Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เสียงในภาษา๕

เสียงในภาษา๕

Published by phiromrat2512, 2020-06-11 07:27:19

Description: เสียงในภาษา๕

Search

Read the Text Version

นางพริ มยร์ ตั น์ อาจยง่ิ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นสรุ วทิ ยาคาร อำเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๓ สรุ นิ ทร์

๒ คำนำ ชุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน ชุดที่ ๑ เร่ือง เสียงในภาษา เป็นชุด การเรียนรู้ท่ีใชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ ซ่ึงผูจ้ ดั ทาได้พฒั นาข้ึนมาโดยจุดประสงค์ให้นักเรียน ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ในชุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียนเล่มน้ี ประกอบดว้ ย คาแนะนาการใชส้ าหรับครู คาแนะนาการใชส้ าหรับนกั เรียน แบบทดสอบก่อนเรียน บตั รคาส่งั บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม แบบทดสอบหลงั เรียน ผจู้ ดั ทาขอขอบคุณคณะผูเ้ ช่ียวชาญที่ให้คาแนะนา ช่วยเหลือในการจดั ทา ชุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน ตลอดจนคณะครู นกั เรียนโรงเรียนสุรินทร์ภกั ดี ท่ีใหก้ าลงั ใจในการจดั ทาจนแลว้ เสร็จ หวงั เป็ นอยา่ งยงิ่ วา่ ชุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียนเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ ในการจดั การเรียนการสอนของครูและนกั เรียนพอสมควร เกิดความสะดวกและ สามารถนาไปพฒั นาผลการเรียนรู้ใหด้ ียง่ิ ข้ึนตอ่ ไป พริ มยร์ ัตน์ อาจยง่ิ กนั ยายน ๒๕๕๑

๓ สำรบญั หน้ำ เร่ือง ก ข คานา ค สารบญั ฉ คาแนะนาการใชส้ าหรับครู ช คาแนะนาการใชส้ าหรับนกั เรียน ๑ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ๔ แบบทดสอบก่อนเรียน ๕ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๙ ศนู ยก์ ารเรียนที่ ๑ เสียงในภาษา ๑๓ ศนู ยก์ ารเรียนที่ ๒ เสียงสระ ๑๗ ศนู ยก์ ารเรียนท่ี ๓ เสียงพยญั ชนะ ๒๑ ศูนยก์ ารเรียนท่ี ๔ เสียงวรรณยกุ ต์ ๒๕ ศนู ยก์ ารเรียนท่ี ๕ พยางค์ ๒๙ ศนู ยก์ ารเรียนท่ี ๖ คา ๓๒ ศนู ยก์ ารเรียนที่ ๗ ศนู ยส์ ารอง เกมคาผวนพาสนุก ๓๕ แบบทดสอบหลงั เรียน ๓๖ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน บรรณานุกรม

๔ คาแนะนาการใชส้ าหรับครู ๑. ศึกษาคูม่ ือการใชช้ ุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียนใหเ้ ขา้ ใจ ๒. ตรวจความเรียบร้อยและความพร้อมในการใชช้ ุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน ๓. ควรทดลองใชช้ ุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียนดว้ ยตนเองก่อนเพือ่ ใหเ้ กิดความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ ๔. เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ที่มิไดจ้ ดั ในชุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียนและจาเป็นตอ้ งใช้ ๕. เตรียมจดั ช้นั เรียนใหเ้ หมาะกบั ชุดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน ๖. ก่อนสอนครูตอ้ งเตรียมชุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียนไว้บนโต๊ะประจากลุ่มให้ เรียบร้อยและให้เพียงพอกบั ท่ีนกั เรียนในแต่ละกลุ่มจะไดร้ ับคนละ ๑ ชุด ยกเวน้ แต่ ส่ือการสอนท่ีตอ้ งใชร้ ่วมกนั ในกลมุ่ ๗. ก่อนสอนครูตอ้ งให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเสียก่อน ตรวจดูแบบทดสอบ พร้อมกระดาษคาตอบใหเ้ พยี งพอกบั จานวนนกั เรียน ๘. ช้ีแจงใหน้ กั เรียนทราบบทบาทของนกั เรียนเก่ียวกบั วิธีการเรียนอยา่ งชดั เจน ๙. ปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ๙.๑ นาเขา้ สู่บทเรียน ๙.๒ ดาเนินการประกอบกิจกรรม ๙.๓ ข้นั สรุปบทเรียน ๑๐. เม่ือทนั ทีท่ีนกั เรียนทุกกลุ่มประกอบกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดงั หากมีอะไร จะพดู ตอ้ งพดู เป็นรายกลุ่มหรือรายบคุ คลตอ้ งไม่รบกวนกิจกรรมของนกั เรียนกลุ่มอื่นๆ ๑๑. ขณะท่ีนกั เรียนประกอบกิจกรรม ครูตอ้ งเดินดูการทางานของนกั เรียนแต่ละกลุ่ม อยา่ งใกลช้ ิดหากมีนกั เรียนคนใด หรือกลุ่มใดมีปัญหา ครูควรจะเขา้ ไปใหค้ วามช่วยเหลือ จนปัญหาน้นั คล่ีคลาย

๕ ๑๒. กาหนดเวลาในการประกอบกิจกรรมแตล่ ะศูนยใ์ หช้ ดั เจนก่อนเปลี่ยนกลุม่ ครู จะตอ้ งเนน้ ให้นกั เรียนทุกคนเก็บชุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียนของตนไวใ้ นสภาพ เรียบร้อย ๑๓. หากนกั เรียนกลมุ่ ใดหรือคนใดทางานไดเ้ ร็วจนเกินไป ครูกค็ วรใหไ้ ปทา กิจกรรมในศูนยส์ ารองท่ีเตรียมไว้ เพอื่ รอกลุ่มอื่น ๑๔. การเปลี่ยนกลมุ่ กิจกรรมกระทาไดเ้ มื่อ ๑๔.๑ เปล่ียนกลมุ่ พร้อมกนั ทกุ กลุม่ หากกิจกรรมเสร็จพร้อมกนั ๑๔.๒ หากมีกล่มุ ท่ีทากิจกรรมเสร็จพร้อมกนั ๒ กล่มุ ก็ใหเ้ ปลี่ยนกนั ไดเ้ ลย ๑๔.๓ หากมีกลุ่มใดเสร็จก่อน โดยกลุ่มอื่นยงั ไม่เสร็จ ก็ให้กลุ่มท่ีเสร็จก่อน เปล่ียนไปยงั ศนู ยส์ ารองและถา้ มีกลุม่ ใดวา่ งใหล้ ะจากศูนยส์ ารองไปยงั ศูนยท์ ี่วา่ งทนั ที ๑๒ ๑๒ ๕ ๕ ๔๓ ๔๓ แบบที่ ๒ แบบที่ ๑ ๑๒ ๕ ๓ ๔ แบบที่ ๓

๖ ๑๕. ก่อนบอกใหน้ กั เรียนเปล่ียนกลุ่ม ครูจะตอ้ งเนน้ ใหน้ กั เรียนเก็บสื่อการสอน ของตนไวใ้ นสภาพเรียบร้อย ห้ามถือติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ แต่สมุดจดงานนักเรียน และขอใหเ้ ปล่ียนกลมุ่ ไปอยา่ งเป็นระเบียบเรียบร้อย ๑๖. ครูช่วยนกั เรียนสรุปบทเรียนอีกคร้ังหลงั จากนักเรียนไดเ้ รียนรู้ทุกศูนยก์ ารเรียน และการสรุปบทเรียนควรเนน้ กิจกรรมร่วมของทกุ กลุม่ หรือตวั แทนของกลุม่ มารวมกนั ๑๗. หลงั จากท่ีนักเรียนได้ใช้ชุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียนเรียบร้อยแล้วให้ทา แบบทดสอบหลงั เรียนอีกคร้ัง ซ่ึงเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกบั แบบทดสอบ ก่อนเรียนและนาผลเปรียบเทียบความกา้ วหนา้

๗ คำแนะนำกำรใช้สำหรับนักเรียน ๑. ชุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียน เรื่อง เสียงในภาษา มีจานวน ๖ ศนู ยก์ ารเรียน ๒. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ๓. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็น ๖ กลุ่มใหแ้ ต่ละกลุ่มเลือกประธาน รองประธาน เลขานุการกลุ่ม นกั เรียนที่เป็นประธานกล่มุ อ่านบตั รคาสั่งและดูแลสมาชิกให้ ปฏิบตั ิตามกิจกรรมทีละข้นั ตอนอยา่ งเคร่งครัด ๔. นกั เรียนตอ้ งต้งั ใจปฏิบตั ิกิจกรรมอยา่ งจริงจงั ไมช่ วนเพอื่ นคุยหรือเล่นกนั จนทา ใหก้ ารเรียนลา่ ชา้ เกินเวลากาหนด ๕. นกั เรียนตอ้ งทากิจกรรมแต่ละศูนยใ์ หเ้ สร็จในเวลาท่ีกาหนด ๖. ก่อนที่จะเปลี่ยนศนู ย์ จะตอ้ งจดั บตั รต่างๆ และส่ือการสอนเขา้ ที่เดิมใหเ้ รียบร้อย ถา้ มีส่ิงใดชารุดเสียหาย ควรแจง้ ครูใหท้ ราบทนั ที ๗. เมื่อนกั เรียนทากิจกรรมกล่มุ เสร็จพร้อมกนั กใ็ หเ้ ปลี่ยนศูนยต์ ามแผนผงั การจดั ช้นั เรียน ๘. ถา้ หากกลุ่มใดทากิจกรรมเสร็จก่อนโดยที่กลุ่มอ่ืนยงั ไม่เสร็จใหเ้ ปล่ียนไปยงั ศูนย์ สารองและเม่ือกลมุ่ อื่นเสร็จกใ็ หเ้ ปล่ียนศูนยท์ นั ที ๙. เมื่อเปลี่ยนศูนยต์ อ้ งจดั เกา้ อ้ีในศนู ยเ์ ดิมให้เรียบร้อย ๑๐. นกั เรียนตอ้ งต้งั ใจปฏิบตั ิ ใชช้ ุดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียนอยา่ งระมดั ระวงั อยา่ ขีดเขียนใดๆ ลงในชุดการเรียนรู้ ๑๑. หลงั จากสรุปบทเรียนแลว้ นกั เรียนตอ้ งทาแบบทดสอบหลงั เรียน ๑๒. ในกรณีที่นกั เรียนบางคนยงั ไม่เขา้ ใจเน้ือหาในบางศูนย์ สามารถยมื ชุดการเรียนรู้ แบบศนู ยก์ ารเรียนศึกษานอกเวลาหรือที่บา้ น หรือถามเพื่อน ถามครูก็ได้ เพอ่ื จะได้ เขา้ ใจเน้ือหาน้นั ๆ ยง่ิ ข้ึน

๘ จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. บอกความหมายของเสียงในภาษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง ๒. บอกชนิดของเสียงในภาษาไทยไดถ้ กู ตอ้ ง ๓. จาแนกเสียงสระไดถ้ กู ตอ้ ง ๔. จาแนกพยญั ชนะไดถ้ ูกตอ้ ง ๕. จาแนกวรรณยกุ ตไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ๖. บอกความหมายและลกั ษณะของพยางคไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ๗. บอกความหมายและลกั ษณะของคาไดถ้ กู ตอ้ ง ๘. เห็นคุณคา่ ของภาษาไทย สำระกำรเรียนรู้ ๑. ความหมายของเสียงในภาษาไทย ๒. ชนิดของเสียงในภาษาไทย ๓. การจาแนกเสียงสระ ๔. การจาแนกพยญั ชนะ ๕. การจาแนกวรรณยกุ ต์ ๖. ความหมายและลกั ษณะของพยางค์ ๗. ความหมายและลกั ษณะของคา ๘. การเห็นคุณค่าของภาษาไทย

๙ แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เสียงในภาษา คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งเพยี งคาตอบเดียว ๑. ขอ้ ใดเป็นสระเด่ียวท้งั หมด ก. โอะ เออ เอาะ อวั ะ ข. เอะ อา อะ เอียะ ค. อวั อา อา เอา ง. อา อิ โอ อี ๒. ขอ้ ใดแยกเสียงสระประสมไดถ้ ูกตอ้ ง ก. อวั ะ ( อ+ุ อะ) ข. เอือะ (อี+อะ) ค. เอียะ ( อี+อะ) ง. อวั (อ+ุ อา) ๓. เสียงพยญั ชนะในขอ้ ใดมีรูปพยญั ชนะใชเ้ พยี งรูปเดียว ก. เสียง ช ข. เสียง ล ค. เสียง ย ง. เสียง จ ๔. พยญั ชนะในขอ้ ใดเม่อื อ่านออกเสียงแลว้ มีเสียงคลา้ ยไอน้าแทรกออกมาตาม ไรฟัน ก. ศ ษ ส ข. ซ ฟ ศ ค. ษ ฉ ส ง. ซ ฝ ฌ

๑๐ ๕. ขอ้ ใดมีคาท่ีประสมดว้ ยสระเสียงส้ันท้งั หมด ก. มะลิไหวพ้ ระ ข. มะระตม้ หมู ค. มะยมแช่อิ่ม ง. มะลิลาน่าเท่ียว ๖. เสียงพยญั ชนะในขอ้ ใดท่ีประสมอยใู่ นสระเกิน ก. อ ย ว ข. ร ล ว ค. น ย ว ง. ม ย ว ๗. เสียงพยญั ชนะทา้ ยพยางคใ์ นภาษาไทยมีกี่เสียง ก. ๗ เสียง ข. ๘ เสียง ค. ๙ เสียง ง. ๑๐ เสียง ๘. รูปพยญั ชนะในขอ้ ใดที่ไมไ่ ดเ้ ป็นพยญั ชนะทา้ ยพยางคเ์ ลย ก. ฉ ฆ ข. ฟ ฝ ค. อ ฒ ง. ห ฌ ๙. คาในขอ้ ใดไม่มีเสียงวรรณยกุ ตซ์ ้ากนั เลย ก. ใจเร็วด่วนได้ ข. คนลม้ อยา่ ขา้ ม ค. ตาบอดไดแ้ วน่ ง. น้าร้อนปลาเป็น

๑๑ ๑๐. คาในขอ้ ใดมีพยญั ชนะทา้ ยพยางคอ์ ยใู่ นมาตราเดียวกนั ท้งั หมด ก. ควร มขุ เมฆ อาจ ข. บุญ ดล ลาภ เทพ ค. ครุฑ เวช รถ เลิศ ง. กบฏ กา๊ ซ ทุกข์ บาป

๑๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง เสียงในภำษำ ข้อ คำตอบ ๑ง ๒ก ๓ง ๔ก ๕ก ๖ง ๗ข ๘ง ๙ข ๑๐ ค

๑๓ บัตรคำสั่ง ศูนย์ท่ี ๑ เสียงในภำษำ ๑. อา่ นบตั รเน้ือหา บนั ทึกลงในสมุดวชิ าภาษาไทย ๒. อา่ นบตั รกิจกรรมแลว้ ตอบลงในสมดุ จดงานนกั เรียน ๓. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เมื่อปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหเ้ ก็บบตั ร คาส่ัง บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม ลงในกล่องเดิมใหเ้ รียบร้อย ก่อนเปลี่ยนไปทากิจกรรมที่ศูนยอ์ ื่นตอ่ ไป ถา้ ศูนยก์ ารเรียนไมว่ า่ งใหเ้ ขา้ ศูนย์ สารอง หา้ มหยบิ ช้ินใดช้ินหน่ึงติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ สมุดจดงานของนกั เรียน

๑๔ บัตรเนื้อหำ ศูนย์ที่ ๑ เสียงในภำษำ เสียงในภำษำ หมายถึง เสียงท่ีมนุษยเ์ ปลง่ ออกมาเพอ่ื สื่อความหมายซ่ึงกนั และ กนั เสียงในภาษา มี ๓ ชนิด คือ ๑. เสียงสระ หรือ เสียงแท้ หมายถึง เสียงที่เกิดข้ึนไดเ้ พราะเราทาใหล้ มออกจาก ปอดผา่ นหลอดลมและกล่องเสียงท่ีลาคอออกมาพน้ ช่องปากหรือจมูกโดยไมถ่ ูกสกดั ก้นั ณ ท่ีหน่ึงท่ีใด ในช่องทางเดินของลมเลย ในขณะท่ีเราออกเสียงสระ สายเสียง ท่ีอยใู่ นกลอ่ งเสียงจะปิ ดและเปิ ดอยา่ งรวดเร็ว สายเสียงจึงมีความสั่นสะเทือน บงั เกิด ความกงั วานหรือความกอ้ ง และออกเสียงไดย้ าวนาน หูของเราจะไดย้ นิ เสียง เสียง ชนิดน้ี ไดแ้ ก่ เสียงที่เราออกเป็น อา อี อวั ฯลฯ ลกั ษณะสาคญั ของเสียงสระ มี ๒ อยา่ ง คือ เป็นเสียงส่นั สะบดั หรือเสียงกอ้ ง และเป็นเสียงผา่ นออกไปโดยตรง ๒. เสียงพยัญชนะ หรือเสียงแปร หมายถึง เสียงที่เกิดข้ึนไดเ้ พราะเราทาใหล้ ม ออกจากปอด แต่ขณะลมผา่ นหลอดลมหรือออกมาทางช่องเดินของลม ลมจะถกู สกดั ก้นั ณ ท่ีใดท่ีหน่ึง ต้งั แต่ลาคอ ในช่องปาก หรือในช่องจมูก และลมอาจถกู สกดั ก้นั ไวท้ ้งั หมดหรือถูกสกดั ก้นั เป็นบางส่วน แลว้ จึงผา่ นออกมาภายนอก ทาใหเ้ กิดเสียง พยญั ชนะตา่ งๆ กนั ข้ึน เสียงชนิดน้ี ไดแ้ ก่ กะ กา คู่ โง่ โจน ชาว ฯลฯ ลกั ษณะสาคญั ของเสียงพยญั ชนะ คือเป็นเสียงที่ถูกกกั ก่อนท่ีจะออกไปทาง ปากหรือจมูก ๓. เสียงวรรณยุกต์ หรือเสียงดนตรี หมายถึง เสียงท่ีมีระดบั สูงต่า และเราจะได้ ยนิ พร้อมกนั ไปกบั เสียงสระ บางทีก็เป็นเสียงสูง บางทีกเ็ ป็นเสียงต่า บางทีก็เป็นเสียง ที่อยรู่ ะหวา่ งเสียงสูงกบั เสียงต่า บางทีก็เป็นเสียงต่าแลว้ ค่อยๆ เลื่อนข้ึนไปสู่เสียงสูง เสียงวรรณยกุ ตใ์ นภาษาไทยนบั วา่ มีความสาคญั เพราะทาใหค้ วามหมายของคา เปลี่ยนแปลงไปได้ เช่น เสือ มีความหมายอยา่ งหน่ึง แตเ่ สียงที่มีระดบั สูงต่าในบาง ภาษาไมไ่ ดท้ าใหค้ วามหมายของคาเปลี่ยนแปลงไป

๑๕ บตั รกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๑ เสียงในภำษำ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. เสียงในภาษาเร่ิมตน้ ท่ี ...................................................................................... ๒. เสียงสระต่างกบั เสียงพยญั ชนะ คือ.................................................................. ๓. เสียงวรรณยกุ ต์ คือ .......................................................................................... ๔. เสียงพยญั ชนะท่ีอยใู่ นคาเหล่าน้ี คือ กา ....................... ตา....................... ปู ........................... เสือ ......................................... ๕. เสียงสระที่อยใู่ นคาเหลา่ น้ี คือ ซู่ .................... ดู ......................... แซง ......................... งอ ........................ ววั ........................

๑๖ บตั รเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ที่ ๑ เสียงในภำษำ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. เสียงในภาษาเริ่มตน้ ที่ ลมจากปอด ๒. เสียงสระตา่ งกบั เสียงพยญั ชนะ คือ เสียงสระ ลมจะไมถ่ ูกสกดั ก้นั ดว้ ยอวยั วะใดๆ เวลา ออกเสียง ๓. เสียงวรรณยกุ ต์ คือ เสียงท่ีมีระดบั สูงต่า จะไดย้ นิ พร้อมกบั เสียงสระ ๔. เสียงพยญั ชนะที่อยใู่ นคาเหล่าน้ี คือ กา (ก) ตา (ต) ปู (ป) เสือ (ส) ๕. เสียงสระที่อยใู่ นคาเหลา่ น้ี คือ ซู่ (อู) ดู (อ)ู แซง (แอ) งอ (ออ) ววั (อวั )

๑๗ บัตรคำส่ัง ศูนย์ท่ี ๒ เสียงสระ ๑. อา่ นบตั รเน้ือหา บนั ทึกลงในสมดุ วิชาภาษาไทย ๒. อ่านบตั รกิจกรรมแลว้ ตอบลงในสมดุ จดงานนกั เรียน ๓. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เมื่อปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหเ้ ก็บบตั รคาสั่ง บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม ลงในกล่องเดิมใหเ้ รียบร้อย ก่อนเปล่ียนไปทากิจกรรมท่ีศนู ยอ์ ื่นตอ่ ไป ถา้ ศูนยก์ ารเรียนไม่วา่ งใหเ้ ขา้ ศนู ยส์ ารอง หา้ มหยบิ ช้ินใดช้ินหน่ึงติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ สมดุ จดงานของนกั เรียน

๑๘ บัตรเนื้อหำ ศูนย์ที่ ๒ เสียงสระ เสียงสระ ไดแ้ ก่ เสียงแท้ เหตุที่เรียกเสียงแท้ เพราะลมที่ออกจากปอดผา่ นหลอดลมและกลอ่ ง เสียงมาโดยไมถ่ ูกสกดั ก้นั เสียงสระ ในภาษาไทยมีอยู่ ๓๒ เสียง จาแนกออก ไดด้ งั น้ี สระเสียงส้นั (รัสสระ) และสระเสียงยาว (ทีฆสระ ) สระท้งั สองพวกน้ีมีที่เกิดเสียงและใชอ้ วยั วะกล่อมเกลาเสียงอยา่ งเดียวกนั ตา่ งกนั ท่ีสระเสียง ส้ันในเวลาในการเปล่งนอ้ ย สระเสียงยาว ใชเ้ วลาในการเปล่งเสียงนานกวา่ สระเสียงส้นั เสียงสระแท้ ๒๔ เสียง แบง่ เป็นสระเสียงส้นั และสระเสียงยาวอยา่ งละ ๑๒ เสียง ดงั น้ี สระเสียงส้ัน (รัสสระ) อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เอียะ เอือะ อวั ะ เออะ สระเสียงยาว (ฑีฆสระ) อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เอีย เอือ อวั เออ สระเด่ียว หรือ ที่เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ สระแท้ มี ๑๘ เสียง จดั ไดเ้ ป็นคูๆ่ คือ มีสระเสียง ส้ันคูก่ บั เสียงสระยาว ดงั น้ี สระเสียงส้ัน อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ สระเสียงยาว อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ สระเล่ือน หรือ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ สระประสม มี ๖ เสียง จดั เป็นคู่ๆ คือ มีสระเสียงส้ันคู่ กบั สระเสียงยาว ดงั น้ี เอียะ (อิ+อะ ) เอีย (อี+อา) เอือะ (อึ+อะ) เอือ (อึ+อา) อวั ะ (อ+ุ อะ) อวั (อู+อา) ส่วนสระ อา ใอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦๅ ไม่นบั เป็นเสียงสระ เพราะเป็นสระที่มีเสียง พยญั ชนะประสมอยดู่ ว้ ย ดงั น้ี อา (ม) ไอ, ใอ ( ย ) เอา (ว) ฤ (รึ) ฤๅ (รือ) ฦ (ลึ) ฦๅ (ลือ)

๑๙ บตั รกจิ กรรม ศูนย์ที่ ๒ เสียงสระ คำชี้แจง เติมคำหรือข้อควำมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้อง ๑. สระในภาษาไทยมีท้งั หมด........................เสียง ๒. สระแทห้ รือ............ มี.......................เสียง คือ.................................... ๓. สระเล่ือนหรือ .......... มี .........................เสียง คือ................................ ๔. สระที่มีเสียงพยญั ชนะประสมอยดู่ ว้ ย มี.......... เสียง คือ....................... ๕. สระเอียะ ประกอบดว้ ย................ สระเอือ ประกอบดว้ ย......................

๒๐ บัตรเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๒ เสียงสระ คำชี้แจง เติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง ๑. สระในภาษาไทยมีท้งั หมด ๓๒ เสียง ๒. สระแทห้ รือ สระเด่ียว มี ๑๘ เสียง คือ อิ อี เอะ เอ แอะ แอ อึ อือ เออะ เออ อะ อา อุ อู โอะ โอ เอาะ ออ ๓. สระเลื่อนหรือ สระประสม มี ๖ เสียง คือ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อวั ะ อวั .. ๔. สระท่ีมีเสียงพยญั ชนะประสมอยดู่ ว้ ย มี. ๘ เสียง คือ อา (ม) ไอ, ใอ ( ย ) เอา (ว) ฤ (รึ) ฤา (รือ) ฦ (ลึ) ฦา (ลือ) ๕. สระเอียะ ประกอบดว้ ย อิ + อะ สระเอือ ประกอบดว้ ย อึ + อา

๒๑ บตั รคำส่ัง ศูนย์ท่ี ๓ เสียงพยญั ชนะ ๑. อา่ นบตั รเน้ือหา บนั ทึกลงในสมดุ วชิ าภาษาไทย ๒. อ่านบตั รกิจกรรมแลว้ ตอบลงในสมุดจดงานนกั เรียน ๓. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เม่ือปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหเ้ กบ็ บตั รคาสั่ง บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม ลงในกล่องเดิมใหเ้ รียบร้อย ก่อนเปล่ียนไปทากิจกรรมที่ศนู ยอ์ ่ืนต่อไป ถา้ ศนู ยก์ ารเรียนไมว่ า่ งใหเ้ ขา้ ศูนยส์ ารอง หา้ มหยบิ ช้ินใดชิ้นหน่ึงติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ สมุดจดงานของนกั เรียน

๒๒ บตั รเนื้อหำ ศูนย์ท่ี ๓ เสียงพยัญชนะ พยญั ชนะในภาษาไทยมี ๔๔ ตวั หรือ ๔๔ รูป แตม่ ีเสียงพยญั ชนะอยเู่ พยี ง ๒๑ เสียงเท่าน้นั ดงั น้ี ๑. ก ก ๒. ค ข ฃ ค ฅ ฆ ๓. ง ง ๔. จ จ ๕. ช ช ฌ ฉ ๖. ซ ซ ส ศ ษ ๗. ด ด ฎ ๘. ต ต ฏ ๙. ท ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ๑๐. น น ณ ๑๑. บ บ ๑๒. ป ป ๑๓. พ พ ภ ผ ๑๔. ฟ ฟ ฝ ๑๕. ม ม ๑๖. ย ย ญ ๑๗. ร ร ๑๘. ล ล ฬ ๑๙. ว ว ๒๐. อ อ ๒๑. ฮ ฮ ห เสียงพยญั ชนะควบกล้า หมายถึง พยญั ชนะ ๒ เสียง ท่ีออกเสียงพร้อมกนั เสียงพยญั ชนะควบ กล้าในภาษาไทยจะอยใู่ นตาแหน่งตน้ พยางคเ์ ทา่ น้นั มีดงั น้ี กว เช่น กวา่ กวาด กร เช่น กรู เกรง กล เช่น กลา้ กลืน คว เช่น คว่า ความ คร เช่น ครู ครอบ คล เช่น เคลา้ เคลื่อน พร เช่น ไพร่ พร้อม พล เช่น พลู พลาง ปร เช่น ปรุ โปร่ง ปล เช่น ปลา แปลก ตร เช่น ตรี ตรวจ

๒๓ บัตรกิจกรรม ศูนย์ท่ี ๓ เสียงพยัญชนะ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง ๑. พยญั ชนะไทยมี .......... รูป .......... เสียง ๒. ข ฃ ค ฅ ฆ ตรงกบั เสียงพยญั ชนะไทย................................. ๓. ซ ศ ษ ส ตรงกบั เสียงพยญั ชนะไทย .................................... ๔. ย ญ ตรงกบั เสียงพยญั ชนะไทย ............................................... ๕. พยญั ชนะ ๒ เสียง ท่ีออกเสียงพร้อมกนั หมายถึง ...................................

๒๔ บัตรเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๓ เสียงพยญั ชนะ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง ๑. พยญั ชนะไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ๒. ข ฃ ค ฅ ฆ ตรงกบั เสียงพยญั ชนะไทย ค ๓. ซ ศ ษ ส ตรงกบั เสียงพยญั ชนะไทย ซ ๔. ย ญ ตรงกบั เสียงพยญั ชนะไทย ย ๕. พยญั ชนะ ๒ เสียง ท่ีออกเสียงพร้อมกนั หมายถึง พยญั ชนะควบกล้า

๒๕ บัตรคำสั่ง ศูนย์ที่ ๔ เสียงวรรณยกุ ต์ ๑. อา่ นบตั รเน้ือหา บนั ทึกลงในสมุดวิชาภาษาไทย ๒. อ่านบตั รกิจกรรมแลว้ ตอบลงในสมดุ จดงานนกั เรียน ๓. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เม่ือปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหเ้ ก็บบตั รคาส่งั บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม ลงในกล่องเดิมให้เรียบร้อย ก่อนเปล่ียนไปทากิจกรรมที่ศนู ย์ อื่นต่อไป ถา้ ศูนยก์ ารเรียนไมว่ า่ งใหเ้ ขา้ ศูนยส์ ารอง หา้ มหยบิ ชิ้นใดช้ินหน่ึงติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ สมดุ จดงานของนกั เรียน

๒๖ บัตรเนื้อหำ ศูนย์ที่ ๔ เสียงวรรณยกุ ต์ เสียงวรรณยกุ ต์ คือ เสียงท่ีเกิดจากเสียงสระท่ีทาใหเ้ กิดเสียงสูงต่า ในระดบั ต่างๆ กนั เสียงวรรณยกุ ตใ์ นภาษาไทยใหค้ วามหมายของคาเปลี่ยนแปลงไป เช่น มา ม่า มา้ วรรณยุกต์ มี ๕ เสียง ๔ รูป คือ ๑. สามญั คือ เสียงท่ีมีระดบั ปานกลางและมีระดบั คงที่ตลอดไป เช่น กา นอน ใน รัง ๒. เอก ( ่่) คือ เสียงที่เร่ิมตน้ ระดบั เดียวกบั เสียงสามญั แลว้ จะลดระดบั ต่ากวา่ เสียง สามญั เช่น เดก็ จะ กวาด เศษ ๓. โท ( ่้ ) คือ เสียงที่เร่ิมตน้ ระดบั สูงกวา่ เสียงสามญั แลว้ ตกลงต่ากวา่ เสียงเอก เช่น ที่ วา่ แยก ได้ ๔. ตรี ( ่) คือ เสียงท่ีเริ่มตน้ สูงกวา่ เสียงสามญั เลก็ นอ้ ยแลว้ ข้ึนไปเรื่อยๆ จนเสมอ จุดเร่ิมตน้ ของเสียงโทแลว้ ตกลงมาเลก็ นอ้ ย เช่น รู้ แลว้ นะ จะ๊ ๕. จตั วา ( ่ ) คือ เสียงที่เร่ิมตน้ ต่ากวา่ เสียงสามญั แลว้ สูงข้ึนไปเร่ือยๆ จนเสมอ เสียงตรี เช่น เห็น แข ไหม ความสาคญั ของเสียงวรรณยกุ ต์ เสียงวรรณยกุ ตม์ ีความสาคญั ในภาษาไทย เพราะ คาพูดท่ีมีความหมาย สื่อความเขา้ ใจกนั ไดจ้ ะตอ้ งประกอบดว้ ยเสียงสระ พยญั ชนะ วรรณยกุ ต์ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง มีเสียงใดเสียงหน่ึงเปลี่ยนไปความหมายของคาน้นั ก็ผิดแผกไปหรือ กลายเป็นคาท่ีไม่มีความหมาย คาที่มีเสียงพยญั ชนะและเสียงสระอยา่ งเดียวกนั แตต่ า่ งกนั ท่ี เสียงวรรณยกุ ตย์ อ่ มมีความหมายแตกตา่ งกนั หรือกลายเป็นคาที่ไม่มีความหมาย เช่น กู กู้ ตา่ งมีความหมายผดิ กนั ส่วน กู๊ กู๋ ไมม่ ีความหมาย

๒๗ บตั รกจิ กรรม ศูนย์ที่ ๔ เรื่อง เสียงวรรณยกุ ต์ คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมขอ้ ความหรือคาลงในช่องว่างให้ถูกตอ้ ง ๑. เสียงวรรณยกุ ต์ คือ.................................................................................................. ๒. หนา้ ที่ของวรรณยกุ ต์ คือ........................................................................................ ๓. วรรณยกุ ตม์ ีก่ีรูปกี่เสียง คือ...................................................................................... ๔. นอน กวาด เศษ ท่ี แลว้ คาต่อไปน้ีมีวรรณยกุ ตใ์ ดบา้ ง ....................................... ๕. ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งคาท่ีมีวรรณยกุ ต์ สามญั เอก โท ตรี จตั วา เช่น .......................

๒๘ บัตรเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ที่ ๔ เสียงวรรณยกุ ต์ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมขอ้ ความหรือคาลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. เสียงวรรณยกุ ต์ คือ เสียงท่ีเกิดข้ึนจากเสียงสระท่ีทาใหเ้ กิดเสียงสูง ต่า ในระดบั ต่างๆ กนั ๒. หนา้ ที่ของวรรณยกุ ต์ คือ ทาใหค้ วามหมายของคาเปล่ียนแปลงไป ๓. วรรณยกุ ตม์ ีก่ีรูปก่ีเสียง มี ๔ รูป ๕ เสียง คือ สามญั เอก ่่ โท ่ั ตรี ๊๊ จตั วา ๊๋ ๔. นอน กวาด เศษ ท่ี แลว้ คาตอ่ ไปน้ีมีวรรณยกุ ตเ์ สียง สามญั เอก โท ตรี จตั วา ๕. ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งคาท่ีมีวรรณยกุ ต์ สามญั เอก โท ตรี จตั วา เช่น เดก็ เหลก็ หดั เกบ็

๒๙ บัตรคำส่ัง ศูนย์ที่ ๕ พยำงค์ ๑. อา่ นบตั รเน้ือหา บนั ทึกลงในสมดุ วิชาภาษาไทย ๒. อ่านบตั รกิจกรรมแลว้ ตอบลงในสมุดจดงานนกั เรียน ๓. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เมื่อปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหเ้ กบ็ บตั รคาสัง่ บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม ลงในกลอ่ งเดิมใหเ้ รียบร้อย ก่อน เปล่ียนไปทากิจกรรมที่ศูนยอ์ ื่นตอ่ ไป ถา้ ศูนยก์ ารเรียนไมว่ า่ งใหเ้ ขา้ ศูนยส์ ารอง หา้ มหยบิ ช้ินใดชิ้นหน่ึงติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ สมุดจดงานของนกั เรียน

๓๐ บัตรเนื้อหำ ศูนย์ที่ ๕ พยำงค์ พยางค์ เกิดจากการนาเอา เสียงสระ เสียงพยญั ชนะ และเสียงวรรณยกุ ต์ มาประสมกนั จะทา ใหเ้ กิดเป็นหน่วยเสียง เช่น คือ - เกิดจากเสียงพยญั ชนะ ค + สระ อือ คน - เกิดจากเสียงพยญั ชนะ ค+ สระ โอะ (ลดรูป) เสียงวรรณยกุ ตส์ ามญั + พยญั ชนะ น พยางคห์ น่ึงอาจเป็นคาหน่ึงคากไ็ ด้ หรือ หลาย ๆ พยางคเ์ ป็นหน่ึงคากไ็ ด้ เช่น คา พยางค์ กิน นา ยา ตา ๑ พยางค์ นาที บิดา มาลี โรงเรียน ๒ พยางค์ นาฬิกา วิทยุ ประชาชน ๓ พยางค์ เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปลง่ ก่อน มีเสียงพยญั ชนะ ๒๑ เสียง อยตู่ น้ พยางคห์ รือตน้ คา คือ เป็นเสียงพยญั ชนะตน้ ไดท้ ้งั หมด เช่น เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ ก เช่น กิน แกง กาว เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ ค เช่น ไข่ เคม็ ฆอ้ ง เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ ฮ เช่น โห่ ฮา เสียงสระ หมายถึง เสียงท่ีเปล่งตามติดมากบั เสียงพยญั ชนะตน้ เช่น มี เป็นเสียงสระ อี มา เป็นเสียงสระ อา เสียงวรรณยกุ ต์ หมายถึง เสียงที่เปล่งพร้อมกบั เสียงสระ ใหม้ ีระดบั สูงต่าต่างกนั ไป เช่น นา เสียง สามญั ไต่ เสียง เอก พี่ เสียง โท นอ้ ง เสียง ตรี ขา เสียง จตั วา

๓๑ บัตรกจิ กรรม ศูนย์ที่ ๕ พยำงค์ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเติมคาลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. พยางค์ หมายถึง ..................................................................................... ๒. รสชาติ มี ... พยางค์ ยตุ ิธรรม มี ....... พยางค์ มรณภาพ มี ........ พยางค์ ๓. พยางค์ มีส่วนประกอบอยา่ งนอ้ ยที่สุด ...... ส่วน คือ .................................. ๔. เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ หมายถึง ............................................ ๕. เสียงพยญั ชนะตน้ พยางคข์ องคา กิน แกง กาว เคม็ ฆอ้ ง คือ.........................................

๓๒ บัตรเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๕ พยำงค์ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเติมคาลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง ๑. พยางค์ หมายถึง เสียงที่เกิดจากการประสมเสียงในภาษา คือ สระ พยญั ชนะ และ วรรณยกุ ตเ์ ขา้ ดว้ ยกนั ๒. รสชาติ มี ๒ พยางค์ ยตุ ิธรรม มี ๓ พยางค์ มรณภาพ มี ๔ พยางค์ ๓. พยางค์ มีส่วนประกอบอยา่ งนอ้ ยท่ีสุด ๓ ส่วน คือ พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ๔. เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งก่อน ๕. เสียงพยญั ชนะตน้ พยางค์ ของคา กิน แกง กาว เคม็ ฆอ้ ง คือ ก ค

๓๓ บัตรคำส่ัง ศูนย์ที่ ๖ คำ ๑. อ่านบตั รเน้ือหา บนั ทึกลงในสมุดวชิ าภาษาไทย ๒. อ่านบตั รกิจกรรมแลว้ ตอบลงในสมดุ จดงานนกั เรียน ๓. ตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรม เม่ือปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนเสร็จเรียบร้อยแลว้ ใหเ้ ก็บบตั รคาสัง่ บตั รเน้ือหา บตั รกิจกรรม บตั รเฉลยกิจกรรม ลงในกล่องเดิมใหเ้ รียบร้อย ก่อนเปลี่ยนไปทากิจกรรมที่ศนู ยอ์ ่ืนต่อไป ถา้ ศูนยก์ ารเรียนไมว่ า่ งใหเ้ ขา้ ศนู ยส์ ารอง หา้ มหยบิ ช้ินใดช้ินหน่ึงติดมือไปดว้ ย ยกเวน้ สมดุ จดงานของนกั เรียน

๓๔ บตั รเนื้อหำ ศูนย์ที่ ๖ คำ ควำมหมำยของคำ พระยาอปุ กิตศิลปสาร ใหค้ วามหมายของคาไว้ ดงั น้ี คา หมายถึง พยางคห์ น่ึงๆ คือ เสียงท่ีพูดออกมา ไดค้ วามหมายอยา่ งหน่ึง ตาม ความตอ้ งการของผพู้ ูดจะเป็นก่ีพยางคก์ ็ตาม เรียกวา่ หน่ึงคา ดวงพร หลิมรัตน์ ใหค้ วามหมายของคาไว้ ดงั น้ี คา หมายถึง คาท่ีมิไดป้ ระสมกบั คาอ่ืน มีความหมายชดั เจนอยใู่ นตวั อาจเป็นคาไทย หรือคาที่ไทยรับมาจากภาษาอื่นก็ได้ อาจมีเพยี งพยางคเ์ ดียวหรือหลายพยางคก์ ไ็ ด้ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (๒๕๓๘: ๔๕ ) ใหค้ วามหมายของ คาไว้ ดงั น้ี คา หมายถึงเสียงพูดหรือลายลกั ษณ์อกั ษรที่เขียนพิมพข์ ้ึนเพอื่ แสดงความคิด วาสนา บุญสม ใหค้ วามหมายของคาไว้ ดงั น้ี คา หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาคร้ังหน่ึงหรือหลายคร้ังก็ไดแ้ ตจ่ ะตอ้ งมีความหมาย ความหมายของคาในภาษาไทยมีหลายความหมายข้ึนกบั ตาแหน่งหนา้ ท่ีของคาในแต่ละประโยค บางคามีความหมายโดยตรง บางคามีความหมายโดยนยั และบางคามีความหมายใกลเ้ คียงกนั ดงั น้นั คา หมายถึง เสียงท่ีเปลง่ ออกมาแลว้ มีความหมายชดั เจน ประเภทของคามี ๒ ประเภท คือ ๑. คาพยางคเ์ ดียว เช่น พอ่ แม่ นอ้ ง เพอื่ น คน กิน ขา้ ว ไข่ ชอ้ น นอก ใน (คาไทย แท)้ โกรธ บาป บญุ ฟรี เก๋ (มาจากภาษอ่ืน) ๒. คาหลายพยางค์ สะดุด ดิฉนั โอโ้ ฮ ทะมดั ทะแมง (คาไทยแท)้ ประสูติ แบตเตอรี่ อนิจจา เวทนา บิดา มารดา ศีรษะ จมกู (มาจากภาษาอ่ืน )

๓๕ บัตรกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๖ คำ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนกาเคร่ืองหมายถูก () หนา้ ขอ้ ความกลา่ วถูกตอ้ ง และกาเคร่ืองหมายผิด () หนา้ ขอ้ ความท่ีกลา่ วไม่ถูกตอ้ ง .......... ๑. คา หมายถึง เสียงท่ีเปล่งออกมามีความหมายชดั เจน .......... ๒. ประเภทของคา มี ๒ ประเภท คือ คาพยางคเ์ ดียว และ คาหลายพยางค์ ......... ๓. กิน เก๋ ขา้ ว ฟรี เป็นคาพยางคเ์ ดียวที่เป็นคาไทยแท้ ...........๔. ประสูติ แบตเตอร่ี อนิจจา เวทนา บิดา มารดา เป็นคาหลายพยางค์ ...........๕. ตา ยาย นอน เลน่ รัก พ่ี นอ้ ง เป็นคาพยางคเ์ ดียวที่เป็นคาไทยแท้

๓๖ บัตรเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๖ คำ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนกาเครื่องหมายถูก () หนา้ ขอ้ ความกลา่ วถูกตอ้ ง และกาเครื่องหมายผดิ () หนา้ ขอ้ ความท่ีกล่าวไมถ่ กู ตอ้ ง .... ...... ๑. คา หมายถึง เสียงท่ีเปล่งออกมามีความหมายชดั เจน .... ...... ๒. ประเภทของคา มี ๒ ประเภท คือ คาพยางคเ์ ดียว และ คาหลายพยางค์ ..... .... ๓. กิน เก๋ ขา้ ว ฟรี เป็นคาพยางคเ์ ดียวท่ีเป็นคาไทยแท้ .... .... .๔. ประสูติ แบตเตอร่ี อนิจจา เวทนา บิดา มารดา เป็นคาหลาย พยางค์ ...... .....๕. ตา ยาย นอน เล่น รัก พ่ี นอ้ ง เป็นคาพยางคเ์ ดียวท่ีเป็นคาไทยแท้

๓๗ บตั รคำส่ัง ศูนย์ท่ี ๗ ศูนย์สำรอง เกมคำผวนพำสนุก ร่วมเลน่ เกม“ คาผวนพาสนุก” โดยใหน้ กั เรียนอา่ นคาประพนั ธแ์ ลว้ บอกวา่ เป็นการผวนคาจากคาใดเป็นคาใด จะเขียนลงสมุดจดงานหรือไม่เขียนก็ได้ เม่ือมีศูนยอ์ ื่นวา่ งใหห้ ยดุ ทากิจกรรมทนั ที เก็บส่ือการสอนเขา้ ท่ีใหเ้ รียบร้อยแลว้ ยา้ ยไป ศนู ยใ์ หมโ่ ดยเร็ว

๓๘ บตั รกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๗ ศูนย์สำรอง เกมคำผวนพำสนุก กา ใดบรรเทาร้อนถอนพษิ ไข้ (.....กายนิ - กินยา........) กา อะไรดูดแลว้ โยนซ้าโดนขย้ี (...........................) อี อะไรไมน่ ่ารักเลยสกั ที (...........................) อี อะไรใจดีมีเมตตา (..........................) บี อะไรแจงกระจายรายรับจ่าย (.........................) วา อะไรควรตรงเสมอมา (.........................) วา อะไรคูเ่ สน่หาพระอภยั (.........................)

๓๙ บตั รเฉลยกจิ กรรม ศูนย์ท่ี ๗ ศูนย์สำรอง เกม คำผวนพำสนุก กา ใดบรรเทาร้อนถอนพษิ ไข้ (กายนิ - กินยา) กา อะไรดูดแลว้ โยนซ้าโดนขย้ี (กายน่ - กน้ ยา) อี อะไรไม่น่ารักเลยสกั ที (อีปรับ - อปั รีย)์ อี อะไรใจดีมีเมตตา (อีรา - อารี) บี อะไรแจงกระจายรายรับจ่าย (บีชนั - บญั ชี) วา อะไรควรตรงเสมอมา (วาเล - เวลา) วา อะไรคูเ่ สน่หาพระอภยั (วาลนั - วลั ลา)

๔๐ แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง เสียงในภำษำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งเพียงคาตอบเดียว ๑. ขอ้ ใดเป็นสระเดี่ยวท้งั หมด ก. อา อิ โอ อี ข. อวั อา อา เอา ค. เอะ อา อะ เอียะ ง. โอะ เออ เอาะ อวั ะ ๒. ขอ้ ใดแยกเสียงสระประสมไดถ้ ูกตอ้ ง ก. อวั (อุ+อา) ข. เอียะ ( อี+อะ) ค. เอือะ (อี+อะ) ง. อวั ะ ( อ+ุ อะ) ๓. เสียงพยญั ชนะในขอ้ ใดมีรูปพยญั ชนะใชเ้ พียงรูปเดียว ก. เสียง จ ข. เสียง ย ค. เสียง ช ง. เสียง ล ๔. พยญั ชนะในขอ้ ใดเมื่ออา่ นออกเสียงแลว้ มีเสียงคลา้ ยไอน้าแทรกออกมาตาม ไรฟัน ก. ซ ฟ ศ ข. ศ ษ ส ค. ซ ฝ ฌ ง. ษ ฉ ส

๔๑ ๕. ขอ้ ใดมีคาท่ีประสมดว้ ยสระเสียงส้ันท้งั หมด ก. มะยมแช่อิ่ม ข. มะลิลาน่าเที่ยว ค. มะลิไหวพ้ ระ ง. มะระตม้ หมู ๖. รูปพยญั ชนะในขอ้ ใดที่ไมไ่ ดเ้ ป็นพยญั ชนะทา้ ยพยางคเ์ ลย ก. ห ฌ ข. อ ฒ ค. ฟ ฝ ง. ฉ ฆ ๗. เสียงพยญั ชนะในขอ้ ใดท่ีประสมอยใู่ นสระเกิน ก. ร ล ว ข. อ ย ว ค. ม ย ว ง. น ย ว ๘. เสียงพยญั ชนะทา้ ยพยางคใ์ นภาษาไทยมีก่ีเสียง ก. ๑๐ เสียง ข. ๙ เสียง ค. ๘ เสียง ง. ๗ เสียง

๔๒ ๙. คาในขอ้ ใดมพี ยญั ชนะทา้ ยพยางคอ์ ยใู่ นมาตราเดียวกนั ท้งั หมด ก. บญุ ดล ลาภ เทพ ข. ควร มขุ เมฆ อาจ ค. กบฏ ก๊าซ ทกุ ข์ บาป ง. ครุฑ เวช รถ เลิศ ๑๐. คาในขอ้ ใดไม่มเี สียงวรรณยกุ ตซ์ ้ากนั เลย ก. น้าร้อนปลาเป็น ข. ตาบอดไดแ้ วน่ ค. คนลม้ อยา่ ขา้ ม ง. ใจเร็วด่วนได้

๔๓ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง เสียงในภำษำ ขอ้ คาตอบ ๑ก ๒ง ๓ก ๔ข ๕ค ๖ก ๗ค ๘ค ๙ง ๑๐ ค

๔๔ บรรณำนุกรม ดวงพร หลิมรัตน์ . (๒๕๔๗). หนงั สือเรียนภำษำไทย ม.๑ . กรุงเทพฯ : แมค็ . เพญ็ ศรี จนั ทร์ดวง. (๒๕๔๑). คู่มือหลกั ภำษำไทยม.ต้น. กรุงเทพฯ : แมค็ . ฝ่ายวิชาการชมรมเดก็ . (๒๕๔๙).นำนำเร่ืองไทยไทย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์. ฝ่ายวิชาการสานกั พมิ พป์ ระสานมิตร. (ม.ป.ป) . คู่มือภำษำไทย(ท๑๐๑ ท๑๐๒) ช้ันมธั ยมศึกษำปี ที่ ๑ . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พป์ ระสานมิตร ราชบณั ฑิตยสถาน.(๒๕๓๘). พจนำนุกรมฉบบั รำชบัณฑติ ยสถำน พ.ศ. ๒๕๒๕ . พิมพค์ ร้ังท่ี ๕. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั . วาสนา บุญสม (๒๕๔๔). หนงั สือบทเรียนสำเร็จรูป ภำษำไทย เสียง คำ ควำมหมำย. กรุงเทพฯ : ธรรมรักษก์ ารพิมพ.์ อปุ กิตศิลปสาร, พระยา (๒๕๓๙). หลกั ภำษำไทย.กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช.

๔๕

๔๖

๔๗

๔๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook