนักเรยี น และปฏิบัติหนา้ ท่แี ทนประธานคณะ กรรมการนักเรียน เม่อื ประธานนักเรยี นไม่สามารถปฏบิ ตั งิ านได้ 21.2.2 ปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี ืน่ ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย 21.2.3 ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ก�ำ กับ ดแู ล กลุ่มงานตา่ ง ๆ ของฝา่ ยอ�ำ นวยการและวชิ าการ ซึ่งมดี ังตอ่ ไปน้ี ก) งานเหรัญญกิ ดูแลในเรื่องของงบประมาณในการดำ�เนนิ กิจกรรมต่างๆ ข) งานเครือข่ายสภานกั เรยี นและชุมชนสมั พันธ์ ดแู ลในเร่ืองการสร้าง เครือขา่ ยของสภานกั เรียน และการรว่ มกิจกรรมต่าง ๆ กับชมุ ชน ค) งานประชาสมั พันธ์ ดูแลเรอ่ื งการประชาสมั พันธก์ ิจกรรมตา่ ง ๆ ของ สภานกั เรียน และโรงเรยี น ตลอดจนงานโสตทัศนศกึ ษาตา่ งๆ ง) งานส�ำ นกั งานและเลขานุการ ดแู ลเก่ียวกบั เอกสารต่างๆ ของ สภานกั เรยี น และเอกสารการประชมุ จ) งานปฏคิ ม ดแู ลในเรอ่ื งของสถานท่ใี นการจัดกิจกรรมตา่ งๆ ฉ) งานวดั ประเมนิ ผล ดูแลในเรือ่ งของผลการปฏิบตั งิ านและกจิ กรรมตา่ งๆ ของสภานักเรยี น 21.3 รองประธานคณะกรรมการนกั เรยี นฝ่ายกจิ กรรม มีอ�ำ นาจหน้าทดี่ ังน้ี 21.3.1 แบง่ เบาภาระของประธานนกั เรียน และปฏิบตั หิ น้าที่แทนประธาน

121 ค่มู ือนักเรยี นโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ คณะกรรมการนักเรยี นเมื่อประธานนกั เรยี นไม่สามารถปฏบิ ตั งิ านได้ 21.3.2 ปฏบิ ัติหนา้ ที่อนื่ ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย 21.3.3 ปฏบิ ัติหน้าท่ี กำ�กบั ดแู ล กลมุ่ งานตา่ งๆ ของฝ่ายกิจกรรม ซง่ึ มดี ังต่อไปนี้ ก) งานจติ อาสาสภานกั เรยี น ดูแลในเรอ่ื งของจติ อาสาทัง้ ภายในและ ภายนอกโรงเรยี น ร่วมกับองค์กรและเครอื ขา่ ยต่างๆ ข) งานนันทนาการ ดูแลในเรอ่ื งการจดั กิจกรรมและโครงการต่างๆ ทส่ี รา้ งสรรค์และเกิดประโยชนก์ ับนักเรยี นในโรงเรียน ค) งานสง่ เสริมประชาธปิ ไตย ดแู ลในเร่อื งของการสรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจ และจัดกิจกรรมตา่ งๆ ท่ีเก่ยี วกบั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ใหก้ ับนักเรียนในโรงเรียน ง) งานแกไ้ ขปญั หายาเสพติดและพฤตกิ รรมเส่ียง ดูแลในเรอื่ งของการ สร้างความรู้และจดั กิจกรรมป้องกันปญั หายาเสพตดิ และพฤตกิ รรมเสยี่ ง ใหก้ บั นักเรียนในโรงเรยี น โดยรว่ มมอื กบั งานสารวตั รนักเรียน จ) งานส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ดูแลเกย่ี วกบั ศาสนพธิ ตี ่างๆ ตลอดจน เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม และจริยธรรมอันดงี ามใหก้ บั นักเรยี นในโรงเรียน ฉ) งานสารวตั รนักเรยี น กำ�กบั ดูแลตักเตอื นนักเรียน ในเรือ่ งของ การประพฤตติ นตามกฎระเบยี บของโรงเรยี น และช่วยเหลอื แบ่งเบา ภาระงานชองฝ่ายและกลมุ่ งานต่างๆ ในสภานักเรียน 21.4 หัวหนา้ ห้องและรองหัวหน้าห้องเรยี น มีอ�ำ นาจหนา้ ท่ีดังน้ ี 21.4.1 ใหค้ วามรว่ มมอื ในการจดั กิจกรรมต่างๆ ของสภานักเรยี น 21.4.2 เป็นตวั แทนของนักเรียนในหอ้ งในการเขา้ รว่ มประชุมสภานกั เรียน 21.4.3 รบั ฟังปัญหาต่างๆ จากสมาชิกในหอ้ งเผอ่ื เสนอผา่ นประธาน คณะกรรมการนกั เรียนไปยงั ผู้บริหาร 21.4.4 ชว่ ยเหลอื ครทู ีป่ รกึ ษาในการดูแลและประสานงาน ระหว่าง คณะครู สภานักเรยี น และนักเรียน ให้เกดิ ความเข้าใจตรงกนั 21.4.5 ปฏบิ ัติหน้าที่อืน่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 21.5 ประธานคณะสแี ละรองประธานคณะสี มอี ำ�นาจหน้าทีด่ ังนี ้ 21.5.1 ประสานงานกบั สภานักเรียนในการดำ�เนนิ งานและเอกสารต่างๆ ทีจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งใชอ้ ำ�นาจของสภานักเรียน 21.5.2 กำ�กบั ดูแลคณะสีของตนเอง ในการซกั ซอ้ ม และด�ำ เนินกิจกรรม กฬี าภายในของโรงเรียนให้เป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย 21.5.3 ปกปอ้ งสทิ ธิและเสรีภาพของนกั เรียนในคณะสี โดยวธิ ีการทาง ประชาธิปไตยอย่างสนั ติ

คมู่ อื นกั เรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 122 21.5.4 เปน็ ตัวแทนของคณะสใี นการดำ�เนนิ งานกจิ กรรมตา่ งๆ ร่วมกับ กลุ่มสาระสขุ ศึกษาและพลศึกษาและกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน ร่วมกับสภานกั เรยี น 21.5.5 ปฏบิ ตั หิ น้าทอี่ ่นื ๆ ที่ได้รบั มอบหมายจากโรงเรยี น หมวด 6 การประชมุ ข้อ 22 ภาคเรียนหน่ึงๆ ให้มกี ารประชมุ สามัญสภานักเรียนคร้ังหนึง่ เวน้ แตม่ ีกรณรี ีบด่วน ในการประชุมแตล่ ะครั้ง ต้องประกอบดว้ ยองคป์ ระชุม ดงั น้ี 22.1 การประชุมใหป้ ระกอบด้วย สภานกั เรยี น และครูทีป่ รกึ ษา 22.2 ใหป้ ระธานคณะกรรมการนักเรียนเปน็ ประธานในท่ีประชมุ ให้เลขานกุ าร คณะกรรมการนักเรียน เป็นผู้ออกหนงั สอื เชญิ ประชมุ และจดบันทึกการประชมุ 22.3 ในการประชุมตอ้ งมีผ้เู ขา้ ร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากง่ึ หน่งึ ของจำ�นวนสภานกั เรยี น จึงจะครบองค์ประชมุ 22.4 ในการประชุมใหแ้ ถลงผลงานและการเงนิ และท่ีประชุมมสี ิทธ์ิในการซกั ถาม 22.5 ถ้าประธานไมอ่ ยู่ในทปี่ ระชุมให้รองประธานเปน็ ประธานในทป่ี ระชุม หรอื กรรมการ ผแู้ ทนนักเรยี นคนหนงึ่ เป็นประธาน 22.6 การวนิ ิจฉัยช้ีขาดของท่ปี ระชมุ ใหเ้ สยี งข้างมาก 22.7 ผเู้ ข้าประชมุ คนหนง่ึ ให้มีเสยี งหนงึ่ ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสียงเทา่ กนั ให้ ประธานในท่ปี ระชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นเสยี งหนึ่งเป็นเสยี งชีข้ าด ประกาศ ณ วนั ท ่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ลงนาม (นางสาวจงกล เดชปนั้ ) ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์

123 คมู่ อื นกั เรยี นโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ ประกาศโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ เรอ่ื ง มาตรการปอ้ งกันความปลอดภยั และทรพั ย์สนิ สูญหาย ปกี ารศึกษา 2562 ดว้ ยโรงเรียน มนี โยบายท่จี ะก�ำ หนดใหม้ กี ารปอ้ งกนั ความปลอดภัยและทรพั ย์สิน ที่เกิดข้นึ ภายใน โรงเรยี น จึงไดก้ ำ�หนดมาตรการในการดูแลและรบั ผิดชอบของผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง ดังนี้ โรงเรยี น 1. โรงเรยี นท�ำ หนังสือแจง้ ผปู้ กครองให้ก�ำ ชบั ไมใ่ หน้ กั เรียนนำ�สิง่ ของมคี ่ามาโรงเรียน 2. หากพบและจบั ไดว้ ่าขโมยของผอู้ ่นื โดยมหี ลกั ฐานชัดเจนโรงเรยี นจะลงโทษตามระเบยี บของโรงเรยี น และจะสง่ ดำ�เนนิ การตามข้ันตอนของกฎหมาย 3. เชญิ ต�ำ รวจมาเดนิ ตรวจดูความเรียบรอ้ ยเพ่อื เปน็ การปอ้ งปราม 4. กลุ่มบริหารงานบุคคล ประกาศหน้าเสาธง เร่อื งความรับผดิ ชอบของมีค่าของตนเองให้เกบ็ ไวก้ บั ตัว ไมว่ างหา่ งตัวและไมเ่ ก็บไวใ้ นกระเปา๋ นักเรยี น 5. ครูที่ปรึกษาแต่งตั้งนักเรียนในห้องเป็นกรรมการ ระดับห้องๆ ละ 2 คน เป็นสายตรวจ/สายสืบ ประจำ�ห้องเรียน 6. หากไดร้ บั แจง้ วา่ ของมีค่าหรือทรพั ย์สนิ สูญหายใหแ้ จ้งผู้ปกครองเพ่อื ทราบ นกั เรียน 1. ไม่นำ�สิ่งของมีค่ามาโรงเรียนหากจำ�เป็นต้องนำ�สิ่งของมีค่ามาโรงเรียนต้องเก็บไว้กับตัวไม่ใส่ใน กระเป๋านักเรียน 2. ห้ามค้นกระเปา๋ ของผ้อู นื่ และไมน่ ำ�สิ่งของผอู้ ื่นมาเปน็ ของตนเอง 3. ถองรองเท้านักเรียนก่อนขึ้นอาคารเรียน และน�ำ ไปไว้บริเวณหนา้ ห้องเรยี น จดั วางใหเ้ ปน็ ระเบียบ เพือ่ ปอ้ งกันการสับเปลย่ี น สูญหาย ผูป้ กครอง 1. กวดขันไมใ่ ห้นกั เรียนน�ำ ส่ิงของมคี า่ มาโรงเรยี น 2. หากทรัพยส์ ินมคี ่าและที่มเี งินเปน็ จำ�นวนมากเกนิ ความจ�ำ เปน็ เกิดสญู หาย โรงเรยี นจะไม่รับผดิ ชอบ ในความสญู หายดังกลา่ ว เนอ่ื งจากระเบียบโรงเรยี นไมอ่ นุญาตให้นกั เรยี นนำ�ของมคี า่ มาโรงเรยี น 3. อบรมบตุ รหลานไมใ่ ห้น�ำ ส่งิ ของผอู้ นื่ มาเก็บเปน็ ของตนเอง ประกาศ ณ วนั ท่ ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 (นางสาวจงกล เดชป้ัน) ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์

ค่มู ือนกั เรยี นโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 124

125 คู่มอื นักเรยี นโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ กลุ่มบริหารทวั่ ไป กลมุ่ บรหิ ารทัว่ ไป งานส�ำ นกั งานกลุม่ บริหารทวั่ ไป มีหน้าท่ี 1. จัดทำ�แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั ิงานประจำ�ปี และปฏิทินปฏบิ ัตงิ านสำ�นกั งานกลมุ่ บรหิ ารทัว่ ไป 2. ลงทะเบยี นรบั -ส่ง หนงั สอื ราชการของฝ่ายบริหารทัว่ ไป จัดทำ�หนังสือ เอกสารให้หนว่ ย งานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และการติดตามทวงคืน 3. ท�ำ เรอ่ื งการเบิก – จา่ ย วัสดุ อปุ กรณ์ รวมทั้งจัดท�ำ บันทกึ ขออนุมตั ิใช้เงินตามโครงการ / งานในสำ�นกั งานฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป 4. ให้บริการและอ�ำ นวยความสะดวกกับผู้ท่ีมาติดต่อประสานงานกับกลุ่มบริหารท่วั ไป 5. จัดทำ�แฟ้มงานเพ่อื เกบ็ เอกสารตา่ ง ๆของฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป และสรุปงานต่าง ๆ พร้อมทั้ง ท�ำ สถติ ิ การใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ ของฝา่ ยบริหารทวั่ ไป 6. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปญั หา อปุ สรรค ในการปฏบิ ตั ิงานเสนอฝ่ายบริหารท่วั ไปและผอู้ �ำ นวย การเพ่อื ปรบั ปรุงและพฒั นางาน 7. ติดตาม ประเมินผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน 8. งานอื่น ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย งานอาคารเรียน – อาคารประกอบ มหี นา้ ท่ี 1. จัดทำ�แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ตั ิงานประจำ�ปีและปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานของงานอาคาร เรยี น-อาคารประกอบ 2. จดั ทำ�ระเบยี บแนวปฏิบตั ิการใชอ้ าคารสถานท่ี การใช้นำ�้ การใชไ้ ฟฟา้ การดูแลและซอ่ ม อาคารสถานท่ี ครภุ ณั ฑ์ โต๊ะ เกา้ อ้ี ฯลฯ ใหอ้ ยู่ในสภาพเรียบรอ้ ย พรอ้ มใชง้ าน 3. ควบคมุ นกั การภารโรงใหป้ ฏิบัติหน้าท่ตี ามระเบียบและแนวปฏิบตั ทิ ่ีวางไว้ 4. จัดบริการและควบคมุ ดแู ลรกั ษา จดั ซอ่ มส่ิงอ�ำ นวยความสะดวก ระบบสาธารณปู โภค 5. จดั ใหม้ ีป้ายชอ่ื บอกอาคารและห้องเรยี นต่างๆ 6. จัดใหม้ รี ะบบรกั ษาความปลอดภัยของอาคารสถานที่ มถี ังดับเพลิงทุกอาคาร/ทุกช้ัน

คู่มือนกั เรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 126 7. ศึกษาวิเคราะห์ ปัญหา อปุ สรรค ในการปฏบิ ัติงานเสนอฝ่ายบรหิ ารท่วั ไป และ ผอู้ ำ�นวยการ เพอ่ื ปรบั ปรงุ และพฒั นางาน 8. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน 9. งานอนื่ ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย งานบา้ นพักครู – บ้านพกั นกั การภารโรง มหี นา้ ที่ 1. จัดทำ�แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัติงานประจ�ำ ปี และปฏทิ นิ ปฏบิ ัติงานของงาน บา้ นพกั ครู – บ้านพักนกั การภารโรง 2. จัดทำ�ระเบียบแนวปฏบิ ัติการเข้าบ้านพักครู และบา้ นพักนักการภารโรงและแจ้งให้ครู หรือบคุ ลากร นกั การภารโรงที่ใช้เข้าพกั ในบ้านพกั ครู – บา้ นพักนกั การภารโรง ทราบระเบียบ และ แนวทางปฏบิ ัติ 3. จัดงบประมาณในการซอ่ มแซม ดแู ล รกั ษา บา้ นพกั ครู - บ้านพักนักการภารโรง ให้ อยู่ในสภาพดี สามารถใชเ้ ป็นทีอ่ ยู่อาศยั ได้ 4. จัดบรกิ ารดูแลเรอ่ื งระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา ใหส้ ามารถใช้การได้ปกติ 5. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปญั หา อุปสรรค ในการปฏบิ ตั ิงาน เสนอฝา่ ยบริหารทั่วไป และ ผ้อู ำ�นวยการเพื่อปรบั ปรุงและพฒั นางาน 6. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏิบัตงิ าน 7. งานอ่ืนๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย งานสาธารณูปโภค มีหน้าที่ 1. จดั ท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ตั ิงานประจ�ำ ปแี ละปฏทิ นิ ปฏบิ ัติงานของงานส่งเสริม ภูมทิ ศั น์ 2. จัดทำ�ระเบียบ แนวปฏบิ ตั ใิ นการใช้ ไฟฟ้า นาํ้ ประปา ในโรงเรยี นและแจ้งให้ครู บุคลากร และนกั เรียนทราบ 3. จดั โครงการ/กจิ กรรมเพอื่ การประหยดั นา้ํ ประหยดั ไฟและการดแู ลรกั ษาเพอ่ื ผลประโยชน์ ต่อส่วนรวม 4. จัดงบประมาณในการซ่อมแซม ดแู ล รกั ษา ระบบสาธารณปู โภคในโรงเรียนและจัดสรร งบประมาณในการเปล่ยี นสารกรองนาํ้ ตนู้ าํ้ เยน็ ของโรงเรียนทุกจุด เพ่อื ให้นักเรยี นไดบ้ รโิ ภคน้าํ ทีส่ ะอาด อยู่เสมอ

127 ค่มู ือนกั เรยี นโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 5. ดูแลระบบไฟฟ้าของโรงเรียน จัดสรรงบประมาณในการดูแลซอ่ มแซมให้อย่ใู นสภาพ พร้อมใช้งานและมีความปลอดภัยอยู่เสมอ 6. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค ในการปฏบิ ัตงิ าน เสนอฝา่ ยบริหารทั่วไป และ ผู้อ�ำ นวยการ เพ่อื ปรบั ปรงุ และพัฒนางาน 7. ติดตาม ประเมินผล สรปุ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน 8. งานอ่ืนๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย งานลกู จ้างประจำ�และลกู จ้างชว่ั คราว มหี น้าท่ี 1. จดั ท�ำ ระเบยี บ แนวปฏิบตั ิและหนา้ ที่ประจำ�ของลูกจ้างประจ�ำ ลกู จา้ งชวั่ คราว 2. ดแู ละการปฏิบัติหน้าทขี่ องลกู จ้างประจำ� ลกู จ้างชัว่ คราว ให้ปฏิบตั ิหนา้ ที่โดยเคร่งครัด ปฏบิ ัติหน้าทด่ี ้วยความอตุ สาหะ อุทิศเวลาใหก้ บั ทางราชการอยู่เสมอ 3. จดั สรรงบประมาณในการจดั ซ้อื เครอื่ งมือการทำ�ความสะอาดและเคร่อื งมืออ่นื ๆ 4. ดูแลทรพั ยส์ นิ ของโรงเรียน ซง่ึ รวมถึงวสั ดุ ครภุ ัณฑ์ อุปกรณ์เคร่ืองใชท้ ุกชนดิ ทอ่ี ยู่ ภายในและภายนอกอาคารมิใหส้ ูญหาย ซ่อมแซมและรกั ษาทรัพย์สนิ เหลา่ น้นั ใหอ้ ยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี อยู่เสมอ 5. ปฏิบัตงิ านราชการทไ่ี ด้รับมอบหมายพิเศษเป็นคร้งั คราว ท้ังในลกั ษณะเป็นรายบคุ คล และรายกล่มุ 6. ศึกษาวเิ คราะห์ ปัญหา อุปสรรค ในการปฏบิ ตั ิงาน เสนอฝ่ายบรหิ ารทัว่ ไป และ ผู้อ�ำ นวยการเพอ่ื ปรับปรุงและพฒั นางาน 7. ตดิ ตาม ประเมินผล สรปุ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน 8. งานอน่ื ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย งานส่งเสรมิ ภูมิทศั น์ มีหน้าท่ี 1. จัดท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั งิ านประจำ�ปีและปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงานของงานส่งเสริม ภูมทิ ัศน์ 2. จัดบริเวณพน้ื ท่ีโรงเรยี นใหเ้ ปน็ สดั สว่ น ใหม้ ีสถานท่ีเลน่ กฬี า ออกก�ำ ลังกายและพกั ผ่อน ตกแตง่ บริเวณโรงเรียนให้ร่มรน่ื สวยงาม ปลอดโปร่งและเหมาะกบั การใชง้ านในแตล่ ะพื้นท่ี 3. จัดกิจกรรมใหน้ ักเรยี นปลูกฝังจติ สำ�นกึ ให้นักเรียนอนรุ ักษ์พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม 4. จัดบรรยากาศท่ีส่งเสรมิ สนบั สนนุ ด้านวชิ าการ มีแหล่งการเรียนรทู้ ี่หลากหลายและ เอื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้

ค่มู อื นกั เรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ 128 5. บำ�รงุ รักษาบรเิ วณพน้ื ทต่ี ่างๆ ให้มคี วามเปน็ ระเบยี บ ปลอดภัย 6. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปญั หา อุปสรรค ในการปฏบิ ตั ิงานเสนอฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไป และ ผูอ้ ำ�นวยการ เพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนางาน 7. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน 8. งานอน่ื ๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานโภชนาการ มีหนา้ ที่ 1. จัดทำ�แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปแี ละปฏทิ ินปฏบิ ัติงานของงาน โภชนาการ 2. จดั ทำ�ระเบียบและแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจำ�หนา่ ยอาหารและซ้ืออาหารในโรงเรียนของ ผจู้ ำ�หน่ายอาหารและนักเรียนและควบคุมราคาใหอ้ ยู่ในอตั ราที่เหมาะสม 3. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและการเลือกรับประทานอาหารให้กับ นกั เรยี น คร ู บุคลากรและผ้จู ำ�หนา่ ยอาหาร 4. จัดกิจกรรมให้มีการตรวจการปนเปื้อนในอาหาร โดยมกี จิ กรรมชมุ นมุ อย.น้อย และ หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง 5. จัดใหม้ กี ารประเมนิ ผลคณุ ภาพของอาหารท่ีจ�ำ หนา่ ยในโรงอาหารอยา่ งน้อยปีละ 1 ครงั้ 6. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปัญหา อปุ สรรค ในการปฏิบตั ิงานเสนอฝ่ายบริหารทว่ั ไป และ ผู้อ�ำ นวยการ เพ่ือปรบั ปรงุ และพัฒนางาน 7. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน 8. งานอื่นๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานรักษาความปลอดภัยและวนิ ัยจราจร มหี นา้ ท่ี 1. จัดท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบัตงิ านประจำ�ปีและปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานของงานรักษา ความปลอดภัยและวินยั จราจร 2. จดั กิจกรรมเพอ่ื ใหน้ กั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา รถู้ ึงแนวทางปฏบิ ตั ิเมื่อเกิด อบุ ตั ิเหต ุ อบุ ตั ภิ ยั ในโรงเรียน 3. รณรงคว์ นิ ยั จราจร เพอ่ื สร้างจติ ส�ำ นึกในการขบั รถอย่างปลอดภัย 4. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปญั หา อุปสรรค ในการปฏบิ ตั งิ าน เสนอฝ่ายบรหิ ารทั่วไป และ ผอู้ ำ�นวยการ เพือ่ ปรับปรุงและพัฒนางาน

129 คูม่ ือนักเรยี นโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 5. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ัติงาน 6. งานอืน่ ๆ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย งานเทคโนโลยีทางการศึกษา มหี น้าที่ 1. จัดท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัตงิ านประจำ�ปี และปฏิทินปฏบิ ตั ิงานของงาน เทคโนโลยีทางการศึกษา 2. จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ครู บุคลากรทางการศกึ ษาเพ่อื ให้ผลติ ส่ือการเรียนการสอนอยา่ ง ถูกต้องเหมาะสม 3. ดแู ลอปุ กรณ์ โสตทัศนปู กรณ์ในหอ้ งเรียน ใหพ้ ร้อมใช้งานไดเ้ สมอ 4. จัดทำ�ทะเบยี นซ่อมแซมอปุ กรณโ์ สตทศั นปู กรณต์ ามความเหมาะสม 5. ศกึ ษาวเิ คราะห์ ปญั หา อปุ สรรค ในการปฏบิ ัติงานเสนอฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป และ ผอู้ �ำ นวยการ เพ่อื ปรับปรงุ และพัฒนางาน 6. ติดตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ัติงาน 7. งานอื่นๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย งานยานพาหนะ มหี น้าท่ี 1. จดั ท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัติงานประจำ�ปแี ละปฏทิ ินปฏิบตั ิงานยานพาหนะ 2. จัดทำ�ระเบยี บการใชร้ ถยนต์ของโรงเรียน รวมทั้งจดั ทำ�ทะเบยี นการดูแลรกั ษารถยนต์ ของโรงเรียนเพอ่ื การซอ่ มบำ�รงุ ท่ีเหมาะสมตามโอกาส 3. จดั ทำ�ประกันรถยนตต์ ามวาระ 4. จดั ทำ�ทะเบียนการยมื ใชร้ ถโรงเรยี น จดั ทำ�สถิตกิ ารใชร้ ถ 5. จัดทำ�การเบิกจา่ ยคา่ น้าํ มันของรถโรงเรียน รวมทัง้ เบกิ จ่าย คา่ บ�ำ รุงรักษาและค่าซ่อม 6. ศึกษาวเิ คราะห์ ปญั หา อปุ สรรค ในการปฏบิ ตั ิงาน เสนอฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป และ ผู้อำ�นวยการ เพื่อปรบั ปรุงและพฒั นางาน 7. ติดตาม ประเมินผล สรปุ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน 8. งานอนื่ ๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย

คมู่ ือนกั เรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 130 งานชุมชนสัมพันธแ์ ละบริการสาธารณะ มหี นา้ ที่ 1. จดั ท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั ิงานประจำ�ปีและปฏทิ ินปฏิบตั ิงานของงานชมุ ชน สัมพันธแ์ ละบริการสาธารณะ 2. ประสานงานและร่วมกิจกรรมต่างๆ ทชี่ ุมชนจัดข้ึนและใหโ้ รงเรยี นมสี ว่ นรว่ มในชุมชน 3. จดั เกบ็ หลกั ฐาน ผลงาน การสนบั สนนุ กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี นกับชุมชน 4. จัดกิจกรรมการใหบ้ ริการชมุ ชนอย่างต่อเนอ่ื ง ตามวาระโอกาสทเ่ี หมาะสม 5. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปญั หา อปุ สรรค ในการปฏบิ ัตงิ านเสนอฝา่ ยบรหิ ารทว่ั ไป และ ผู้อ�ำ นวยการ เพื่อปรับปรุงและพฒั นางาน 6. ติดตาม ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการปฏิบตั งิ าน 7. งานอน่ื ๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย งานวงโยธวาทติ และดนตรสี ากล มีหน้าที่ 1. จัดท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัตงิ านประจ�ำ ปี และปฏทิ ินปฏบิ ตั งิ านของงาน วงโยธวาทติ และดนตรสี ากล 2. ดำ�เนนิ การสอบคดั เลอื กนกั เรยี นความสามารถพเิ ศษด้านดนตรี 3. จัดกิจกรรมค่ายเพอื่ ฝึกซอ้ มนกั เรียนและปูพื้นฐานด้านดนตรี 4. วางแผนการฝึกซอ้ มเพื่อเข้าร่วมประกวดตา่ งๆ และเพือ่ การดำ�เนนิ งานในโรงเรียนและ ชุมชน 5. จดั ซื้อ ซอ่ ม วัสดุอปุ กรณ์ วงโยธวาทติ 6. จัดท�ำ ทะเบียนวสั ดุ ครุภณั ฑ์ วงโยธวาทิต 7. ศกึ ษาวเิ คราะห์ ปญั หา อปุ สรรค ในการปฏบิ ตั ิงาน เสนอฝ่ายบรหิ ารทั่วไป และ ผอู้ ำ�นวยการเพ่อื ปรบั ปรุงและพฒั นางาน 8. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏิบตั งิ าน 9. งานอ่นื ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย

131 คมู่ อื นกั เรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ งานโสตทศั นศกึ ษา มหี นา้ ท่ี 1. จดั ท�ำ แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบัตงิ านประจำ�ปี และปฏทิ นิ ปฏิบัติงานของงาน โสตทัศนศึกษา 2. จัดท�ำ ระเบยี บการใช้งานห้องโสตทศั นศกึ ษา การให้บริการและการใช้โสตทัศนปู กรณ์ 3. จดั ระบบ และจัดสถานทใ่ี นการเกบ็ รกั ษาวัสดอุ ุปกรณ์ให้มคี วามเหมาะสม สะดวก ปลอดภัย 4. จดั ให้มีการบำ�รุงรักษาและซ่อมแซมโสตทัศนอุปกรณ์อยตู่ ลอดเวลาเพ่ือให้พร้อมใชง้ าน 5. จัดทำ�ทะเบียน วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ เกีย่ วกบั โสตทัศนอุปกรณโ์ ดยเฉพาะ 6. ศึกษาวิเคราะห์ ปัญหา อปุ สรรค ในการปฏิบตั ิงาน เสนอฝา่ ยบริหารทัว่ ไป และ ผู้อำ�นวยการ เพอ่ื ปรบั ปรุงและพฒั นางาน 7. ติดตาม ประเมินผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน 8. งานอ่ืนๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย งานประชาสัมพันธ์ มีหนา้ ที่ 1. จดั ทำ�แผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัติงานประจำ�ปี และปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านของงาน ประชาสมั พนั ธ์ 2. ประชาสมั พันธเ์ สียงตามสายภายในโรงเรียน 3. ประชาสัมพันธผ์ ลงานของนักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน ตามโอกาสต่างๆ ใน หนงั สือพมิ พ์ทอ้ งถนิ่ สถานวี ทิ ยุ และวารสารอนิ ทนิลของโรงเรยี น 4. บนั ทึกภาพกจิ กรรมต่างๆ เพือ่ การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน 5. จัดท�ำ วารสารอินทนลิ ของโรงเรยี น ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 6. จดั ท�ำ หนังสอื ร่นุ ของโรงเรยี น 7. ศกึ ษาวิเคราะห์ ปญั หา อุปสรรค ในการปฏบิ ตั ิงาน เสนอฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป และ ผอู้ �ำ นวยการ เพอ่ื ปรับปรุงและพัฒนางาน 8. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน 9. งานอน่ื ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

คมู่ อื นักเรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 132 งานพยาบาลและอุบตั เิ หตุนกั เรยี น มีหนา้ ที่ 1. จัดท�ำ แผนงาน / โครงการ แผนปฏิบัตงิ านประจ�ำ ปี และปฏทิ ินปฏบิ ัติงานของงาน พยาบาลและอุบตั เิ หตนุ ักเรยี น 2. จดั ท�ำ สถติ ิและข้อมูลทางดา้ นสุขอนามยั เช่น จดั ท�ำ บัตรสุขภาพอนามัย เก็บสถิติ นํ้าหนกั และส่วนสงู ของนกั เรียน จัดท�ำ สมดุ บันทกึ ผมู้ าขอใช้บริการประจำ�ปี จดั ท�ำ สถิติการเจบ็ ป่วยและ ผู้มารับบรกิ ารเป็นรายเดอื น รายปี ทำ�รายงานและสถิติเกี่ยวกบั อบุ ตั เิ หตุท่ีจำ�เปน็ ต้องส่งโรงพยาบาล รวบรวมปัญหาสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ จัดทำ�สถติ ใิ ห้เวชภัณฑ์ทะเบียนสขุ ภาพนกั เรียน 3. จดั หายาและเวชภัณฑย์ าส�ำ หรบั การรักษาพยาบาลเบื้องต้น มีความพร้อมเพื่อให้การ บรกิ ารนกั เรยี นและบุคลากรในโรงเรียน 4. จัดเคร่ืองมอื และเครอ่ื งใช ้ อปุ กรณก์ ารรกั ษาพยาบาลใหพ้ รอ้ มและใชก้ ารไดท้ ันที 5. ดูแลห้องพยาบาลใหส้ ะอาด ถกู สุขลักษณะ 6. ตดิ ต่อประสานงานกบั ผปู้ กครอง ในกรณที ่ีนกั เรียนเจบ็ ป่วย เกดิ อุบัตเิ หตุ 7. ตดิ ต่อประสานงานกับบรษิ ัทประกันชีวติ ทำ�เร่อื งเบกิ จา่ ยเงินประกนั กรณี ครู นักเรยี น และบคุ ลากรในโรงเรยี น เกิดอบุ ตั ิเหตุ หรอื เสยี ชีวิต 8. ศึกษาวเิ คราะห์ ปัญหา อุปสรรค ในการปฏบิ ตั งิ าน เสนอฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไป และ ผู้อ�ำ นวยการ เพอื่ ปรบั ปรงุ และพัฒนางาน 9. ติดตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน 10. งานอนื่ ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย

133 คมู่ อื นกั เรียนโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์

ค่มู ือนกั เรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 134 เพลงระบ�ำ อินทนิล เนื้อเพลง คุณครูพัทธนนั ท์ สุจารี ทำ�นองเพลง คณุ ครูอทุ าน บญุ เมือง ปี่พาทย์บรรเลงเพลงอินทนลิ สองชั้น.................. รอ้ งเนอื้ เพลงอินทนิล ทวยเทพทพิ ย์สถาน พมิ านแก้ว งามเพรศิ แพรว้ ดจุ เพ็ญจรัสรศั มี ดนตรีรบั .................. เจยี รจารจารกึ ชื่อ คอื ตาคลี สถานทส่ี รวงสวรรค ์ ประทานพร ดนตรรี ับ......................... มลังเรอื งเล่ืองช่อื ระบือยศ เกียรติปรากฏขจรไกล ไม่ย่ิงหย่อน ดนตรรี ับ........................... อินทนลิ กลนิ่ กรนุ่ ก�ำ จายจร สถาพร ตาคลปี ระชาสรรค ์ ดนตรรี ับ................. ดนตรีออกดว้ ย เพลงเรว็ เร่ือง (เต่ากินผักบงุ้ ).......จบด้วยลา ……….. เพลงโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ ค�ำ ร้อง...ป.ช่นื ประโยชน์ ขับร้อง...รงุ่ ฤด ี แพง่ ผอ่ งใส ทำ�นอง...เรียบเรยี งเสยี งประสาน (สร้อย) พวกเราตาคลปี ระชาสรรค์ตา่ งหมั่นพากเพยี รเรียนดี ความรูม้ ากมี โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ บอ่ เกิดการศึกษา พวกเราต่างมารวมกัน เตบิ โตทุกวนั เรยี นร้ใู ห้ทันต้องขยนั หมั่นเพยี ร รวมกันเหมอื นนอ้ งเหมือนพี่ สามัคคีเรารกั โรงเรยี น ท่องจำ�ขีดเขยี นเรานักเรยี น เคารพอาจารย์ เติบโตภายหนา้ ใช้วิชาเปน็ หลกั ฐาน ชวี ติ สขุ สำ�ราญ ในบ้านเมอื งเฟ่อื ง คนปญั ญา (สรอ้ ย) โรงเรยี นของเราตาคลี ความรู้ดศี กึ ษาเล่าเรยี น ยุ่งยากพากเพียร มานะเรียน ฝกึ ฝนปญั ญา อนาคตเป็นได้ ความยิ่งใหญข่ จัดปญั หา เรยี นรหู้ ลกั วชิ า มปี ัญญาเหมือนมี ทรพั ยอ์ นันต์ (สรอ้ ย)

135 คู่มือนักเรียนโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ เพลงตาคลปี ระชาสรรคร์ ำ�ลึก เนอื้ รอ้ ง ทำ�นอง...สมชาย มงั คละ เรียบเรียงเสยี งประสาน...สน่นั ตนั หยงทอง ตาคลีประชาสรรคส์ ัมพนั ธไมตรี ทุกชีวรี ่นื รมย ์ เทาแดงแฝงความกลมเกลยี ว ตา่ งปรารมภ์เปรมปรีดิ์ สระบวั งามนกั สลกั ใจรัก ฝากฝังดวงฤดี เทาแดงผองเราน้องพ่ี สามคั คสี ขุ สันต์ สนเอยโอนเอนเดน่ เปน็ ศกั ด์ศิ รี สดุ สรรค์ที่จ�ำ นรร งามเอยแสนงามประชาสรรค์ ตาคลีนัน้ ดั่งมมี นต์ ตาคลีประชาสรรคใ์ ฝฝ่ ันบทเรียน ขยันพากเพียรทกุ คน ท�ำ ดีนำ�หน้า ปวงชน ดลใจไม่ลืมเลย เพลงถนิ่ เราเทา-แดง เนือ้ รอ้ ง...กอบกจิ ส่งศิริ ท�ำ นอง เรียบเรยี งเสยี งประสาน...สน่นั ตันหยงทอง แดนถิ่นน้ีงามกระเด่ืองเมอื งสวรรค ์ สถาบันอนั บรรเจดิ เลิศศกั ดศ์ิ รี ชาวประชาสรา้ งเสรมิ เพม่ิ ทว ี นามตาคลปี ระชาสรรค์อนั วไิ ล ธงเทาแดงดเู ด่นเป็นสง่า ดุจปญั ญาส่องทางสว่างไสว สเี ทาน้นั เปรียบผู้ดมี วี นิ ยั แดงเปรียบได้ผกู้ ล้าหาญหม่นั ฝึกตน มาเถดิ เราเทาแดงร่วมแรงม่นั ช่วยสร้างสรรคค์ วามดใี ห้เกดิ ผล ส�ำ นกึ ในหน้าทเี่ ราเยาวชน ประพฤติตนรกั ศกั ดศิ์ รีมวี นิ ัย ถน่ิ เรานี้นามตาคลปี ระชาสรรค ์ ผกู สมั พนั ธพ์ น่ี อ้ งล้วนผอ่ งใส จะรกั ชาติ ศาสนก์ ษัตรยิ ์เหนืออน่ื ใด ขอเทอดไวค้ งอยู่คู่ฟ้าดิน

ค่มู ือนกั เรียนโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 136 เพลงศักดิ์ศรเี ทา-แดง เนือ้ ร้อง...กอบกจิ ส่งศริ ิ เพื่อศกั ด์ิศรีเทาแดงรว่ มแรงกัน เรียบเรยี งเสียงประสาน...สน่ัน ตันหยงทอง หวังความกา้ วหน้ามาชา้ นาน ยดึ มน่ั ศลี ธรรมประจ�ำ ใจ เรานักเรียนพากเพยี รท�ำ ความด ี ไปดว้ ยใจผกู รักสามัคคี ในดวงใจฝ่าฟนั หม่ันศกึ ษา นานนักรกั ษากนั สบื ไป สร้างสรรค์จรรโลงสถาบนั พร้อมใจร่วมกนั ไม่หวั่นเกรง ไปเถดิ พวกเราก้าวตอ่ ไป จวบจนชพี สลายไม่ลืมเลือน ชอ่ื เสียงสะสมมานานนัก พฒั นาสรา้ งสรรค์สงั คมไทย ยากแค้นล�ำ เค็ญสักเพียงใด เหลอื ไวม้ นั่ คงคอื “ความดี” เป็นบทเพลงเสยี งเพลงจากดวงใจ เทาแดงแห่งน้ที ี่ศกึ ษา ถึงคราวจ�ำ พรากจากกนั ไป เพลงพระคณุ ครู เน้อื ร้อง...เฉลยี ว อินยม้ิ คงไดแ้ กค่ ณุ ครูผูส้ ั่งสอน เรยี บเรียงเสียงประสาน...สน่ัน ตนั หยงทอง แม้เหนือ่ ยอ่อนอยา่ งไรไม่อนี งั หรือเฟ่อื งฟูดงั จิตทีค่ ิดหวงั ผมู้ คี ณุ เป็นสองรองจากแม่ แมก้ ระทั่งจรรยาคอยวา่ เตือน เฝ้าประสาทวิชาไม่อาทร ครกู ็จกั ปล้ืมใจใครจะเหมอื น ขอเพียงศษิ ย์ไดด้ มี คี วามร้ ู ครูคอยเตือนแนะดว้ ยช่วยปรานี มวี ิชาเท่าใดไม่ปดิ บัง ส่องเป็นแนวนำ�ศษิ ย์สวู่ ถิ ี ถ้าศษิ ย์ดมี ียศฐาบรรดาศักด์ ิ สบิ น้ิวน้ขี อนอบนบเคารพครู ถา้ ศิษย์เลวไม่จำ�ทำ�แชเชือน ครูจงึ เปรยี บไดเ้ ปน็ เชน่ ดวงแก้ว ให้โชตชิ ่วงชชั วาลเนิน่ นานป ี

137 คมู่ ือนักเรียนโรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ เพลงลานโพธ์ิจำ�ลา เนอื้ รอ้ ง ทำ�นอง และเรียบเรยี งเสยี งประสาน แสงดาวสุกใสพรา่ งพราวนภา สมชาย มังคละ ดุจดวงชวี าจ�ำ ลาอาลัย ณ ที่แห่งนต้ี ิดตรึงฤทัย เดอื นเคลอ่ื นคลอ้ ยลอยไป พริ พี้ ไิ รพรํ่าเพรียกเรียกหา เทาแดงนั้นคอื ดวงหนา้ เทพใดหนอปั้นสมั พันธอ์ ุรา ลา ลาแลว้ ตาคล ี มวลพฤกษาเพลินตาตดิ เตือน โพธ์งิ ามชชู ่อแกว่งไกว ยามพรากจากกันไมข่ อลืมเลือน ตาคลปี ระชาสรรค ์ คอยพรํ่าเตอื นเป็นเพ่อื นคู่ใจ รืน่ ร้วิ ลมโชยพลิว้ มา ลาร่มโพธสิ์ ขุ สนั ต์ เทาแดงหาใดเปรยี บเหมอื น เพลงปณธิ านเทา-แดง เนอื้ ร้อง...นุช ม่วงเก่า รน่ื อารมณ์ “จันทรา” สง่าไฉน ทำ�นอง...สน่นั ตนั หยงทอง “ชลธารา”สดใสไมแ่ พก้ ัน เรียบเรยี งเสยี งประสาน...สนน่ั ตันหยงทอง รว่ มศรทั ธาสอดประสานสมานฉนั ท์ มุ่งสรา้ งสรรคค์ นดศี รแี ผ่นดิน “สรุ ิยนั ” เจดิ จา้ สงา่ สม “รกั ศักดศิ์ ร”ี หมูค่ ณะเร่งถวิล “ธราดล” ชมุ่ ช่ืนเหนอื อนื่ ใด จะยังถ่นิ เทาแดงกลา้ แกรง่ นัก “นภาลัย” ไกลกว้างทางขา้ งหนา้ พลใี จกายเอาชนะอุปสรรค หลอ่ หลอมจิตวญิ ญาณมานานครนั จะเป็นหลกั รอท่าอนาคต พึงจดจ�ำ “สำ�นกึ ในหนา้ ที”่ “มีวินยั ”โดดเดน่ เป็นอาจิณ “บณั ฑิตยอ่ มฝกึ ตน” เร่งขวนขวาย เกยี รตศิ รทั ธา บารมี ทพ่ี ร้อมพรัก

คมู่ อื นกั เรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 138 คำ�สง่ั โรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ ที่ 33/2562 เรือ่ ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทำ�คู่มอื นักเรยี นและผปู้ กครอง ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2562 ตามที่โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ ไดด้ �ำ เนินการรับนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 และ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เขา้ ศกึ ษาตอ่ ในโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2562 น้ัน เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการตดิ ตอ่ สือ่ สารระหวา่ งโรงเรียน นกั เรียนและผู้ปกครอง และเป็นแนวปฏบิ ัตติ น ของนักเรยี นใหม ่ ในการน้ ี โรงเรียนจึงจดั ทำ�คมู่ อื นกั เรยี นและผู้ปกครองขึ้น และเพื่อใหก้ ารจดั ท�ำ คมู่ ือ นักเรียนและผปู้ กครอง ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2562 เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ อาศยั อำ�นาจตามความใน มาตรา 39 แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 27 แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 จงึ ขอแตง่ ตั้งคณะ กรรมการด�ำ เนนิ การ ดังน้ี ก. คณะกรรมการอ�ำ นวยการ 1. นางสาวจงกล เดชป้ัน ประธานกรรมการ 2. นายพจนลกั ษณ ์ ชยู อด รองประธานกรรมการ 3. นางกนกรตั นา นันทมนตรี กรรมการ 4. นางผอูนรัตน ์ อินชูพงษ์ กรรมการ 5. นางสาววนิดา บ�ำ รุงพงษ ์ กรรมการและเลขานกุ าร มหี นา้ ที่ ให้คำ�ปรึกษาและอ�ำ นวยความสะดวก แกป้ ญั หา ตดิ ตามการดำ�เนนิ งานใหเ้ ปน็ ไป อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. คณะกรรมการด�ำ เนนิ งาน 2.1 คณะกรรมการจดั เตรยี มข้อมลู เอกสาร กรรมการประกอบดว้ ย กลุ่มบริหารวิชาการ 1. นายพจนลักษณ ์ ชูยอด ประธานกรรมการ 2. นายสามารถ มนั่ ปาน รองประธานกรรมการ 3. นางพิมพ์พรรณ หนูเมืองธ�ำ รง กรรมการ 4. นางสาวสรุ างค์ วีรสุเมธา กรรมการ 5. นางพรหมภัสสร ฐติ ิลือสาคร กรรมการ

139 คมู่ อื นักเรียนโรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ 6. นายบุญโชค ไตรคีรสี ถติ กรรมการ 7. นางมาล ี สรุ ยิ ะ กรรมการ 8. นางอไุ รวรรณ พรนอ้ ย กรรมการ 9. นางกนกภรณ ์ นิลสนธิ กรรมการและเลขานุการ กลมุ่ บริหารงานบุคคล 1. นางสาววนิดา บำ�รุงพงษ ์ ประธานกรรมการ 2. นางอารวี รรณ ชมุ่ วจิ ารณ ์ รองประธานกรรมการ 3. นางทักษณิ า เหลืองทวผี ล กรรมการ 4. นายวิศนุกร ศรโี ยธา กรรมการ 5. นางภัทรธิราภรณ ์ เบญจมาภา กรรมการและเลขานุการ กลุ่มบริหารงบประมาณ 1. นางผอนู รตั น ์ อินชพู งษ ์ ประธานกรรมการ 2. นางวราภรณ์ จันทร์เหลอื รองประธานกรรมการ 3. นายฉัตรชยั พูนสวุ รรณ กรรมการ 4. นางพรทิพย์ ปญั จมณี กรรมการและเลขานกุ าร กลุ่มบริหารทวั่ ไป 1. นางกนกรัตนา นนั ทมนตรี ประธานกรรมการ 2. นายพงษ์เทพ น่มิ ตลงุ รองประธานกรรมการ 3. นางเสาวลักษณ ์ น่มิ ตลงุ กรรมการ 4. นางพณาวรรณ พิณเสนาะ กรรมการ 5. นายอนนั สนเทียนวัด กรรมการและเลขานกุ าร มีหนา้ ท ี่ รวบรวมข้อมูลทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั และแนวทางในการ ปฏบิ ัติงานภายในกลุ่มบรหิ ารฯ เพอ่ื จัดส่งใหค้ ณะกรรมการจัดท�ำ รูปแบบเล่ม “คู่มือนกั เรยี นและ ผปู้ กครอง ปกี ารศึกษา 2562” 2.2 คณะกรรมการจดั ท�ำ รปู เล่ม “คูม่ อื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปีการศกึ ษา 2562” กรรมการประกอบดว้ ย 1. นางสาววนิดา บ�ำ รุงพงษ ์ ประธานกรรมการ 2. นางสจุ ติ รา แสงสนธ ิ์ รองประธานกรรมการ 3. นางภทั รธริ าภรณ ์ เบญจมาภา กรรมการ 4. นางสาวรชั ธิรส หาทรัพย ์ กรรมการ 5. นางสาวสุดารตั น ์ สุขสาสน ี กรรมการ 6. นายชลัมพล สาลขี าว กรรมการ (นักเรียนชนั้ ม.6/9)

คู่มอื นกั เรยี นโรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ 140 7. นายคุณานนต ์ ปัน้ จอม กรรมการ (นักเรยี นชน้ั ม.6/8) 8. นายอนัน สนเทียนวัด กรรมการและเลขานกุ าร มีหนา้ ที ่ 1. จัดเตรยี มต้นฉบบั โดยรวบรวมขอ้ มลู ของกลมุ่ บรหิ าร 4 กลุม่ 2. จัดหารูปกิจกรรมโรงเรียน และออกแบบรูปเลม่ “คู่มอื นักเรียนและ ผ้ปู กครอง ปกี ารศึกษา 2562” 3. จดั เรียงล�ำ ดับเน้ือหาต้นฉบับ 4. ประสานงานกบั โรงพิมพ์ เพือ่ จัดสง่ ตน้ ฉบบั และจดั พมิ พค์ ู่มือฯ จำ�นวน 1,000 เล่ม 5. อ่นื ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย 2.3 คณะกรรมการตรวจสอบตน้ ฉบับ กรรมการประกอบด้วย 1. นางทกั ษณิ า เหลืองทวผี ล ประธานกรรมการ 2. นายอ�ำ นาจ เสียงสวัสดิ ์ รองประธานกรรมการ 3. นางสาวปพิชญา วชิ าสิทธ ิ์ กรรมการ 4. นางสาวสดุ ารัตน์ สุขสาสนี กรรมการ 5. นางสาวจฑุ ารัตน ์ เสนาธรรม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ และความถูกต้องของต้นฉบับ 2. อนื่ ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 2.4 คณะกรรมการฝ่ายการเงินและจดั จ้าง กรรมการประกอบด้วย 1. นายฉัตรชัย พูนสวุ รรณ ประธานกรรมการ 2. นางสาวสญั ศนยี ์ สุรยิ ะ รองประธานกรรมการ 3. นางทกั ษิณา เหลอื งทวผี ล กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้าท่ี 1. จัดหาผรู้ บั จา้ ง เพือ่ จดั พิมพ์คมู่ ือ ตามระเบียบพสั ดฯุ 2. รบั – จ่าย และจดั ทำ�บัญชี ตามระเบียบฯ 3. รายงานผลให้ผ้บู รหิ ารทราบ 4. อ่ืนๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย ขอใหผ้ ้ทู ่ไี ดร้ ับแต่งต้งั ตามคำ�ส่ังนี้ ปฏิบัตหิ น้าท่ที ี่ได้รบั มอบหมายอยา่ งเตม็ ความสามารถ เพ่ือให้ เกดิ ผลดีแกท่ างราชการสืบไป ส่งั ณ วันท่ี 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (นางสาวจงกล เดชป้ัน) ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนตาคลีประชาสรรค ์ กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook