Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอยู่ร่วมกันทางสังคม

การอยู่ร่วมกันทางสังคม

Published by krni88399, 2021-08-11 05:27:30

Description: การอยู่ร่วมกันทางสังคม

Search

Read the Text Version

โดย นายธนพนธ์ ภักดี นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร เรอ่ื ง “การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมพหุวัฒนธรรม” ปัจจุบันสังคมไทยเข้าสู่ความเป็นพหุสังคมมากขึ้น การอยู่ร่วมกันของบุคคลท่ีมีความ แตกต่างทางวิถีถน่ิ ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี เช้ือชาติ ศาสนา อาจนามาซ่ึงความไม่เข้าใจกัน ได้ การศึกษา พหุวัฒนธรรมของกลุ่มต่าง ๆ จะทาให้สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมในสถานที่ ทางานและในชีวิต ประจาวันได้ง่ายขึ้น เม่ือเกิดความเข้าใจในพหุวัฒนธรรมของเพื่อนร่วมงาน ประชาชน และบุคคลในท้องถิ่นต่าง ๆ จะทาให้การปฏิสัมพันธ์เป็นไปอย่างเป็นกันเอง มีความ เข้าใจ และเกิดความเคารพในวัฒนธรรมของกลุ่มต่าง ๆ ท้ังน้ี การอยู่ร่วมกันต้องอาศัย กฎเกณฑห์ รอื สัญญาประชาคมด้วย ในทางสังคมศาสตร์ ประเทศไทยมปี ระชากรในกล่มุ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ มากกวา่ 70 กลุ่ม เช่น กลุ่มคนกรุงเทพฯ กลุ่มคนอีสาน กลุ่มคนใต้ กลุ่มคนเหนือ กลุ่มชาวไทยภูเขา กลุ่มชนเผ่า ฯลฯ มีภาษาตระกูลไทย (Thai Language Family) จานวน 24 กลุ่มภาษา เช่น คนกรุงเทพฯ คน สพุ รรณบรุ ี คนใต้ คนตากใบ คนโคราช คนอสี าน คนไทยเลย คนลาวหล่ม คนลาวแง้ว คนลาวต้ี ฯลฯ นับถือพุทธศาสนา (เถรวาท) ร้อยละ 94 และมีผู้นับถือศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ศาสนา อิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิขงจ๊ือ ศาสนาอนื่ และไมน่ ับถอื ศาสนา ตามลาดับ สง่ิ เหล่านเ้ี ปน็ สว่ นทีท่ าใหเ้ กดิ พรรคพวก เพื่อนฝงู อดุ มการณ์ ลทั ธิการเมอื งท่ีมคี วามเชอื่ แตกต่างกัน ดังจะเห็นไดจ้ ากการมสี มาคมของกลุม่ ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น สมาคมชาวปักษ์ใต้ สมาคมชาวอีสาน สมาคมชาวเหนือ สมาคมชาวจันทบุรี เป็นต้น และการที่ประเทศไทยมีการ ติดต่อทางวัฒนธรรมกับชาวต่างชาติทาให้มีการแลกเปลี่ยนความแตกต่างทางวัฒนธรรมท่ี หลากหลาย กลุ่มคนพหุวัฒนธรรมในประเทศไทยยุค 4.0 มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่าง ประเทศ ท้ังจากทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการเดินทางระหว่างประเทศ ทาให้เกิดผล ประโยชนแ์ ละข้อขัดแย้งตามมา ในการนี้ ผู้ศึกษาอาจพิจารณาทัศนคติ ค่านิยมเชิงบวก และมอง คุณค่าความแตกต่างของพหุวัฒนธรรมในทอ้ งถิ่น จะทาให้เกิดความเข้าใจในความหลากหลายและ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลในพน้ื ทีไ่ ด้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook