Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีภาษีอากร หน่วยที่ 1

การบัญชีภาษีอากร หน่วยที่ 1

Published by อดิศร ชัยชาญ, 2021-07-08 03:31:46

Description: หน่วยที่ 1

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความร้เู กย่ี วกับภาษอี ากร





ความหมายของภาษีอากร 1. ภาษอี ากรโดยท่ัวไปจะมลี กั ษณะบังคับจัดเกบ็ 2. ภาษอี ากรโดยทว่ั ไปไมม่ ผี ลตอนแทนโดยตรงตอ่ ผ้เู สยี ภาษี 3. ภาษีอากรไม่เกิดภาระการชาระคืนของรัฐบาล 4. ภาษอี ากรมีลักษณะเป็นการเคลอ่ื นยา้ ยทรพั ยากรจากภาคเอกชนไปสู่ภาครฐั บาล 5. ภาษีอากรไมจ่ าเป็นตอ้ งเรยี กเก็บเปน็ เงิน เสมอไป

วตั ถุประสงคใ์ นการจดั เกบ็ ภาษอี ากร 1. เพ่อื หารายไดม้ าใช้จา่ ยในกิจการของรฐั 2. เพ่ือควบคมุ หรอื ส่งเสรมิ พฤตกิ รรมทางเศรษฐกิจ 3. เพือ่ กระจายรายได้และทรัพย์สนิ ให้เป็นธรรม 4. เพอื่ รกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ

ลกั ษณะของภาษอี ากรท่ีดี ของ อดมั สมทิ (Adam Smit) 1. หลักความเป็นธรรม 2. หลักความแน่นอน 3. หลกั ความเป็นกลาง 4. หลกั ความยืดหยุ่น 5. หลกั ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ าร 6. หลักอานวยรายได้

โครงสรา้ งของภาษอี ากร 1.ภาระภาษี หมายถงึ ส่วนของรายไดท้ ี่แทจ้ ริงทล่ี ดลงเน่ืองจากการจัดเก็บภาษีของรฐั บาล บางกรณีผูเ้ สียภาษีตามกฎหมายมิใช่ผแู้ บกรบั ภาระภาษไี วท้ า้ ยทสี่ ุดก็ได้ ดังน้ันภาระภาษีจึง พจิ ารณาแยกเปน็ 2 นยั คอื ภาระภาษีทางกฎหมาย และภาระภาษที างเศรษฐกิจ 2.ฐานภาษี หมายถึง สิง่ ทเ่ี ป็นมูลเหตขุ ั้นต้นทท่ี าให้บุคคลตอ้ งเสยี ภาษอี ากร ฐานภาษใี น ความหมายเบื้องต้นทสี่ าคญั ได้แก่ ฐานรายได้ ฐานการบริโภค ฐานทรพั ย์สนิ และฐาน สทิ ธิพิเศษในการประกอบการ 3.อตั ราภาษี หมายถงึ อตั ราท่เี รียกเก็บภาษีจากฐานภาษี เพอื่ นาไปคานวณผลลัพธ์ภาษีอากรท่ี จะต้องจา่ ยใหร้ ัฐบาล

อตั ราภาษภี าษอี ากร 1. อัตราภาษีคงที่ คือ อัตราการเสยี ภาษจี ะคงทเี่ สมอไมว่ ่ารายได้จะมากหรือน้อยเพียงใดเชน่ ภาษีการค้า ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร เช่น อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 30 และ อัตรา ภาษีมูลคา่ เพ่ิม รอ้ ยละ 7 เปน็ ตน้ 2. อัตราภาษกี ้าวหนา้ คอื อตั ราการเสียภาษีจะสูงขึ้นเมอ่ื มรี ายไดเ้ พิ่มขน้ึ เชน่ ภาษีเงินไดบ้ คุ คล ธรรมดา ซึ่งการเก็บตามอัตราน้ีได้รับการยกย่องว่าให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชน ทั้งนี้เพื่อช่วยลด ความไมเ่ ท่าเทยี มกันในรายได้ของบุคคล และจะช่วยให้การกระจายรายได้เป็นไปอย่างท่ัวถงึ เช่นการ จัดเกบ็ ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ซ่ึงมอี ตั ราภาษีตั้งแต่ร้อยละ 5 ถงึ รอ้ ยละ 37 3. อัตราภาษีถอยหลงั คือ อตั ราการเสียภาษีจะต่าลงเมอื่ มรี ายได้สูงขึน้ ซ่งึ อัตราการเกบ็ ภาษี ประเภทนจ้ี ะทาให้เกดิ ความไมเ่ ทา่ เทยี ม

การชาระภาษีอากร 1. การประเมนิ ภาษีโดยการประเมินตนเอง 2. การประเมนิ ภาษโี ดยเจา้ พนักงาน 3. การประเมนิ ภาษีโดยการหกั ภาษี ณ ท่ีจา่ ย 4. การชาระภาษีล่วงหนา้

การบงั คับใชก้ ฎหมายภาษีอากร 1. โทษทางอาญา ไดแ้ ก่ โทษปรบั หรือจาคุม หรอื ท้ังจาทั้งปรบั 2. โทษทางแพง่ ไดแ้ ก่ โทษทอ่ี อกมาในรูปแบบของดอกเบีย้ และเงินเพิ่ม

การจาแนกประเภทภาษี 1 ภาษีทางตรง คอื ภาษีท่ีผเู้ สีย 2 ภาษีทางอ้อม คอื ผู้เสยี ภาษี ภาษีไม่อาจผลกั ภาระไปให้ผอู้ น่ื ได้ สามารถผลักภาระภาษไี ปใหผ้ ู้อ่นื ได้ เชน่ ภาษเี งินไดบ้ คุ คธรรมดา ง่าย เช่น ภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ภาษีมรดก ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ภาษีศลุ กากร ภาษีทรพั ย์สนิ เป็นต้น ภาษีสรรพสามิต เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook