Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

Published by Yuthika Kantho, 2021-09-07 09:16:54

Description: เศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

สรุปผลการจัดกิจกรรม ก โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมัยกับยุค EEC สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปงี บประมาณ 2564 (ไตรมาส1-2) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ นั สมัยกบั ยคุ EEC ในวนั ที่ 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ณ แหลง่ เรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง หมทู่ ี่ 7 ตาบลหนองขยาด อาเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี วทิ ยากรใหค้ วามรู้ โดย นางอาพร แซต่ ๊ัน กศน.ตาบลโคกเพลาะ กศน.ตาบลไรห่ ลักทองและกศน.ตาบลนาวังหิน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนสั นคิ ม สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบรุ ี กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจดั กจิ กรรม ข โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกับยุค EEC คานา กศน.ตาบลโคกเพลาะ กศน.ตาบลไร่หลักทองและกศน.ตาบลนาวังหนิ สังกดั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนัสนิคม ได้จัดทาโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมัย กับยุค EEC โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการใช้พ้ืนท่ีอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมทั้ง สง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามแนวทางปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีการสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่าการดาเนินโครงการ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคท์ ีก่ าหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทาเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเสนอต่อผู้บริหาร ผู้เก่ียวข้องเพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาการดาเนินโครงการให้ดีย่ิงขึ้น คณะผู้จดั ทา ขอขอบคุณผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอ พนสั นิคม ท่ใี หค้ าแนะนา คาปรึกษา ในการจัดทาสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในคร้งั นี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการนาไปใช้ในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ต่อไป ยูถกิ า คันโธ ครู กศน.ตาบล กรกฎาคม 2564 กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กจิ กรรม ก โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมัยกับยุค EEC สารบญั หน้า ก หวั เร่อื ง คานา ข สารบญั ค สารบญั ตาราง บทท่ี 1 บทนา 1 1 - หลักการและเหตุผล 1 - วตั ถปุ ระสงค์ - เปูาหมายการดาเนินงาน 1 - ผลลพั ธ์ 2 - ตวั ชีว้ ดั ผลสาเร็จของโครงการ บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง 2 - กรอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 - เอกสาร/งานทเี่ ก่ียวข้อง 3 บทที่ 3 วิธดี าเนนิ งาน บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 3 บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 10 ภาคผนวก - แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 13 - โครงการอบรมให้ความรแู้ ละฝึกปฏิบัตกิ าร “โคก หนอง นา โมเดล” 18 - แบบประเมินผรู้ ับบริการ - ภาพประกอบการจัดกจิ กรรม - หนังสือเชญิ วิทยากร คณะผูจ้ ัดทา กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกิจกรรม ข โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมัยกบั ยุค EEC สารบญั ตาราง ตารางท่ี รายละเอยี ด หน้า 1 ผู้เขา้ ร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามเพศ 13 2 13 3 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามอายุ 14 4 ผ้เู ข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามอาชีพ 14 5 14 6 ผู้เขา้ รว่ มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามระดบั การศึกษา 15 7 แสดงคา่ รอ้ ยละเฉล่ียความสาเรจ็ ของตัวชีว้ ัด ผลผลติ ประชาชนทัว่ ไป 15 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 8 16 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ 9 ด้านการบรหิ ารจัดการ 16 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้/การอบรม คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านประโยชน์ทไ่ี ด้รบั กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 1 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมัยกบั ยคุ EEC บทท่ี 1 บทนา หลกั การและเหตผุ ล โครงการพฒั นาระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) เป็นแผน ยุทธศาสตร์ภายใตน้ โยบายไทยแลนด์ 4.0 เพ่ือยกระดบั ประเทศให้มคี วามเป็นอยู่ทดี่ ีข้ึน เปลีย่ นผ่านประเทศไทยจาก ประเทศท่มี รี ายไดป้ านกลางไปสู่ประเทศทมี่ รี ายได้สงู ด้วยการลงทุนดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ การพัฒนาประเทศอย่างมัน่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยนื ทงั้ น้ี รัฐบาลไดเ้ รง่ ผลักดนั โครงการพฒั นาระเบยี งเศรษฐกิจพเิ ศษ ภาคตะวันออกที่ตอ่ ยอดความสาเร็จมาจากแผนพฒั นาเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรอื Eastern Seaboard มีการ ครอบคลมุ พน้ื ที่ 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบรุ ี และฉะเชงิ เทรา เนือ่ งจากมคี วามพรอ้ มในการเปน็ เมอื งทอ่ งเทยี่ วใน อนั ดับต้นๆ ของโลก มรี ะบบโครงสร้างพน้ื ฐานที่มคี วามพร้อม และดว้ ยลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ทีต่ ั้งสามารถเช่อื มโยง กบั ประเทศเพื่อนบา้ นได้ โดยเฉพาะในกลมุ่ CLMV ซ่ึงขณะนภ้ี าครฐั อยรู่ ะหว่างการปรบั แกก้ ฎหมายและกฎระเบียบ ต่าง ๆ ทเี่ อ้อื อานวยต่อการลงทุน และจะผลกั ดันใหเ้ กิดการลงทุนในรูปแบบคล้ายกับ EEC ในภูมิภาคตา่ ง ๆ ทั้ง ภาคเหนือ ภาคใตแ้ ละภาคตะวนั ตกของประเทศไทย พืชสมุนไพรเปน็ ส่งิ ท่ีอย่คู คู่ นไทยมานับพนั ปีแต่เม่ือการแผนปัจจบุ ันเร่ิมเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา สรรพคณุ และคณุ ค่าของสมนุ ไพรไทยอนั เปน็ สิ่งทเี่ รียกได้วา่ ภมู ปิ ัญญาโบราณก็เรมิ่ ถูกบดบังไปเรอื่ ย ๆ และถูกทอดทิ้งไปใน ทีส่ ดุ ซง่ึ ความเปน็ จริงคนส่วนใหญ่ก็พอรกู้ นั ว่า สมนุ ไพรไทยเปน็ สิ่งท่มี คี ณุ ค่าใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง และใช้ไดอ้ ยา่ ง กวา้ งขวางแตเ่ ปน็ เพราะเราใชว้ ิธรี กั ษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทยแ์ ผนโบราณทีม่ สี มุนไพรเปน็ ยาหลกั ถกู ลมื จนตอ่ ไม่ติด ทาให้เยาวชนรุ่นหลัง ๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมากและแทบจะไมร่ ู้จกั เลยทง้ั ๆ ที่สมุนไพร เหลา่ น้นั อยใู่ กล้ ๆ ตวั เรานีเ้ อง การใช้สมนุ ไพรในการดแู ลสุขภาพ เปน็ หนึง่ ในภูมปิ ัญญาไทยทีส่ ืบทอดกันมา ซึง่ มี หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ทร่ี ะบุถงึ การใช้พชื พรรณสมุนไพรตงั้ แตส่ มัยพุทธกาล การนาสมุนไพรมาใชไ้ ด้ท้งั ในแง่ การนามารบั ประทานเปน็ อาหาร เช่น การรับประทานพืชผกั หรอื นามาประกอบเป็นอาหาร นอกจากนัน้ ยังนามาใช้ เปน็ ยารักษาโรคเวลาเกดิ อาการเจ็บปวุ ยได้ จากเหตุผลดังกล่าว กศน.ตาบลโคกเพลาะ กศน.ตาบลไรห่ ลักทองและกศน.ตาบลนาวังหิน สงั กดั ศูนย์ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสาคัญ จึงไดจ้ ดั ทาได้ ดาเนินการจัดทาโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กับยุค EEC ขึน้ วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้และเขา้ ใจการแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัยกบั ยุค EEC 2. เพื่อให้ผู้เข้ารบั การอบรมสามารถนาความร้ไู ปพฒั นาชุมชนให้มคี วามเข้มแขง็ ได้ เปา้ หมาย ดา้ นปริมาณ 1.ประชาชนตาบลโคกเพลาะ จานวน 5 คน 2.ประชาชนตาบลไร่หลักทอง จานวน 5 คน 3.ประชาชนตาบลนาวงั หิน จานวน 5 คน รวมทัง้ ส้นิ 15 คน กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจดั กิจกรรม 2 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมัยกับยคุ EEC ดา้ นคุณภาพ - ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้และเข้าใจการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัยกบั ยุค EEC สามารถนา ความรูไ้ ปพัฒนาชมุ ชนใหม้ ีความเขม้ แขง็ ได้ ผลลัพธ์ - ผู้เข้ารบั การอบรมมคี วามรู้และเข้าใจการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมัยกับยุค EEC สามารถนา ความรู้ไปพัฒนาชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ได้ ดชั นชี ว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ตวั ชี้วัดผลผลติ - รอ้ ยละ 80 ของ ผู้เข้ารับการอบรมมคี วามรู้และเข้าใจการแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมยั กบั ยุค EEC สามารถนาความรู้ไปพฒั นาชุมชนใหม้ ีความเขม้ แข็งได้ ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์ - ร้อยละ 80 ของ ผู้เข้ารับการอบรม นาความรู้ท่ีไดร้ บั ไปปรับใช้และขยายผลสู่ชุมชนในยคุ EEC ได้ กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจดั กจิ กรรม 3 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมัยกับยคุ EEC บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง ในการจัดทาสรปุ ผลโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมยั กับยุค EEC ครง้ั น้ี คณะผ้จู ัดทาโครงการไดท้ าการคน้ คว้าเนือ้ หาเอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง ดงั นี้ 1. กรอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. เอกสาร/งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง 1. กรอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จุดเนน้ การดาเนินงานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น นโยบายเรง่ ด่วน สานักงาน กศน. ขอ้ ที่ 1 น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏบิ ัติ “หน่ึงชมุ ชน หนึ่งนวตั กรรมการพฒั นาชุมชนถ่ินไทยงาม” เพ่ือความกนิ ดี อยู่ดี มีงานทา เชน่ โคกหนองนาโมเดล , คลองสวยนา้ ใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย์) ,จิตอาสา ภารกจิ ต่อเน่ือง 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศึกษาตอ่ เนอื่ ง 4) การจัดกิจกรรมการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กบั ประชาชน เพอื่ เสริมสร้างภูมคิ ้มุ กัน สามารถยนื หยัดอยู่ไดอ้ ย่างมั่นคง และมกี าร บรหิ ารจัดการความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศส่คู วามสมดุลและยง่ั ยนื 2. เอกสาร/งานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้อง ความเป็นมาของ EEC Eastern Economic Corridor หรือทเ่ี รารูจ้ ักกันดใี นช่อื วา่ EEC เป็นโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาค ตะวันออก ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ว่าดว้ ยการพัฒนาเศรษฐกจิ เชิงพน้ื ท่ที ่ีต่อยอดความสาเรจ็ มาจาก แผนพฒั นาเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (Eastern Seaboard) ซ่ึงได้ดาเนินการมาตลอดระยะเวลากวา่ 30 ปที ี่ผ่านมา โดยมีเปาู หมายท่จี ะยกระดบั ธรุ กจิ ในประเทศไทย ให้กลายเป็นเขตเศรษฐกจิ ในระดับโลก สานกั งานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกจิ ภาคตะวันออกได้เล็งเหน็ ถึงเปาู หมายในการที่จะเตมิ เตม็ ภาพรวม การสง่ เสรมิ การลงทนุ เพอื่ เป็นการยกระดับอตุ สาหกรรมของประเทศใหม้ ขี ีดความสามารถมากยงิ่ ขนึ้ อันจะมีผลทา ใหเ้ ศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาว ซึ่งในระยะแรกนน้ั จะมีการยกระดบั พนื้ ทีใ่ นเขต 3 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง ฉะเชงิ เทรา เพอ่ื เปน็ ตน้ แบบในการดาเนินการเขตเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก อน่งึ เขตพื้นที่ท้งั 3 พน้ื ที่ดงั กล่าวเปน็ เขตอุตสาหกรรมที่สาคัญระดับตน้ ๆของประเทศ มีสภาพแวดล้อมทอี่ ุดม ไปดว้ ยสนามบนิ ทา่ เรือ โรงงานในนคิ มอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ มีการขนส่งสินค้าทีม่ ากทีส่ ุดเป็นอันดบั 22 ของโลก เหมาะแก่การพัฒนาทางการคา้ การลงทนุ และการจดั ทาโครงการพฒั นาระเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดย โครงการนจ้ี ะถูกบรหิ ารการจดั การและการกากับดแู ลของคณะกรรมการนโยบายพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาค ตะวันออก โดยมนี ายกรฐั มนตรีเปน็ ประธานในการควบคุมกากับดูแล ทงั้ นคี้ ณะผจู้ ัดทาจึงเลง็ เห็นถึงความสาคญั และเลง็ เหน็ ถงึ การเปลี่ยนแปลงท่ีกาลงั จะเกิดข้นึ ในอนาคตอันใกล้ ทง้ั การเปลย่ี นแปลงด้านการคมนาคมขนส่ง ธรุ กิจ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ตลอดจนวิถีชีวติ ของคนในชมุ ชนทจ่ี ะตอ้ งปรับเปลยี่ น กศน.ตาบล สงั กัด กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกิจกรรม 4 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กบั ยคุ EEC พฤตกิ รรมในการดารงชีวติ พร้อมรับกับการเปล่ยี นแปลงในทุกๆด้าน เพ่ือการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจทกี่ าลงั จะ เตมิ โตข้นึ อยา่ ยง่ั ยืน ภายใตโ้ ครงการพัฒนาระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก ความเปน็ มาของการแปรรปู สมนุ ไพร สมนุ ไพรถูกนามาใช้สารพัดประโยชน์ และถกู แปรรูปออกมาในแบบตา่ งๆ สิง่ สาคญั ท่สี ุดของการแปรรปู สมนุ ไพร คือ การปรุงยา การปรุงยาหมายถึง การสกดั เอาตัวยาออกมาจากเนื้อไมย้ า สารทใ่ี ช้สกัดเอาตวั ยาออกมาท่นี ิยมใช้กัน ได้แก่ นา้ และเหล้า สมนุ ไพรท่ีนามาเปน็ ยาตามภมู ิปญั ญาด้ังเดิมมรี ปู แบบ คือ 1.ยาต้ม เปน็ การสกดั ยาออกมาจากไม้ยาดว้ ยน้ารอ้ น เปน็ วิธีท่ีนยิ มใช้มากท่สี ดุ ใชก้ ับส่วนของเน้ือไมท้ ่แี นน่ และ แข็ง เช่น ลาตน้ และราก ซ่ึงจะตอ้ งใช้การตม้ จงึ จะไดต้ ัวยาท่เี ป็นสารสาคัญออกมา -ขอ้ ดีของการต้ม คอื สะอาด ปลอดจากเชื้อโรค มี 3ลกั ษณะ +การต้มกินต่างนา้ คอื การต้มใหเ้ ดอื ดก่อนแล้วต้มดว้ ยไฟอ่อนๆอีก 10 นาที หลังจากนั้นนามากินแทนนา้ +การต้มเค่ียว คอื การตม้ ใหเ้ ดือดออ่ นๆ ใชเ้ วลาตม้ 20-30 นาที +การตม้ 3 เอา1 คือ การตม้ จากน้า 3 ส่วน ให้เหลือเพยี ง 1 สว่ น ใชเ้ วลาต้ม 30-45นาที 2.ยาชง เป็นการสกัดตวั ยาด้วยน้าร้อน ใชก้ บั ส่วนท่ีบอบบาง เช่น ใบ ดอก ทีไ่ ม่ต้องการโดนนา้ เดอื ดนานๆตวั ยาก็ ออกมาได้ วิธกี ารชง คือ ให้นายาใสแ่ กว้ เตมิ นา้ รอ้ นจัดลงไป ปดิ ฝาแก้วท้ิงไวจ้ นเย็น ลกั ษณะน้ีเปน็ การปล่อยตัวยา ออกมาเต็มที่ 3. ยานา้ มัน ตัวยาบางชนดิ ไม่ยอยละลายน้า แม้วา่ จะตม้ เคีย่ วแลว้ ก็ตาม สว่ นใหญย่ าที่ละลายน้าจะไม่ละลายในนา้ มนั เชน่ กัน จึงใชน้ามนั สกดั ยาแทน แต่เนอ่ื งจากยาน้ามนั ทาแลว้ เหนียว เหนอะหนะ เปือ้ นเสื้อผ้า จงึ ไม่นยิ มปรงุ ใช้กัน 4.ยาดองเหล้า เปน็ การใชก้ ับตัวยาทไ่ี ม่ละลายน้า แต่ละลายไดด้ ใี นเหล้า ยาดองเหล้ามกั มกี ลน่ิ แรงกวา่ ยาต้ม เนอ่ื งจากเหล้ามีกล่นิ ฉุน และหากกินบอ่ ยๆอาจทาให้ติดได้ จึงไมน่ ยิ ม กนิ กัน จะใชต้ อ่ เม่อื กนิ ยาเมด็ หรอื ยาตม้ แล้วไม่ไดผ้ ล กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 5 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กบั ยคุ EEC 5.ยาตม้ คัน้ เอานา้ เปน็ การนาเอาสว่ นของตน้ ไมท้ มี่ ีนา้ มากๆออ่ นนุ่ม ตาแหลกงา่ ย เช่น ใบ หวั หรือเหง้า นามาตาให้ละเอยี ด และคั้นเอาแต่น้าออกมา ยาประเภทนกี้ นิ มากไมไ่ ดเ้ ช่นกัน เพราะน้ายาที่ไดจ้ ะมีกลนิ่ และรสชาตทิ ่รี นุ แรง ตัวยาเขม้ ขน้ มาก ยากที่จะ กลนื เข้าไปท่ีเดยี ว ฉะน้นั กินคร้งั ละหนึง่ ถว้ ยชากพ็ อแลว้ 6.ยาผง เป็นการนายาไปอบหรือตากแห้งแล้วบดใหเ้ ปน็ ผง ยาท่ีเปน็ ผงละเอียดมากยิ่งมีสรรพคณุ ดี เพราะจะถูกดูดซมึ สู่ลาไส้ง่าย จึงเขา้ สู้รา่ งกายได้รวดเรว็ ยาผงชนดิ ใดทีก่ นิ ยากก็จะใช้ปัน้ เป็นเม็ดที่เรียกว่า \"ยาลกู กลอน\" โดยใช้นา้ เชื่อม,น้าข้าวหรอื น้าผึ้ง เพอื่ ให้ ตดิ กันเปน็ เม็ด ส่วนใหญ่นยิ มใชน้ ้าผึ้งเพราะสามารถเก็บไว้ได้นานโดยไม่ขึน้ รา 7.ยาฝน เป็นวิธีการที่หมอพนื้ บ้านนิยมกันมาก วธิ กี ารฝน คือ หาภาชนะใสน่ า้ สะอาดประมาณครงึ่ หน่ึงแลว้ นาหนิ ลับมีดเล็กๆจุม่ ลงไปในหนิ โผลเ่ หนอื นา้ เลก็ น้อย ฝนจนได้นา้ ยาสขี นุ่ เล็กนอ้ ยกินครัง้ ละ 1 แกว้ สมุนไพรถกู นามาใชส้ ารพัดประโยชน์ และถูกแปรรปู ออกมาในแบบตา่ งๆ สิ่งสาคัญท่ีสุดของการแปรรปู สมุนไพร คือ การปรงุ ยา ประเภท ประโยชน์ของแปรรปู สมนุ ไพร การนาไปใช้ ประโยชนข์ องสมนุ ไพร คือ 1. ใชเ้ ปน็ ยาบาบดั รกั ษาโรค 2. ใชเ้ ปน็ อาหาร 3. ใชเ้ ป็นเครอื่ งสาอาง 4.ใช้เป็นอาหาร เสริมบารุงรา่ งกาย 5. ใช้ขับสารพษิ 6. ใช้เปน็ เครื่องด่ืม 7. ชว่ ยสง่ เสรมิ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การจัดกลุ่มสมุนไพรเพ่ืองานแปรรปู 1. สมนุ ไพรลา้ งพษิ ได้แก่ รางจืด ยา่ นาง หมอน้อย พลูคาว เป็นต้น 2. สมนุ ไพรทใ่ี ห้ความชุ่มชืน้ แก่เส้นผม ผวิ หนัง ลดและปอู งกันรอยเหี่ยวย่น ได้แก่ น้ามันงา น้ามนั มะพรา้ ว นา้ มนั ดอกทานตะวนั นา้ มนั ราข้าว วา่ นหางจระเข้ บวั บก นา้ ผง้ึ ข้าว กล้อง ขมนิ้ ชนั ว่านนางคา กล้วย แครอท แตงกวา บอระเพ็ด เกสรท้ัง 5 (มะลิ,พกิ ลุ ,บนุ นาค, สารภี,บวั หลวง) เปน็ ต้น 3. สมนุ ไพรท่ีฤทธิ์ฆ่าเชอ้ื แบคทีเรีย ชว่ ยสมานแผลให้หายเร็ว ลดรอยแผลเปน็ ลด รอยด่างด า ไดแ้ ก่ มังคุด ทบั ทมิ วา่ นหางจระเข้ บวั บก ขมน้ิ จันทนแ์ ดง หมอ่ น พญายา สารส้ม ทองพันชง่ั นา้ ปนู ใส นมผงึ้ เกสรผงึ้ พลคู าว เป็นตน้ 4. สมนุ ไพรท่ีใช้ทาความสะอาดผิว ชะล้างความมัน เรง่ การผลดั เซลล์ ไดแ้ ก่ มะขาม มะเขือเทศ ส้มปุอย มะขามปอู ม กระเจีย๊ บ เกลอื ล้ินทะเล ว่านสากเหล็ก ไพล มะคาดีควาย ขน้ี อน สับปะรด เปน็ ตน้ 5. สมุนไพรท่ลี ดการอกั เสบ และ ลดอาการแพแ้ ละระคายเคอื ง และโรคผวิ หนงั ไดแ้ ก่ ขมนิ้ ฟูาทะลายโจร บวั บก กานพลู พญายา จนั ทนแ์ ดง เท้ายายม่อม เมล็ดดอกบานเย็น ทองพันชงั่ ยา่ นางแดง รางจืด ตาลึง ดนิ สอพอง เหงอื ก ปลาหมอ เสลดพงั พอน สามะงา ผักบุ้ง พลู ผักบุง้ ทะเล ชุมเหด็ เทศ ชุมเหด็ ไทย บอระเพด็ เปน็ ตน้ 6. สมุนไพรทีม่ ีกลิน่ หอมช่วยแต่งกลิ่น และมีสรรพคณุ ทางยา ได้แก่ เกสรท้งั 5 การบรู พมิ เสน ขม้นิ ชัน วา่ นนางคา ไพล กรรณิการ์ แก้ว ลีลาวดี ปบี โมก กระดังงา กหุ ลาบ ว่านสาวหลง กานพลู จาปี แฝกหอม มะกรูด ขิง ขา่ ตะไคร้ มะนาว ส้มเขียวหวาน ฝรัง่ เปน็ ตน้ 7. สมุนไพรทใี่ หส้ สี ันสวยงามใชแ้ ต่งแตม้ อาหาร และเคร่อื งสาอาง ไดแ้ ก่ ขมิน้ ใบเตย อัญชัน แครอท ผกั ปลงั คร่งั ฝางเสน กรรณกิ าร์ เปน็ ต้น กศน.ตาบล สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

การทายาหมอ่ งสมนุ ไพร สรุปผลการจัดกิจกรรม 6 วัสดุอปุ กรณ์ 1) วาสลีน ½ กก. โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมัยกับยคุ EEC 2) พาราฟีน 2 ขีด 6) น้ามันระกา้ 1 ขดี 3) เมนทอล 2 ขีด 7) น้ามนั สกดั จากสมนุ ไพร 1.5 ขีด 8) นา้ มนั พืช , น้ามันรา้ ขา้ ว 2 ขดี 4) การบูร 1 ขดี 9) หวั ไพล 1 ขีด 5) พิมเสน 1 ขดี 10) เถาเอนอ่อน 20 กรมั 11) ขมิ น ตามความตอ้ งการ 12) หม้อ 1 ใบ ขนั้ ตอนการทา 1) นา้ สมุนไพร (หัวไพล เถาเอนออ่ น ขมิ น) มาหั่นเปน็ ชิ น ๆ ให้ละเอยี ด 2) ตั้งไฟเติมน้ามันพืช หรอื นา้ มนั รา้ ขา้ ว น้าสมุนไพรท่ตี า้ ละเอยี ดใสล่ งไป (ใช้ไฟปานกลาง) ค่วั ประมาณ 5 - 10 นาที เพอื่ ใหน้ า้ มันสกัดเอาสารทมี่ ีประโยชนอ์ อกมาจากสมนุ ไพร ยกขึ นพกั เกบ็ ไว้ 3) หัน่ พาราฟนี เปน็ ชิ นเลก็ ๆ ใส่ลงไปในหมอ้ ตั งไฟ น้าวาสลีน มาผสมลงไปกวนสว่ นผสมทั ง 2 อยา่ ง ใหล้ ะลาย เป็นเนื อเดยี วกัน จากนั นเติมเมนทอล กบั การบรู ลงไป กวนให้ละลาย แลว้ ยกลง 4) เติมนา้ มันสมุนไพรท่ีเตรียมไว้ลงไป โดยเทกรองเอากากออก จากนั นเตมิ น้ามนั ระก้าลงไปผสมกวนให้เขา้ กัน 5) บรรจุใสภ่ าชนะทเ่ี ตรยี มไว้ ประโยชน์ 1) ใช้ทาแก้ปวดจากการอกั เสบของกลา้ มเนื้อ 2) ใช้ทาบริเวณที่โดนแมลงกดั ตอ่ ย 3) ใช้สดู ดมแกว้ งิ เวียนศรี ษะจากอาการเมารถ เมาเรอื กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 7 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัยกับยคุ EEC บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ งาน การดาเนนิ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กบั ยุค EEC ได้ดาเนินการตามข้ันตอน ต่าง ๆ ดังนี้ 1. ขน้ั เตรยี มการ  การศึกษาเอกสารทเี่ กยี่ วข้องกับโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยคุ EEC ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการไดศ้ ึกษาค้นควา้ เอกสารที่เกีย่ วข้องเพื่อเปน็ ข้อมลู และแนวทางในการดาเนินการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมยั กบั ยุค EEC ดงั นี้ 1. ศึกษาเอกสาร / คมู่ ือ ขอ้ มลู จากหนังสอื เก่ยี วกับการดาเนินชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื เป็นแนวทางเก่ยี วกบั การจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมัยกับยคุ EEC 2. ศกึ ษาขน้ั ตอนการดาเนินโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกับยุค EEC เพื่อเปน็ แนวทางในการจดั เตรียมงาน วสั ดุอุปกรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม  การสารวจความต้องการของประชาชนในพนื้ ที่ (ตามนโยบายของรัฐบาล) กลุ่มภารกิจ การจดั การศกึ ษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล สารวจความตอ้ งการของ กลมุ่ เปาู หมายเพือ่ ทราบความตอ้ งการท่แี ท้จรงิ ของประชาชนในตาบล และมีข้อมลู ในการจัดกจิ กรรมทต่ี รงกบั ความ ต้องการของชมุ ชน  การประสานงานผนู้ าชมุ ชน / ประชาชน /วทิ ยากร 1. ครู กศน.ตาบล ได้ประสานงานกบั หวั หน้า/ผู้นาชุมชนและประชาชนในตาบลเพื่อรว่ มกัน ปรกึ ษาหารอื ในกล่มุ เกยี่ วกบั การดาเนนิ การจดั โครงการใหต้ รงกบั ความต้องการของชุมชน 2. ครู กศน.ตาบล ได้ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องเพ่อื จัดหาวทิ ยากร  การประชาสัมพนั ธ์โครงการฯ ครู กศน.ตาบล ได้ดาเนินการประชาสมั พันธ์การจดั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรให้ ทนั สมยั กับยุค EEC เพ่ือให้ประชาชนทราบข้อมูลการจัดกจิ กรรมดังกล่าวผ่านผนู้ าชมุ ชน  ประชุมเตรยี มการ / วางแผน 1) ประชุมปรึกษาหารือผู้ทเ่ี กีย่ วข้อง 2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ุายต่าง ๆ เตรียมดาเนินการ 3) มอบหมายหน้าท่ี แตง่ ตงั้ คณะทางาน  การรบั สมัครผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ครู กศน.ตาบล ไดร้ ับสมัครผู้เข้ารว่ มโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัยกับยุค EEC โดยให้ประชาชนท่ัวไปที่อาศัยอยู่ในพนื้ ที่ 3 ตาบล ๆ 5 คน ไดแ้ ก่ ตาบลโคกเพลาะ ตาบลไร่หลกั ทอง และตาบลนาวังหิน รวมท้ังส้ิน 16 คน  การกาหนดสถานทแี่ ละระยะเวลาดาเนินการ ครู กศน.ตาบล ได้กาหนดสถานที่ในการจดั อบรม ณ กศน.ตาบลหนองขยาด หมู่ที่ ๗ ตาบลหนองขยาด อาเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี 30 มิถุนายน 2564 จานวน 1 วนั เวลา 09.00-15.00 น. กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรม 8 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมัยกบั ยุค EEC 2. ขนั้ ดาเนนิ งาน  กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเปาู หมายของโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัยกบั ยคุ EEC 1.ประชาชนตาบลโคกเพลาะ จานวน 6 คน 2.ประชาชนตาบลไรห่ ลกั ทอง จานวน 5 คน 3.ประชาชนตาบลนาวงั หนิ จานวน 5 คน  สถานที่ดาเนนิ งาน รวมทัง้ ส้ิน 16 คน ครู กศน.ตาบลโคกเพลาะ ครู กศน.ตาบลไร่หลกั ทองและครู กศน.ตาบลนาวังหนิ จดั กิจกรรม โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กับยุค EEC โดยจดั กิจกรรมอบรมใหค้ วามรู้ ในวนั ที่ 30 มิถุนายน 2564 เวลา 09.00-15.00 น. ณ กศน.ตาบลหนองขยาด หมู่ที่ ๗ ตาบลหนองขยาด อาเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี  การขออนุมัตแิ ผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน.ตาบลโคกพลาะ ได้ดาเนินการขออนมุ ตั ิแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัยกับยคุ EEC ตอ่ สานกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี เพอื่ ใหต้ ้นสังกัดอนมุ ัติแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  การจดั ทาเครอ่ื งมอื การวดั ความพึงพอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม เครื่องมือทีใ่ ช้ในการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ  ขน้ั ดาเนนิ การ / ปฏบิ ตั ิ 1. เสนอโครงการเพอื่ ขอความเห็นชอบ/อนุมตั จิ ากต้นสงั กัด 2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมยั กับยุค EEC โดยกาหนดตารางกจิ กรรมท่ีกาหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ ก่ผ้รู ับผดิ ชอบฝาุ ยต่าง ๆ 4. แต่งตง้ั คณะกรมการดาเนินงาน 5. ประชาสัมพนั ธ์โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมยั กับยคุ EEC 6. จดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ ทนั สมัยกับยคุ EEC ตามตาราง กจิ กรรมทีก่ าหนดการ 7. ตดิ ตามและประเมินผลโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมัยกับยคุ EEC กศน.ตาบล สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 9 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยุค EEC 3. การประเมนิ ผล  วเิ คราะหข์ อ้ มูล 1. บนั ทึกผลการสังเกตจากผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม 2. วิเคราะหผ์ ลจากการประเมินในแบบประเมินความพึงพอใจ 3. รายงานผลการปฏิบตั งิ าน รวบรวมสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของโครงการนาเสนอต่อผบู้ ริหาร นาปญั หา ขอ้ บกพร่องไปแกไ้ ขครงั้ ต่อไป  ค่าสถิติทใี่ ช้ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสาเร็จของ โครงการตามแบบสอบถามคดิ เปน็ รายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถิตริ ้อยละออกมาได้ดงั นี้ ค่าสถิติรอ้ ยละ 90 ขึ้นไป ดีมาก ค่าสถิตริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี ค่าสถิติรอ้ ยละ 60 – 74.99 พอใช้ ค่าสถติ ิร้อยละ 50 – 59.99 ปรับปรงุ ค่าสถิติรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเร่งดว่ น สว่ นการวเิ คราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้าหนักคะแนน และนามาเปรยี บเทียบ ได้ระดับคณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมนิ ดงั น้ี เกณฑก์ ารประเมิน (X) คา่ นา้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคุณภาพ คือ ดมี าก ค่าน้าหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคุณภาพ คอื ดี ค่านา้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคุณภาพ คือ พอใช้ ค่าน้าหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คุณภาพ คอื ต้องปรับปรุง ค่านา้ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คือ ต้องปรับปรงุ เรง่ ดว่ น กศน.ตาบล สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกิจกรรม 10 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยุค EEC บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งานและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมยั กับยุค EEC การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมัยกับยุค EEC สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมไดด้ ังนี้ ในการจดั กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้ตามโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทนั สมัยกับยุค EEC เป็นการอบรมใหค้ วามรู้ โดยมี นางอาพร แซต่ ัน๊ เป็นวทิ ยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เรอ่ื ง ความเป็นมา ของ EEC ความเป็นมาของการแปรรปู สมนุ ไพรประเภท ประโยชน์ของแปรรปู สมนุ ไพร การนาไปใช้ การจดั จาหน่ายและการประชาสัมพันธ์ การแปรรปู สมุนไพรเพอ่ื การรับตลาด EEC และรบั ฟังการบรรยายและฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร “การทายาหม่อง” ตอนท่ี 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยคุ EEC การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กบั ยุค EEC ซง่ึ สรุปรายงานผลจากแบบสอบถามความคิดเห็น ข้อมูลท่ไี ด้สามารถวิเคราะห์และแสดงค่าสถิติ ดงั นี้ ตารางที่ 1 ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามเพศ ร้อยละ เพศ จานวน 100.00 ชาย 3 100.00 หญงิ 13 รวม 16 100.00 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมัยกบั ยคุ EEC จานวน 16 คน ส่วนใหญ่เปน็ เพศ หญงิ จานวน 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 และเพศชาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ 2 ผู้เข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามอายุ อายุ จานวน รอ้ ยละ ต่ากวา 15 ปี - - - 15 – 39 ปี - 93.75 6.25 40 – 59 ปี 15 100.00 60 ปีขึ้นไป 1 รวม 16 จากตารางที่ 2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรให้ทันสมัยกับยุค EEC จานวน 16 คน ส่วนใหญ่มีอายุ 40 – 59 ปี จานวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 93.75 รองลงมาคืออายุ60 ปขี ึ้นไป จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 11 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยุค EEC ตารางที่ 3 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามอาชีพ ประกอบอาชีพ จานวน ร้อยละ - รบั จ้าง - - ค้าขาย - 100.00- - เกษตรกร 16 100.00 ลูกจา้ ง/ข้าราชการหนว่ ยงานภาครัฐหรอื เอกชน - อน่ื ๆ - รวม 16 จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยุค EEC จานวน 16 คน ส่วนใหญ่ประกอบ เกษตรกร จานวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 ตารางท่ี 4 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศกึ ษา จานวน ร้อยละ ตา่ กวา่ ป.4 - - 37.5 ป.4 6 27.27 22.22 ประถมศกึ ษา 5 5.55 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 4 - - มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1 - อนุปริญญา - 100.00 ปริญญาตรี - สงู กว่าปรญิ ญาตรี - รวม 16 จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรใหท้ นั สมยั กบั ยุค EEC จานวน 16 คน ส่วนใหญ่มี การศึกษาประถมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 37.5 รองลงมาคือระดับประถมศึกษา จานวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.27 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 22.22 สดุ ทา้ ยคือระดบั มธั ยมศึกษา ตอนปลาย จานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.55 ตารางท่ี 5 แสดงค่ารอ้ ยละเฉลย่ี ความสาเรจ็ ของตัวชีว้ ัด ผลผลิต ประชาชนทวั่ ไปเขา้ รว่ มโครงการจานวน 35 คน ผลสาเร็จของโครงการ จานวน ร้อยละ เปาู หมายโครงการ 15 100.00 ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 16 100.00 จากตารางที่ 5 พบวา่ ผลสาเรจ็ ของตัวช้ีวดั ผลผลิตกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมัยกบั ยุค EEC มผี ู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ซ่งึ บรรลเุ ปาู หมายด้านตวั ชีว้ ดั ผลผลติ กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรม 12 โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมัยกับยุค EEC ตารางท่ี 6 ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมทม่ี คี วามพงึ พอใจตอ่ โครงการ อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ ันสมัยกบั ยุค EEC ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดบั () ความพึงพอใจ ด้านการบริหารจดั การ 4.65 () ความพึงพอใจด้านกระบวน 4.67 0.50 ดีมาก การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้/การอบรม 0.50 ดมี าก ดา้ นประโยชนท์ ่ไี ด้รับ 4.69 รวมทกุ ด้าน 4.67 0.53 ดีมาก 0.51 ดีมาก จากตารางที่ 6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการแปรรูป สมนุ ไพรให้ทนั สมัยกบั ยคุ EEC ในภาพรวม จานวน 16 คน อย่ใู นระดับดมี าก (=4.67) เม่อื พจิ ารณาเป็นราย ดา้ น พบวา่ ดา้ นประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ อยใู่ นระดบั มากที่สดุ มีค่าเฉลีย่ (= 4.69) รองลงมาคือ ความพึงพอใจดา้ น กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้/การอบรม มอี ยใู่ นระดับดีมาก มคี า่ เฉลี่ย (= 4.67) และสุดทา้ ยด้านการ บริหารจัดการ อยู่ในระดับดมี าก มคี า่ เฉลยี่ (= 4.65) ตามลาดบั โดยมสี ่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.50 - 0.53 แสดงวา่ ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพึงพอใจสอดคลอ้ งกัน ตารางที่ 7 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมทมี่ ีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมัยกบั ยุค EEC ดา้ นการบรหิ ารจัดการ รายการ ค่าเฉลย่ี ส่วนเบย่ี งเบน ระดับ ความพงึ พอใจ 1. อาคารสถานที่ () มาตรฐาน () 2. ส่งิ อานวยความสะดวก 4.63 0.55 ดมี าก 3. กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ 4.69 0.47 ดี 4. เอกสารการอบรม 4.66 0.54 5. วิทยากรผู้ให้การอบรม 4.51 0.51 ดมี าก 4.74 0.44 ดีมาก รวม 4.65 0.50 ดี ดีมาก จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูป สมุนไพรให้ทันสมัยกับยุค EEC ด้านการบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.65) เมื่อ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ วทิ ยากรผใู้ ห้การอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.74) รองลงมา คือ ส่ิงอานวยความสะดวก มี ค่าเฉล่ีย (= 4.69) กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ค่าเฉล่ีย (= 4.66) อาคารสถานท่ี ค่าเฉล่ีย (= 4.63) และสุดท้าย เอกสารการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.51) ตามลาดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.55 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเห็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจดั กจิ กรรม 13 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมยั กับยุค EEC ตารางท่ี 8 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมท่มี ีความพึงพอใจต่อโครงการ อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กบั ยุค EEC ด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้/การอบรม รายการ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบน ระดับ () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรปู 4.60 สมนุ ไพรใหท้ ันสมยั กับยุค EEC 0.55 ดีมาก 7. การใหค้ วามรูเ้ รอ่ื ง ปฏบิ ตั ิการแปรรูปสมนุ ไพรให้ 4.57 ทนั สมัยกับยคุ EEC 0.56 ดีมาก 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.83 4.80 0.38 ดีมาก 9. การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ของผูเ้ ขา้ รับการอบรม 4.66 0.41 ดีมาก 10. การสรุปองคค์ วามร้รู ว่ มกนั 4.54 0.54 ดีมาก 11. การวดั ผล ประเมินผล การฝึกอบรม 4.67 0.51 ดีมาก 0.50 ดมี าก รวม จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรูป สมุนไพรให้ทันสมัยกบั ยคุ EEC ดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้/การอบรม ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดมี าก มคี ่าเฉลย่ี (= 4.79) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีคา่ เฉล่ีย (= 4.83) รองลงมาคอื การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ของผู้เข้ารบั การอบรม มคี า่ เฉลย่ี (= 4.80) การสรปุ องค์ความรู้รว่ มกนั มคี า่ เฉลย่ี (= 4.66) การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมยั กับยุค EEC มีค่าเฉลย่ี (= 4.60) การใหค้ วามรู้เรือ่ ง “โคก หนอง นา โมเดล” มีค่าเฉล่ีย (= 4.57) และสุดท้ายการวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มีคา่ เฉล่ยี (= 4.54) ตามลาดบั โดยมีสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อย่รู ะหวา่ ง 0.38 - 0.56 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นสอดคล้องกนั กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 14 โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยคุ EEC ตารางที่ 9 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมที่มคี วามพงึ พอใจตอ่ โครงการ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกับยคุ EEC ด้านประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ รายการ คา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน () พึงพอใจ 12. การเรยี นรแู้ ละฝึกตนเองเกย่ี วกับ ปฏิบตั กิ ารแปร ดีมาก รปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยุค EEC 4.63 0.60 13. การนาความรู้ทีไ่ ดร้ บั มาปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ดีมาก 4.74 0.44 ดีมาก รวม 4.69 0.53 จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูป สมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยคุ EEC ด้านประโยชน์ที่ไดร้ ับ ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดมี าก มคี ่าเฉล่ยี (= 4.69) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่า การนาความรู้ท่ีได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.74) และการ เรียนรู้และฝกึ ตนเองเกย่ี วกับ “โคก หนอง นา โมเดล” มคี ่าเฉลย่ี (= 4.63) โดยมีส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.44 - 0.60 แสดงว่าผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เป็นรอ้ ยละ 93.40 มีคา่ นา้ หนักคะแนน 4.67 ถือว่าผู้รับบริการ มีความพึงพอใจทางด้านต่าง ๆ อยใู่ นระดบั ดมี าก โดยเรียงลาดบั ดังนี้  อนั ดบั แรก ด้านประโยชนท์ ่ไี ด้รบั คิดเปน็ ร้อยละ 93.80 มคี ่าน้าหนกั คะแนน 4.69 อยู่ในระดบั คณุ ภาพดีมาก  อนั ดับสอง ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนร/ู้ การอบรม คิดเป็นร้อยละ 93.40 มีคา่ น้าหนักคะแนน 4.67 อยู่ในระดบั คณุ ภาพดี  อันดบั สาม ดา้ นการบริหารจัดการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.00 มคี า่ นา้ หนกั คะแนน 4.65 อยใู่ นระดับ คุณภาพดี กศน.ตาบล สังกดั กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 15 โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมัยกับยุค EEC บทที่ 5 อภิปรายและข้อเสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมัยกบั ยคุ EEC ได้ผลสรุปดังนี้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหผ้ ้เู ข้ารับการอบรมมีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมัยกับยุค EEC 2. เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การอบรมสามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ ประชาชน 5 ตาบล ๆ ละ 6 คน ไดแ้ ก่ กศน.ตาบลโคกเพลาะ, กศน.ตาบลไร่หลักทอง และ กศน.ตาบลนาวังหนิ รวมทั้งสิ้น 16 คน เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ - เขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั การแปรรปู สมุนไพรใหท้ ันสมัยกบั ยุค EEC และสามารถนาความรไู้ ปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ เครอื่ งมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครง้ั น้ี คอื แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตาบลทีร่ ับผิดชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความ พงึ พอใจใหก้ บั ผูร้ ว่ มกิจกรรม โดยให้ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการแปรรูปสมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยุค EEC สรปุ ผลการดาเนินงาน กศน.ตาบลโคกเพลาะ, กศน.ตาบลไร่หลักทอง และ กศน.ตาบลนาวงั หนิ ได้ดาเนินการจดั กิจกรรม โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทันสมยั กบั ยคุ EEC โดยดาเนนิ การเสรจ็ ส้ินลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดาเนินงานไดด้ ังน้ี 1. ผู้รว่ มกิจกรรมจานวน 16 คน รู้จกั การใช้พนื้ ท่ีอยา่ งมีประสิทธิภาพสงู สดุ อกี ท้งั มกี ารพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ที่ดีข้ึน ตลอดจนสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมของตนเองได้อย่างเหมาะสมตาม แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ผู้ร่วมกิจกรรมรอ้ ยละ 93.80 นาความรู้ทไี่ ด้รับมาปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน 3. จากการดาเนินกจิ กรรมตามโครงการดังกลา่ ว สรปุ โดยภาพรวมพบว่า ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมสว่ นใหญม่ ีความ พึงพอใจตอ่ โครงการ อยู่ในระดบั “ดีมาก ” และบรรลคุ วามสาเรจ็ ตามเปูาหมายตัวช้ีวดั ผลลัพธ์ทต่ี ้ังไว้ โดยมี คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละภาพรวมของกิจกรรม 93.40 และค่าการบรรลเุ ปูาหมายค่าเฉลย่ี 4.67 ข้อเสนอแนะ - อยากใหม้ ีการจัดกจิ กรรมน้อี กี ประชาชนสามารถนาความรูท้ ไ่ี ดร้ บั ไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวัน รวมทั้งสามารถพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเองให้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนใชท้ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมทีต่ นเองมี ได้อย่างเหมาะสมตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 16 โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรให้ทนั สมัยกบั ยุค EEC บรรณานุกรม ที่มา กรมการศึกษานอกโรงเรยี น (2546) กระทรวงศกึ ษาธิการ . (2543). https://www.baanlaesuan.com/224839/garden-farm/farm-guru/kok-nhong-na-model กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรม 17 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมนุ ไพรใหท้ นั สมยั กับยคุ EEC ภาคผนวก กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจัดกจิ กรรม 18 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมยั กับยุค EEC ภาพประกอบการจดั กิจกรรม โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารแปรรปู สมุนไพรให้ทันสมยั กบั ยคุ EEC วนั พุธท่ี 30 มิถนุ ายน 2564 วิทยากรให้ความรู้ โดย นางอาพร แซต่ ๊ัน ตาแหน่งวทิ ยากร เรือ่ ง ความเปน็ มา ประเภท ประโยชน์ของการแปรรปู สมุนไพร การแปรรปู สมุนไพรเพอ่ื การรับตลาด EEC ณ แหลง่ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง หมทู่ ี่ 8 ตาบลหนองขยาด อาเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี กศน.ตาบล สงั กดั กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจัดกิจกรรม 19 โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกับยุค EEC แบบประเมนิ ผูร้ ับบริการ โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแปรรูปสมุนไพรใหท้ ันสมยั กับยคุ EEC สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอพนัสนิคม กจิ กรรม การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เศรษฐกิจพอเพยี ง ************************************************************************************** สว่ นที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไป คาชแี้ จง ใส่เครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ข้อมลู ของท่านเพยี งชอ่ งเดียว เพศ  ชาย  หญงิ อายุ  15 - 25 ปี  26 – 39 ปี  40 – 49 ปี  50 – 59 ปี  60 ปีขึน้ ไป อาชพี  รบั จา้ ง  ค้าขาย  เกษตรกรรม  ลกู จ้าง/ข้าราชการหน่วยงาน อนื่ ๆ ระบุ การศกึ ษา  ต่ากวา่ ป.4  ป.4  ประถมศกึ ษา  ม.ตน้  ม.ปลาย  อนุปริญญา  ปรญิ ญาตรี  สงู กว่าปรญิ ญาตรี สว่ นที่ 2 ดา้ นความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร คาชี้แจง ใสเ่ ครื่องหมาย  ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ขอ้ มูลของท่านเพียงช่องเดียว ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย เหตุ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ท่ีสุด กลาง ที่สดุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นการบริหารจดั การ 1 อาคารสถานที่ 2 สงิ่ อานวยความสะดวก 3 กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ 4 เอกสารประกอบการอบรม 5 วิทยากรผูใ้ ห้การอบรม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้/การอบรม 6 การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการแปรรูปสมนุ ไพรให้ ทนั สมยั กบั ยคุ EEC 7 การใหค้ วามรู้เรือ่ ง “โคก หนอง นา โมเดล” 8 การตอบข้อซักถามของวิทยากร 9 การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ของผู้เขา้ รับการอบรม 10 การสรปุ องค์ความรรู้ ว่ มกัน 11 การวดั ผลและประเมนิ ผลการฝึกอบรม ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจดา้ นประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 12 การเรียนรู้และฝึกตนเองเกย่ี วกับปฏบิ ตั กิ ารแปรรูปสมนุ ไพร 13 การนาความร้ทู ่ไี ด้รับมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ผู้ผา่ นการฝึกอบรมไดน้ าความร้ไู ปใช้จริง เพิ่มรายได้ ลดรายจา่ ย นาไปประกอบอาชพี พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ อ่ืนๆ ระบุ………………………. ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ................................................................................................................................................................ ................................................. ....................................................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณทกุ ทา่ นทีก่ รณุ าตอบแบบประเมนิ : จาก กศน.ตาบล กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรุปผลการจดั กิจกรรม 20 โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารแปรรปู สมุนไพรใหท้ นั สมัยกบั ยคุ EEC คณะผู้จัดทา ทปี่ รกึ ษา หมนื่ สา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอพนสั นคิ ม การงานดี ครู ที่ปรึกษา บรรณารักษ์ปฏิบัติการ ศรเี ทพ ครูผู้ช่วย 1. นางณชั ธกัญ ทาทอง ครผู ู้ช่วย 2. นางสาวมุทกิ า ศรบี ุณยะแกว้ ครู อาสาสมัคร กศน. ครูอาสาสมคั รฯ กศน. 3. นางปลืม้ จติ ร รายศริ ิ ครอู าสาสมคั รฯ กศน. 4.นางพริ ฬุ ห์พร คลังสนิ ธ์ ครอู าสาสมัครฯ กศน. 5.นางสาวณภษร รายศิริ ครู กศน.ไรห่ ลักทอง 6.นางโสพิศ อดุ านน์ ครู กศน.ตาบลโคกเพลาะ 7. นางสาวเฟอ่ื งฟูา ครู กศน.ตาบลนาวังหนิ 8. นางโสพิศ ครู กศน.ไร่หลกั ทอง 9. นายวชั รินทร์ ครู กศน.ตาบลโคกเพลาะ ครู กศน.ตาบลนาวงั หนิ คณะทางาน 1. นางสาวจันทกานต์ ทาเนาว์ 2. นางสาวเนตรณภษิ พยุงวงษ์ 3. นางสาวยูถิกา คนั โธ บรรณาธิการ 1. นางสาวจนั ทกานต์ ทาเนาว์ 2. นางสาวเนตรณภษิ พยงุ วงษ์ 3. นางสาวยถู กิ า คันโธ กศน.ตาบล สังกดั กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรุปผลการจัดกิจกรรม 21 โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการแปรรปู สมุนไพรให้ทนั สมยั กบั ยคุ EEC กศน.ตาบล สังกัด กศน.อาเภอพนัสนิคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook