Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลำ ดับความคิดต่อเนื่อง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาแบบฉับพลันและรุนแรง ซึ่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาขึ้นมาบนผิ

ลำ ดับความคิดต่อเนื่อง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาแบบฉับพลันและรุนแรง ซึ่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาขึ้นมาบนผิ

Description: ลำ ดับความคิดต่อเนื่อง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาแบบฉับพลันและรุนแรง ซึ่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาขึ้นมาบนผิ

Search

Read the Text Version

หนังสื่อ ธรณีพิบัติภัย (Geohazard)

คำนำ ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทางสภาวะแวดล้อมของโลกที่เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัย ธรรมชาติหรือ เกิดจากการกระทำาของมนุษย์ ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาทางกายภาพ หรือภัยพิบัติต่างๆ เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง ตลอดจนภัยพิบัติอื่นๆ ก่อให้เกิดผลกระทบ ทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก การจัดทำแผนเตรียมรับสถานการณ์ภัยพิบัติด้านการเกษตร จังหวัดจันทบุรี ปี2562/63 มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการดำเนินงานป้องกันและลด ความเสี่ยงจากภัยพิบัติด้านการเกษตร ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดจันทบุรี ให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเจ้าหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลือ เพื่อบรรเทา ความ เดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยพิบัติด้านการเกษตรด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และสามารถฟื้นฟู พื้นที่การเกษตรให้กลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ว และเพื่อเป็น ประโยชน์กับหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ในจังหวัดจันทบุรี ด้านกา รบูรณาการงานในพื้นที่ร่วมกัน ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร จังหวัดจันทบุรี หวังเป็น อย่างยิ่งว่า แผนเตรียมรับสถานการณ์ภัยพิบัติด้านการเกษตร จังหวัดจันทบุรี ปี 2562/63 เล่มนี้ จะเป็นเครื่องมือ ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ด้านการเกษตรได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และถูกต้องตามระเบียบราชการ

สารบัญ การวิเคราะห์ตัวชี้วัด 1 ลำดับความคิดต่อเนื่อง 2 3 สึนามิ 4 แผ่นดินไหว 5 6 ภูเขาไฟ ผู้จัดทำ

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด 1 ตัวชี้วัด 1. อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยง ภัย ออกแบบและ นำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย 2. อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวม ทั้งสืบค้น ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติ ตนให้ปลอดภัย 3. อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบ และนำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสาเหตุและกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด 2. สืบค้นและนำ เสนอข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย และผลจากการเกิดภูเขาไฟระเบิด 3. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก ภูเขาไฟ ระเบิด 4. อธิบายสาเหตุกระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว 5. สืบค้นและนำ เสนอข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย และผลจากการเกิดแผ่นดินไหว 6. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก แผ่นดินไหว 7. อธิบายสาเหตุและกระบวนการเกิดสึนามิ 8. สืบค้นและนำ เสนอข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย และผลจากสึนามิ 9. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนำ เสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจาก สึนามิ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวิทยาศาสตร 1. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง 1. การจัดกระทำ และสื่อความ สเปซกับสเปซ และสเปซกับ 1. ความมีเหตุผล หมายข้อมูล เวลา 2. ความใจกว้าง 3. ความรอบคอบ 2. การหาความสัมพันธ์ระ หว่าง 2. การสร้างแบบจำ ลอง 4. ความสร้างสรรค์ 5. ความสนใจ ในวิทยาศาสตร์ สเปซ กับสเปซ 3. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ความเห็นคุณค่าทาง 3. การสร้างแบบจำ ลอง 4. การสื่อสาร วิทยาศาสตร์ 5. การทำ งานร่วมกัน 6. การคิดและการแก้ปัญหา

ลำดับความคิดต่อเนื่อง 2 ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาแบบฉับพลันและรุนแรง ซึ่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาขึ้นมาบนผิวโลกตามช่องว่างหรือรอยแตกของเปลือกโลกโดยส่วนใหญ่จะมีตำ แหน่งสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากันหรือแนวมุดตัวของแผ่นธรณีและยังมีภูเขาไฟที่เกิดขึ้นในบริเวณแผ่นธรณีแยกตัว ภูเขาไฟในบาง บริเวณอาจเกิดจากการแทรกดันของแมกมาจากจุดร้อนที่บริเวณกลางแผ่นธรณี ภูเขาไฟระเบิดส่งผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ในบางครั้งส่งผลกกระทบอย่างรุนแรงและเป็นบริเวณกว้าง ดังนั้นการสร้างระบบเตือนภัย และแนวการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภูเขาไฟระเบิด จึงมีความจำ เป็นอย่างยิ่ง แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากเมื่อแผ่นธรณีเคลื่อนที่จะเกิดการเสียดสีและ/หรือชนกันระหว่าง แผ่นธรณีสองแผ่น หินจะสะสมพลังงานไว้จนกระทั่งเกิดการแตกหักและเคลื่อนตัวอย่างกระทันหันและปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของ คลื่นไหวสะเทือน ทำ ให้พื้นผิวโลกเกิดการสั่นสะเทือน และอาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้อีก เช่น ภูเขาไฟระเบิด การทดลองระเบิดนิวเคลียร์เมื่อ เกิดแผ่นดินไหวคลื่นไหวสะเทือนที่ถูกปลดปล่อยออกมาจะเคลื่อนที่จากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวไปทุกทิศทุกทาง ทำ ให้บริเวณต่าง ๆ ได้รับผลก ระทบไม่เท่ากัน บริเวณบนพื้นผิวโลกที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นจุดบนพื้นผิวโลกที่อยู่เหนือ บริเวณศูนย์เกิดของแผ่นดินไหวภายในโลก ปริมาณของพลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของการสั่นสะเทือนที่ส่งผ่านมายังผิวโลก สังเกตได้จากค่าแอมพลิจูดของคลื่นแผ่นดิน ไหวที่ตรวจวัดได้และนำ มาคำ นวณเป็นขนาดของแผ่นดินไหวขนาดของแผ่นดินไหวรายงานโดยใช้มาตราริกเตอร์และมาตราขนาดโมเมนต์ แผ่นดินไหว สึนามิมักจะเกิดขึ้นบริเวณชายฝั่งโดยรอบของมหาสมุทรแปซิฟิกเนื่องจากมีแนวรอยต่อของ แผ่นธรณีเป็นทางยาวหรือที่รู้จักกันในชื่อ วงแหวน ไฟ ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดการมุดตัวของแผ่นธรณี และทำ ให้เกิดแผ่นดินไหวได้และอาจเกิดสึนามิถ้าเหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าว เกิดการ เลื่อนตัวของ เปลือกโลกในแนวดิ่ง สึนามิเป็นคลื่นที่มีลักษณะเฉพาะตัวโดยในบริเวณที่ความลึกของมหาสมุทรมาก ๆ สึนามิจะมี ความสูงคลื่นน้อย แต่มีความยาวคลื่นมากและ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง เมื่อเคลื่อนเข้าสู่บริเวณน้ำ ตื้น ความยาวคลื่นและความเร็วคลื่นจะลดลงแต่ความสูงคลื่นเพิ่มขึ้นทำ ให้เกิดคลื่นขนาด ใหญ่ปะทะเข้า กับแผ่นดิน สึนามิทำ ให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหายจำ นวนมาก นอกจากนี้ยังทำ ให้เกิดความเสียหายแก่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งในด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก

สึนามิ 3 จุดกำเนิดคลื่นสึนามิ คลื่นสึนามิ คลื่นสึนามิ (Tsunami) เป็นคลื่นที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหว แต่คลื่น คลื่นสึนามิมีจุดกำเนิดจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวบริเวณเขต ผิวน้ำที่เรารู้จักกันทั่วไปเกิดจากแรงลมพัด พลังงานจลน์จากอากาศถูก มุดตัว (Subduction zone) ซึ่งอยู่บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี ถ่ายทอดสู่ผิวน้ำทำให้เกิดคลื่น ขนาดของคลื่นจึงขึ้นอยู่กับความเร็วลม เคลื่อนที่เข้าหากัน (Convergent plate boundary) เมื่อแผ่น หากสภาพอากาศไม่ดีมีลมพายุพัด คลื่นก็จะมีขนาดใหญ่ตามไปด้วย ใน ธรณีมหาสมุทรเคลื่อนปะทะกัน หรือชนเข้ากับแผ่นธรณีทวีป สภาพปกติคลื่นในมหาสมุทรจะมีความสูงประมาณ 1 - 3 เมตร แต่คลื่น แผ่นมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแน่นจะจมตัวลงสู่ชั้นฐานธรณีภาค สึนามิเป็นคลื่นยักษ์มีขนาดใหญ่กว่าคลื่นผิวน้ำหลายสิบเท่า ทำให้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ระดับลึกดังภาพที่ 1 พลังงานจลน์จากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทรถูกถ่ายทอดจากใต้เปลือกโลก ถูกถ่ายทอดขึ้นสู่ผิวน้ำ แล้วขยายตัวทุกทิศทุกทางเข้าสู่ชายฝั่ง คำว่า “สึ” เป็นภาษาญี่ปุ่นแปลว่าท่าเรือ \"นามิ\" แปลว่าคลื่น ที่เรียกเช่นนี้เป็นเพราะ ชาวประมงญี่ปุ่นออกไปหาปลา พอกลับมาก็เห็นคลื่นขนาดยักษ์พัด ทำลายชายฝั่งพังพินาศ ระบบแจ้งเตือนคลื่นสึนามิ ภาพที่ 1 แผ่นธรณีมหาสมุทรปะทะกัน ระบบแจ้งเตือนคลื่นสึนามิระบบแรกของโลกถูกจัดตั้งขึ้นหลังจาก เมื่อเปลือกโลกใต้มหาสมุทร ยุบตัวลงเป็นร่องลึกก้นสมุทร อุบัติภัยที่หมู่เกาะฮาวาย ในปี พ.ศ.2489 ประเทศสหรัฐอเมริกาจัดตั้ง (Oceanic trench) น้ำทะเลที่อยู่ด้านบนก็จะไหลยุบตามลงไปด้วย “ศูนย์แจ้งเตือนคลื่นสึนามิแปซิฟิก” (Pacific Tsunami Warning ดังภาพที่ 2 น้ำทะเลในบริเวณข้างเคียงมีระดับสูงกว่า จะไหลเข้ามา Center) หรือ PTWC โดยมีติดตั้งสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวจำนวน 50 แทนที่แล้วปะทะกัน ทำให้เกิดคลื่นสะท้อนกลับในทุกทิศทุกทาง แห่ง รอบมหาสมุทรแปซิฟิก ระบบทำงาน โดยการตรวจจับคลื่นไหวสั่น (เหมือนกับการที่เราขว้างก้อนหินลงน้ำ) ดังภาพที่ 2 สะเทือน ซึ่งเดินทางรวดเร็วกว่าคลื่นสึนามิ 15 เท่า ข้อมูลที่ตรวจวัดได้จาก ทุกสถานีถูกนำรวมกัน เพื่อพยากรณ์หาตำแหน่งที่มีความเป็นไปได้ที่จะเกิด คลื่นสึนามิ เมื่อคลื่นสึนามิถูกตรวจพบ ระบบจะแจ้งเตือนเมืองที่อยู่ชายฝั่ง รวมทั้งประมาณเวลาสถานการณ์ที่คลื่นจะเข้าถึงชายฝั่ง เพื่อที่จะอพยพ ประชาชนไปอยู่ที่สูง และให้เรือที่จอดอยู่ชายฝั่งเดินทางสู่ท้องทะเลลึก ณ ที่ ซึ่งคลื่นสึนามิส่งไม่ส่งผลกระทบอันใด อย่างไรก็ตามระบบเตือนภัยนี้ สามารถทำการแจ้งเตือนล่วงหน้าเพียงไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น การอพยพผู้คนมัก ทำได้ไม่ทันท่วงทีเนื่องจากคลื่นสึนามิเดินทางรวดเร็วมาก ภาพที่ 2 การเกิดคลื่นสึนามิ ภาพที่ 5 ระบบแจ้งเตือน DART





ผู้จัดทำ 6 นาย พิสิษฐ์ บุญไธสง ม.6/4 เลขที่7 นายวุฒิชัย บุญยืย 6/4 เลขที่ 13 นายธำรงชัย ฉาไธสง ม.6/4 เลขที่17 นายดนุพร แก้วจุมพล ม.6/4 เลขที่17 นายกิตติศักดิ์ สมบัติบูรณ์ ม.6/4 เลขที่18