Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดเบาใจ

สมุดเบาใจ

Published by กศน.ตำบลหนองขาว, 2022-05-02 02:37:18

Description: สมุดเบาใจ

Search

Read the Text Version

เสบมุดาใจ เพื่อการวางแผนสุขภาพลวงหนา ของ บันทึกเม่ือ baojai notebook_design 1.indd 1 2562/9/5/BE 10:13

baojai notebook_design 1.indd 2 2562/9/5/BE 10:13

สมดุ เบาใจคอื อะไร สมุดเบาใจ คือเคร่ืองมือช่วยทบทวน วางแผนชีวิต และสื่อสารเจตนา ล่วงหน้าเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่วงสุดท้ายในชีวิตของท่าน (ไม่นับรวม การเสียชีวิตด้วยโรคเฉียบพลันหรืออุบัติเหตุ) เพ่ือที่ครอบครัวจะได้ทราบ เจตนาของทา่ น ไมต่ อ้ งเดาใจในกรณที ท่ี า่ นปว่ ยระยะสดุ ทา้ ยและไมส่ ามารถ สอ่ื สารได้ และช่วยลดข้อขดั แย้งระหวา่ งครอบครวั กับทีมสขุ ภาพ สมดุ เบาใจ ช่วยส�ำรวจมุมมองตอ่ ชวี ติ และความตาย ประกอบการวางแผน ดแู ลสุขภาพลว่ งหนา้ การหาผสู้ อื่ สารเจตนาแทนท่าน รวมไปถึงการจัดการ ร่างกายและงานศพ การเขยี นสมดุ เบาใจ ทำ� ไดใ้ นทกุ ชว่ งของชวี ติ ทงั้ ชว่ งทท่ี า่ นมสี ขุ ภาพแขง็ แรง และช่วงที่ท่านเจ็บป่วย การเขียนสมดุ เลม่ น้ี ทา่ นจะไดท้ บทวนชวี ติ ส่อื สาร การวางแผนสุขภาพกับครอบครัวและทีมสุขภาพ ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ท่าน มีคณุ ภาพชวี ิตช่วงท้ายท่ีดี และจากไปอย่างสงบ baojai notebook_design 1.indd 1 1 2562/9/5/BE 10:13

ขอ้ มลู ส่วนตัว ฉนั ชื่อ __________________________________________________________ คนอื่นเรียกฉันว่า ______________ ฉันเกิดวันที่ _____________________ เลขทบ่ี ตั รประชาชน _______________________________________________ เบอรโ์ ทรศพั ท์ ____________________________________________________ ทอี่ ยปู่ จั จบุ นั _____________________________________________________ ________________________________________________________________ ภมู ลิ �ำเนาเดิมและพน้ื เพของฉัน ________________________________________________________________ นสิ ยั ใจคอของฉัน ________________________________________________________________ ________________________________________________________________ ความภาคภมู ิใจในชีวติ _______________________________________________________________ _______________________________________________________________ ________________________________________________________________ โรคหรอื อาการป่วยทฉ่ี นั มอี ยคู่ อื ________________________________________________________________ _______________________________________________________________ หากคุณป่วย คุณมองความเจบ็ ปว่ ยท่เี ป็นอยูใ่ นขณะน้วี า่ ________________________________________________________________ _______________________________________________________________ 2 baojai notebook_design 1.indd 2 2562/9/5/BE 10:13

สงิ่ สำ� คญั ท่ฉี ันอยากท�ำก่อนตายคือ _________________________________________________________________ ________________________________________________________________ ________________________________________________________________ ________________________________________________________________ ฉันมองความตายที่ก�ำลังมาถงึ วา่ ________________________________________________________________ ________________________________________________________________ กรณที ่ที า่ นปว่ ยระยะสดุ ท้าย คณุ คา่ ท่สี �ำคญั ทส่ี ุด 3 อันดับแรกคือ... (ระบุอนั ดับ 1-3) ____ มีอายุยนื ยาว ____ ดูแลตัวเองได้ ไม่เปน็ ภาระของคนอ่นื ____ ได้อยอู่ ยา่ งสขุ สบาย ไมเ่ จบ็ ปวดทรมาน ____ ได้อย่กู ับครอบครวั อนั เป็นท่รี กั ____ ลูกหลานไมท่ ะเลาะกนั ____ ไดอ้ ยกู่ ับเพ่ือนที่รักและไว้วางใจ ____ จัดการธรุ ะการงานไดส้ �ำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ____ ไดช้ ว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ทำ� ตัวเปน็ ประโยชน์ ____ ได้รบั ความเคารพใหเ้ กยี รติ ____ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ัติตามความเชื่อทางจิตวญิ ญาณหรอื ศาสนา ____ จากไปอยา่ งมีสติ รู้สกึ ตัว ____ อนื่ ๆ (ระบ)ุ __________________________________________________ 3 baojai notebook_design 1.indd 3 2562/9/5/BE 10:13

ความรเู้ กยี่ วกบั การปว่ ยระยะสุดท้าย เม่ือชีวิตมาถึงจุดหน่ึง ไม่ว่าสูงวัย หรือเจ็บป่วย จะมีช่วงที่ท่านเข้าสู่ระยะสุดท้ายของ ชีวติ ซง่ึ หมายถงึ ช่วงที่อาการปว่ ยทรดุ ลงอยา่ งรุนแรง ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ในช่วงนี้ ท่านอาจอ่อนเพลีย ไม่อยากกินอาหาร เคล่ือนไหวไม่สะดวก เดินหรือลุกไม่ได้ ต้องมีผู้ดูแลอย่างต่อเน่ือง ต้องการพักผ่อน แต่ด้วยประสาทรับรู้ที่เสื่อมลง ท่านจึงไม่ค่อยรับรู้ ความเจบ็ ปวดมากนัก จนกระทง่ั ถึงจุดหน่งึ ร่างกายจะคอ่ ยๆ หยุดท�างานและเสียชวี ิต ท่านพรอ้ มรับมือการจากไปของตนเองไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด (ทา� เครอ่ื งหมาย ✓ ตามความคดิ เหน็ ของท่าน) ฉนั พร้อมจากไป ฉนั ยอมรบั ความตายได้ ฉนั ยงั ไมแ่ นใ่ จ ฉันพอทา� ใจยอมรบั ได้ ฉันยังยอมรบั ไม่ได้ การดแู ลแบบประคับประคอง (Palliative Care ) เมื่อผู้ป่วยป่วยด้วยโรคท่ีคุกคามชีวิต รักษาให้หายได้ยาก การดูแลแบบประคับประคอง จึงเปลี่ยนเป้าหมายจากการรักษาให้หายขาด มาสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคู่ไปกับการ รักษาโดยป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมานต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกับผู้ป่วยและครอบครัว เข้าไป ดแู ลปัญหาสขุ ภาพตั้งแต่ระยะแรกของโรค ประเมนิ และดูแลปัญหาสขุ ภาพกาย ใจ สงั คม และ จิตวิญญาณ จนกระทง่ั ผปู้ ว่ ยจากไปอย่างสงบและมีศักดิศ์ รี การดูแลแบบประคับประคอง มุ่งพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ไม่ยอ้ื ชีวติ และไม่เร่งการตาย ท่านเหน็ ดว้ ยกับแนวทางการดแู ลแบบประคบั ประคองหรอื ไม่ (ท�าเครื่องหมาย ✓ ตามความคิดเหน็ ของทา่ น) ฉันเหน็ ดว้ ยกบั แนวทางการดูแลแบบประคับประคอง ฉนั ยังไมค่ ่อยเขา้ ใจ และต้องการขอ้ มลู เพิ่มเติม ฉนั ไม่เห็นดว้ ย ฉันต้องการการรักษาแบบหายขาด 4 baojai notebook_design 1.indd 4 2562/9/5/BE 10:13

การกู้ชีพิ เพอื่ ช่วยชีิวติ - การยอ้ื ชวี ิตเพยี งเพ่ือยดื การตาย การกู้ชีพเพื่อช่วยชีิวิต คือการช่วยชีวิตผู้ป่วยวิกฤตท่ียังมีโอกาสรอดชีวิตและฟนคืนสู่ สภาพปกติ (เชน่ ประสบอบุ ัตเิ หตุ ป่วยเฉยี บพลนั ) ดว้ ยการกดนวดหัวใจ การชอคกระแสไฟฟ้า การใสท่ ่อชว่ ยหายใจ ควบคกู่ ับการรกั ษาอ่ืนๆ ทจ่ี �าเปน็ เชน่ การใช้เคร่ืองชว่ ยหายใจ การใหย้ า กระตุน้ หัวใจ การใส่สายสวนปัสสาวะ การใหอ้ าหารทางสายอาหาร เปน็ ต้น ในขณะท่ีการยื้อชีวิตผู้ป่วยระยะสุดท้าย มักเป็นการรักษาท่ีไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ เพราะ การรักษาข้างต้นไม่ท�าให้ผู้ป่วยหายจากโรคหรือท�าให้ผู้ป่วยฟนคืนสู่สภาพปกติ นอกจากนี้ ภาวะเส่ือมถอยของอวัยวะ จะท�าให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายเข้าสู่กระบวนการใกล้ตายอีกในระยะ เวลาไม่นาน กระบวนการย้อื ชีวิต มักทา� ให้ผูป้ ่วยทกุ ขท์ รมานมากขึน้ และอาจเสียชวี ิตในสภาพทสี่ บั สน วนุ่ วาย ขณะทีค่ รอบครัวพลาดโอกาสใช้เวลาช่วงสดุ ท้ายกับผปู้ ่วยในบรรยากาศท่ีสงบ ท่านคิดอย่างไรกบั การยอ้ื ชีวิตผปู้ ว่ ยระยะสุดท้าย (ทา� เครือ่ งหมาย ✓ ตามความคดิ เหน็ ของทา่ น) ฉันไมเ่ ห็นดว้ ยกบั การยอ้ื ชีวิต ฉนั เหน็ ด้วยกบั การย้อื ชวี ิต ฉนั ไม่แนใ่ จ ผ้สู อ่ื สารเจตนาแทน ในกรณีที่ท่านป่วยระยะสุดท้าย อยู่ในสภาพท่ีไม่สามารถส่ือสารได้ ท่านอาจต้องการ ผทู้ า� หนา้ ทส่ี อ่ื สารเจตนาแทนทา่ น ผสู้ อื่ สารเจตนาแทนควรมอี ายมุ ากกวา่ 20 ปี รจู้ กั ความตอ้ งการ และข้อกังวลของท่านเปน็ อย่างดี ได้รบั การยอมรับจากครอบครัวของท่าน เตม็ ใจทา� หน้าท่ี ยนื ยนั เจตนาแทนทา่ น และจดั การสถานการณต์ งึ เครยี ดได้ baojai notebook_design 1.indd 5 5 2562/9/5/BE 10:13

หนังสือแสดงเจตนาเลือกวิธีการรกั ษา ในช่วงสดุ ท้ายของชวี ติ หลงั จากทฉ่ี นั ทบทวนชวี ติ ในสมดุ เบาใจ รจู้ กั การ ดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองแล้ว ฉันต้องการแสดงเจตนาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ในกรณที ีโ่ รคของฉนั ด�ำเนินมาถึงระยะสุดทา้ ย และฉันไมส่ ามารถสือ่ สารได้ ดังน้ี ใช่ ไมใ่ ช่ ฉนั ต้องการจากไปอยา่ งสงบ ไมย่ ้อื ชวี ิต และไมเ่ ร่งการตาย กรณหี วั ใจหยุดเต้น ฉันไม่ตอ้ งการปม๊ั หวั ใจ ใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ ฉันต้องการการดูแลแบบประคับประคอง อยา่ งไรก็ตาม ฉนั อนุญาตให้แพทยก์ ชู้ พี ยอ้ื ชีวิตฉนั ไวก้ อ่ น ในกรณีดงั ต่อไปนี้ ฉนั ต้องการเสียชีวติ ที่ โรงพยาบาล บ้าน อ่ืนๆ กรณที ฉ่ี นั ปว่ ยระยะสดุ ทา้ ย และไมส่ ามารถสอ่ื สารได้ คนทจี่ ะสอื่ สารเจตนาแทนฉนั คอื ฉนั เรยี กเขาวา่ โทร ฉันขอรบั รองว่า ขณะท�ำเอกสารฉบบั นี้ ฉนั มสี ตสิ มั ปชญั ญะสมบูรณ์ ลงชอ่ื วนั ที่ 6 baojai notebook_design 1.indd 6 2562/9/5/BE 10:13

การดแู ลอนื่ ๆทฉ่ี นั ตอ้ งการ (ทำ� เครือ่ งหมายถูก ✓ หน้าขอ้ ความทท่ี ่านต้องการการดูแลในชว่ งระยะสุดท้ายของชีวติ ) ฉนั ต้องการใหร้ ่างกายสะอาด อย่ใู นหอ้ งพักที่สะอาด ฉันตอ้ งการบรรเทาอาการคล่นื ไสอ้ าเจียน หายใจสน้ั หอบเหนอ่ื ย ซึมเศรา้ เหน็ ภาพหลอน ฉันต้องการให้รมิ ฝีปากชมุ่ ชื้น ไมแ่ ตกแหง้ รักษาช่องปากให้สะอาด ฉนั ตอ้ งการใหค้ นรอบข้างรบั ฟงั ความรสู้ ึก ความต้องการของฉนั ฉันต้องการให้มีคนยำ้� เตือนความดงี ามท่ีฉนั เคยท�ำ รวมถงึ การบอกรกั ฉันต้องการการสมั ผัส จับมอื โอบกอด แมฉ้ นั ไมร่ ้สู กึ ตัวกต็ าม ฉนั ต้องการฟงั เพลง เสยี งอ่านหนงั สือ ฉนั ตอ้ งการใหม้ สี งิ่ เหลา่ นใี้ นหอ้ งพกั ฉนั ตอ้ งการพบ (คน/สตั ว์เลยี้ ง) ฉนั ตอ้ งการให้ มานำ� ทางสกู่ ารจากไปอยา่ งสงบ เก่ยี วกับการดแู ลจัดการความปวด และอาการไม่สขุ สบาย (เลอื กขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ) ฉนั ต้องการยาระงับปวดอยา่ งเพียงพอในระดบั ที่ฉันหายปวด แม้จะท�ำใหฉ้ ันสะลมึ สะลือ หลบั นานขึ้น และไม่คอ่ ยรสู้ กึ ตัวก็ตาม ฉันต้องการยาระงับปวดในระดบั ทฉ่ี ันยังมีสตริ บั รูค้ วามเป็นไปของรา่ งกาย ฉนั ต้องการให้คนอน่ื ๆ ปฏบิ ตั ิต่อฉนั เพิ่มเตมิ ดังนี้ baojai notebook_design 1.indd 7 7 2562/9/5/BE 10:13

การสื่อสารในชว่ งทา้ ยของชวี ติ (ท�ำเครื่องหมายถูก ✓ หน้าขอ้ ความทท่ี า่ นเห็นดว้ ย) กรณหี มอนัดฟังคำ� วินิจฉยั โรคคร้ังสำ� คญั หรือการรบั รู้ขา่ วรา้ ย ฉนั ตอ้ งการรูค้ ำ� วนิ ิจฉัยคร้งั สำ� คัญดว้ ยตนเองเพียงล�ำพงั ฉนั ตอ้ งการรคู้ ำ� วนิ จิ ฉยั ครง้ั สำ� คญั โดยมเี พอื่ นรว่ มฟงั คอื ฉนั ไมต่ อ้ งการรคู้ ำ� วนิ จิ ฉยั ครง้ั สำ� คญั ฉนั อยากใหแ้ พทยบ์ อกคำ� วนิ จิ ฉยั กบั คนทฉ่ี นั ไวใ้ จ คอื นอกจากน้ี ฉันอยากสือ่ สารกบั คนใกล้ชิดดังน้ี ฉันรักพวกเขา ฉนั ขอบคุณทกุ คนท่ีดูแล ใหค้ วามรกั ความปรารถนาดแี กฉ่ ัน ฉนั ขอโทษในความผิดพลาด ลว่ งเกิน ทะเลาะขัดแยง้ ระหวา่ งกัน ทงั้ โดยรตู้ วั และไมร่ ตู้ วั ทัง้ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม ฉนั อยากใหท้ ุกคนรู้วา่ ช่วงเวลาตายคือข้นั ตอนธรรมดาของชีวิต ฉนั ยอมรบั ความตายได้ ขณะที่ฉันกำ� ลังจะตาย ฉนั ต้องการใหร้ กั ษาบรรยากาศแหง่ ความสงบ และสันตใิ นใจ ฉนั ต้องการให้คนรอบตัวฉนั ระลึกถึงฉนั ดังนี้ สง่ิ อ่ืนๆที่ฉันเป็นหว่ ง และอยากฝากใหค้ นใกล้ชดิ ช่วยจดั การ 8 2562/9/5/BE 10:13 baojai notebook_design 1.indd 8

การจดั การรา่ งกายและงานศพ (ท�ำเคร่อื งหมายถูก ✓ หน้าขอ้ ความทท่ี า่ นเห็นด้วย) เก่ยี วกบั การบริจาคร่างกายหรืออวัยวะ ฉันไม่ตอ้ งการบรจิ าครา่ งกายหรอื อวัยวะ ฉันต้องการบรจิ าคร่างกายหรอื อวัยวะ ฉนั เก็บเอกสารไว้ที่ ฉันต้องการให้จดั งานศพดงั นี้ ฉนั ต้องการใหจ้ ัดงานศพเป็นเวลา วนั โดยมคี ่าใชจ้ ่ายประมาณ บาท ฉันอยากให้ เปน็ ผดู้ แู ลงานศพของฉัน ความตอ้ งการอื่นๆ เกย่ี วกบั งานศพของฉัน มดี ังน้ี (เชน่ ของทีร่ ะลกึ งานศพ การจัดการเงินบรจิ าค เป็นตน้ ) baojai notebook_design 1.indd 9 9 2562/9/5/BE 10:13

บทสง่ ทา้ ย สมุดเบาใจเล่มนี้ มีรายละเอียดทางการแพทย์ไม่มาก เนื่องจากผู้ป่วย แต่ละคนมีเง่ือนไขหรือภาวะโรคไม่เหมือนกัน การวางแผนดูแลทางการ แพทยน์ อกเหนอื จากน้ี เปน็ สิ่งท่ีทา่ นต้องส่ือสารวางแผนกบั ทีมสุขภาพของ ท่านต่อไป ท่านอาจติดต่อได้ท่ีหน่วยดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) ของโรงพยาบาลท่ีท่านสงั กดั สมดุ เบาใจเลม่ น้ี มผี ลทางกฎหมายตาม พ.ร.บ. สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 อยา่ งไรก็ตาม ในสังคมไทย สิ่งทีช่ ว่ ยให้เจตนาของท่านเปน็ จริง ไดม้ ากกวา่ คอื การทท่ี า่ นสอื่ สารขอ้ มลู ในสมดุ เบาใจนก้ี บั ครอบครวั คนใกลช้ ดิ จนพวกเขาเข้าใจเจตนาของท่านอย่างชดั เจนและสอดคลอ้ งกนั ขอ้ มลู ในสมดุ เบาใจ ทา่ นสามารถปรบั เปลยี่ นไดท้ กุ เมอ่ื หากมกี ารเปลยี่ นแปลง ท่านควรลงชื่อก�ำกับ หรือท�ำสมุดเบาใจเล่มใหม่ โดยเล่มท่ีมีผลในทาง กฎหมายคอื เล่มล่าสุด พรบ.สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 บคุ คลมสี ทิ ธทิ ำ� หนงั สอื แสดงเจตนา ไมป่ ระสงคจ์ ะรบั บรกิ ารสาธารณสขุ ทเี่ ปน็ ไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้าย ของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจาก การเจบ็ ปว่ ยได้ การดำ� เนนิ การตามหนงั สอื แสดงเจตนา ตามวรรคหนงึ่ ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการที่กำ� หนดในกฎกระทรวง เม่ือ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ดา้ นสาธารณสขุ ไดป้ ฏบิ ตั ิ ตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนงึ่ แลว้ มใิ หถ้ อื วา่ การกระทำ� นน้ั เปน็ ความผดิ และ ใหพ้ ้นจากความรบั ผดิ ท้งั ปวง 10 baojai notebook_design 1.indd 10 2562/9/5/BE 10:13

หลังท�ำสมุดเบาใจเสร็จแล้ว ท่านควรท�ำส่ิงเหล่านี้ เพ่ือการส่ือสาร เจตนาทส่ี มบรู ณ์ • ส่ือสารความต้องการของท่านในสมุดเล่มนี้ให้ครอบครัว หรือผู้ส่ือสาร เจตนาแทนท่าน ไดร้ ับร้แู ละยอมรบั เจตนาของท่าน • ถา่ ยเอกสารหนา้ 6-7 เก็บไวใ้ นแฟม้ ประวัติเวชระเบยี นในโรงพยาบาล ท่ีทา่ นสงั กัด • ถา่ ยสำ� เนาชดุ หนงึ่ ใหค้ รอบครวั หรอื ผสู้ อ่ื สารเจตนาแทนทา่ น สว่ นสมดุ เบาใจฉบบั จริงเก็บไวก้ ับตวั ทา่ นเอง • เมื่อเง่ือนไขสุขภาพของท่านเปลี่ยนไป เช่น พัฒนาการโรครุนแรงข้ึน หรืออยู่ในช่วงท่ีชีวิตเหลือเวลาจ�ำกัด ท่านควรทบทวนเอกสารฉบับนี้ และหารือกบั ทมี สขุ ภาพเพ่อื วางแผนสุขภาพลว่ งหน้า • ตัดบัตรสมุดเบาใจในหน้าน้ี สอดไว้ในกระเป๋าสตางค์ เพ่ือส่ือสารกับ แพทย์กรณีทีท่ า่ นประสบภาวะวกิ ฤตในชว่ งสดุ ท้ายของชีวติ ลายเซ็นคนทท่ี ราบข้อมูลสมดุ เบาใจของฉนั baojai notebook_design 1.indd 11 ฉนั มี Living Will ขา้ พเจา้ ____________________________________ มีหนังสือแสดงเจตนาเลือกวิธีการรักษาในช่วง สุดท้ายของชีวิต โดยผู้ส่ือสารเจตนาแทนฉัน คือ ___________________________________________ โทร ________________________________________ 2562/9/5/BE 10:13

บนั ทกึ เพ่มิ เติม _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 12 2562/9/5/BE 10:13 baojai notebook_design 1.indd 12

สมุดเบาใจ เพือ่ การวางแผนสขุ ภาพล่วงหนา้ ผู้จัดท�า กล่มุ Peaceful Death ออกแบบรปู เล่ม Faiyen พมิ พ์เมอ่ื สงิ หาคม 2562 จ�านวนพิมพ์ 10,000 เล่ม พมิ พ์ที่ โรงพิมพ์สามลดา สง่ั ซ้อื สมุดเบาใจได้ที่ Line @peacefuldeath Facebook Peaceful Death ราคา 30 บาท ดาวนโ์ หลดสมดุ เบาใจได้ที่ www.peacefuldeath.co/baojai สนบั สนุนโดย สา� นกั งานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) กรมกิจการผสู้ ูงอายุ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ baojai notebook_design 1.indd 13 ดสามวุดนเโ์บหาลใจด สมสดุ ่งั เซบ้อื าใจ 2562/9/5/BE 10:13

โครงการชมุ ชนกรุณา เพ่อื การอย่แู ละตายดี กลุ่ม Peaceful Death baojai notebook_design 1.indd 14 2562/9/5/BE 10:13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook