Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน

บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน

Published by uma_si, 2022-12-27 02:48:47

Description: บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน

Search

Read the Text Version

วิทยาการคานวณ ม.3 บทท่ี 6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรูเ้ ทา่ ทัน คลกิ เพื่อเข้าส่บู ทเรยี น

กรุ ณากรอกชือ่ เข้ าส่ ูระบบ

ยนิ ดตี ้อนรบั 2 เข้าส่บู ทเรยี น!

เมนหู ลกั คาชแ้ี จง การประเมิน แบบทดสอบ ความน่ าเช่ือถือของข้อมูล ผจู้ ดั ทา เหตุผลวิบัติ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งปลอดภยั กฎหมายเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ การใช้งานลิขสิ ทธ์ิ ท่ีเป็นธรรม

คาช้แี จง 1. ให้นักเรยี นศึ กษาบทเรยี น 2. ให้นั กเรยี นทาแบบทดสอบหลัง เรยี นทัง้ หมด 10 ข้อ 10 คะแนน

1 การประเมิน ความน่ าเชอื่ ถือของข้อมลู

2 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ประเมินความน่าเชือ่ ถือของข้อมูลได้ อภปิ รายข้อมลู ท่เี ป็นเหตุผลวบิ ัตไิ ด้ รูเ้ ท่าทนั ส่ือและข่าวลวง อภิปรายกฎหมายเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ ใชง้ านลิขสิทธ์ทิ ่ีเป็นธรรม

3 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น โฆษณาท่ีส่ งมากับอีเมล จัดเป็นสแปม ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ?

4 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น รายงานผู้ให้บริการเมื่อ พบว่ามีการกลั่นแกล้งผู้อ่ืนใน ส่ือสังคม ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ?

5 ทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น กา รนา รู ปภ า พ ท่ีเพ่ื อ น เ ป็ น ผู้ ถ่ า ย ม า ป รั บ แ ต่ ง แ ล ะ โพสต์ลงสื่ อทางสั งคม ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิ ทธ์ิถูกต้อง หรอื ไม่ ?

6 ทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น ใ น ปั จ จุ บั น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ท า ไ ด้ ง่ า ย ดังน้ั นการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเรื่องท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ทุ ก ค น ซ่ึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี ค ว า ม รู ้ ค ว า ม ร อ บ ค อ บ เข้าใจเทคโนโลยีและศึ กษาเง่ือนไขในการใช้งานไม่ว่าจะ เป็นการใช้สมาร์ทโฟน เครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้งาน แ อ พ พ ลิ เ ค ช่ั น ทุ ก ค น จึ ง ค ว ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ติ ด ต า ม ก า ร เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ในบทน้ี นั กเรยี นจะได้เรยี นรูเ้ ก่ียวกับความน่าเชอื่ ถือ ของข้อมูล เหตุผลวิบัติ การรูเ้ ท่าทันสื่อ และการใช้ไอทีอย่าง ปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ กฎหมายท่ีเก่ียวข้ องกับ คอมพิวเตอรแ์ ละการใชง้ านลิขสิทธ์ทิ ่ีเป็นธรรม

7 การประเมิน ความน่ าเช่ือถือของข้อมลู การนาข้อมูลมาใช้ในการเรียน การ ทางานและการตดั สินใจตา่ งๆ จะตอ้ งพิจารณา ค ว า ม ถู กต้ อ ง ข อ ง ข้ อ มู ล ที่ น า ม า จ า กห ล า ย แหล่งข้อมูลโดยต้องเป็นแหล่งข้อมูลท่ีมีความ น่ าเช่ือถือ มีความถูกต้องสมบูรณ์ สอดคล้อง ตรงตามความต้องการและมคี วามทนั สมยั

8 การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของข้อมลู เพื่ อให้ ได้ข้ อมูลท่ีมีคุ ณภาพ นั กเรียนอาจใช้การ ประเมนิ ความน่ าเชอื่ ถือของข้อมูลโดยใช้ประเด็นการพิจารณา ของ \"พรอมท์\" PROMPT ไดแ้ ก่ การนาเสนอ ความสั มพันธ์ วัตถุประสงค์ (Presentation) (Relevance) (Objectivity) วิธกี าร แหลง่ ท่ีมา เวลา (Method) (Provenance) (Timeliness)

9 การประเมิน ความน่ าเชื่อถือของข้อมลู การนาเสนอ (Presentation) การนาเสนอข้อมูลท่ีดี จะต้องมีการวางเค้าโครงท่ี เหมาะสมมีรายละเอียดชัดเจน ไม่คลุมเครือ ใช้ภาษาและ สานวนถูกต้อง มีข้อมูลตรงตามท่ีต้องการ เนื้ อหามีความ กระชับ สามารถจับใจความหรอื ประเดน็ ท่สี าคัญได้

10 การประเมิน ความน่าเช่อื ถือของข้อมลู ความสั มพันธ์ (Relevance) การพิจารณาประเด็นเก่ียวกับความสั มพันธ์จะต้อง คานึ งถึงความสอดคล้องของข้อมูลกับส่ิ งท่ีต้องการถึงแม้ว่า ข้อมูลน้ั นอาจมีคุณภาพมากแต่ถ้าไม่สั มพันธ์หรือสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ ก็ไม่สามารถนาไปใช้ได้ เช่น นั กเรียนจะไป เท่ียวเกาะภูเก็ตซ่ึงอยู่ทะเลฝ่ ังอันดามัน แต่ค้นหาข้ อมูลท่ี เก่ียวกับทะเลฝ่ ังอ่าวไทย

11 การประเมิน ความน่ าเช่ือถือของข้อมูล วัตถุประสงค์ (Objectivity) ข้อมูลท่ีจะนามาใช้ต้องมีวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจนไม่ใช่ ข้อมลู ท่เี ป็นการแสดงความคิดเห็นหรอื มีเจตนาแอบแฝง ตวั อย่างข้อมูลท่มี ีเจตนาแอบแฝง เชน่ • ส่ื อสารด้วยการให้ข้อมูลด้านเดียวโดยมีวัตถุประสงค์อ่ืน พยายามปิดบงั ข้อมูลท่อี าจจะส่งผลกระทบตอ่ ตนเอง • สื่อสารดว้ ยอารมณ์เชงิ บวกหรอื ลบ • มีการโฆษณาแอบแฝง เช่น นายแบบช่ือดังเผยแพร่ตาราง การออกกาลังกายแตแ่ ฝงโฆษณาอาหารเสรมิ ลดความอว้ น • มีส่ วนได้ส่ วนเสี ยในเรื่องใดเร่ืองหน่ึ ง เช่น นั กวิจัยเผยแพร่ ผลงานวจิ ัยท่ีเอ้อื กบั บรษิ ัทท่สี นับสนนุ ทนุ วจิ ัย

12 การประเมิน ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมลู วิธกี าร (Method) ข้อมูลท่นี ามาใช้ เป็นข้อมลู ท่ีมกี ารวางแผนการเก็บรวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เช่น หากนั กเรียนต้องการใช้แอพพลิเคชั่น ตรวจสอบลาดับคะแนนสอบวิชาวิทยาการคานวณของตนว่าอยู่ใน ระดบั ใดของโรงเรยี น แอพพลเิ คชัน่ น้ั นควรมกี ารเตรยี มข้อมูลดังน้ี 1. เก็บข้อมูลคะแนนสอบวิชาวิทยาการคานวณของนักเรยี นท้งั หมด 2. นาข้อมูลมาจัดเรยี งลาดบั จากมากไปน้ อย 3. ใช้ค่าสถิติเปอรเ์ ซน็ ไทล์

13 การประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของข้อมูล แหลง่ ท่มี า (Provenance) ข้ อ มู ล ท่ี น่ า เ ช่ื อ ถื อ ต้ อ ง มี ก า ร ร ะ บุ แหล่งท่ีมาอย่างชัดเจนและเป็นแหล่งข้อมูลท่ี เช่อื ถือได้

14 การประเมิน ความน่าเช่อื ถือของข้อมลู เวลา (Timeliness) ข้ อ มู ล ท่ี มี คุ ณ ภ า พ จ ะ ต้ อ ง มี ค ว า ม เ ป็ น ปัจจุบันหรือมีความทันสมัยและมีการระบุช่วงเวลา ในการสรา้ งข้อมูลท่ีตรงกับความเป็นจรงิ

15 การตรวจสอบความน่าเชอื่ ถือ ของแหล่งทมี่ าของข้อมลู ในการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์หรือ แหล่งท่ีมาของข้อมูลเพ่ือนาข้อมูลไปใช้งาน และอ้างอิง จาเป็นต้องมีการตรวจสอบความ น่ าเ ชื่อ ถื อ ขอ งแหล่ งท่ีม าของ ข้ อ มูลก่ อ น ไม่ เ ช่ น นั้ น อ าจ จ ะ ส ร้า ง ค ว าม เ สี ย ห าย ไ ด้ วิ ธี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม น่ า เ ชื่ อ ถื อ ข อ ง แหล่งข้อมูลสามารถทาได้ดังน้ี

16 การตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือ ของแหล่งทมี่ าของข้อมลู เว็บไซต์หรือแหล่งท่ีมาของ 1 ข้อมูลต้องบอกวัตถุประสงค์ในการ ส ร้ า ง ห รื อ เ ผ ย แ พ ร่ ข้ อ มู ล ไ ว้ ใ น เว็บไซตอ์ ย่างชัดเจน 2 การนาเสนอเนื้อหาต้องตรง ตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือ เผยแพรข่ ้อมูลของเว็บไซต์

17 การตรวจสอบความน่าเช่ือถือ ของแหลง่ ทมี่ าของข้อมลู 3 เ นื้ อ ห า เ ว็ บ ไ ซ ต์ ไ ม่ ขั ด ต่ อ กฎหมายศี ลธรรมและจรยิ ธรรม 4 มี ก า ร ร ะ บุ ชื่ อ ผู้ เ ขี ย น บทความหรอื ผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์

18 การตรวจสอบความน่าเช่อื ถือ ของแหลง่ ทมี่ าของข้อมูล 5 มีการอ้างอิงแหล่งท่ีมาหรือ แหล่งต้นตอของข้ อมูลท่ีมีเน้ื อหา ปรากฏบนเว็บไซต์ 6 สามารถเช่ือมโยง (link) ไป เ ว็ บ ไ ซ ต์ อื่ น ท่ี อ้ า ง ถึ ง เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ แหลง่ ต้นตอของข้อมลู ได้

19 การตรวจสอบความน่าเช่อื ถือ ของแหล่งทมี่ าของข้อมูล 7 มีการระบุวันเวลาในการ เผยแพรข่ ้อมูลบนเว็บไซต์ 8 มีก าร ให้ ท่ีอ ยู่ห รือ อี เ ม ล ท่ี ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ ได้

20 การตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือ ของแหลง่ ทม่ี าของข้อมูล 9 มีช่องทางให้ ผู้อ่านแสดง ความคิดเห็น 10 มีข้อความเตือนผู้อ่านให้ใช้ วิ จ า ร ณ ญ า ณ ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ ช้ ข้อมลู ท่ปี รากฏบนเว็บไซต์

21 การตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือ ของแหลง่ ทม่ี าของข้อมลู บ า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ อ า จ ใ ช้ ชื่ อ ท่ี ค ล้ า ย กั บ ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร ท่ี เ ป็ น แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ท่ี เชื่อถือได้หรือมีส่ วนท่ีแตกต่างกันเล็กน้ อย ซ่ึงเว็บไซต์เหล่าน้ี อาจให้ข้อมูลท่ีคาดเคล่ือน จากความเป็นจริง หากผู้ใช้งานไม่ได้สั งเกต ใ ห้ ร อ บ ค อ บ อ า จ ท า ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ผิ ด ว่ า เ ว็ บ ไ ซ ต์ เหล่าน้ีเป็นแหลง่ ตน้ ตอของข้อมูล

21 การตรวจสอบความน่าเชอื่ ถือ ของแหลง่ ทมี่ าของข้อมลู ผู้ใช้สามารถตรวจสอบเบ้ืองต้น ได้โดยดูข้ อมูลจากการจดทะเบียนชื่อ โ ด เ ม น ว่ า เ ป็ น ห ม า ย เ ล ข ไ อ พี เ ดี ย ว กั บ หน่ วยงานท่ีรู้จักและมีความน่ าเชื่อถือ ห รื อ ไ ม่ ซ่ึ ง มี เ ว็ บ ไ ซ ต์ ท่ี ใ ห้ บ ริ ก า ร ตร ว จ ส อ บ ชื่ อ โ ด เ ม น แล ะ ข้ อ มู ล อ่ื น ๆ ข อ ง เว็บไซต์ เช่น whois.domaintools.com

1 เหตผุ ลวบิ ตั ิ

2 เหตุผลวิบัติ การใช้เหตุผลเป็นวธิ หี น่ึงทส่ี รา้ งความน่าเชอื่ ถือ ให้กับข้ อคิดเห็ นหรือข้อสรุ ปต่างๆ การให้เหตุผลท่ี เหมาะสมมีส่ วนทาให้การตัดสิ นใจยอมรับความเห็น และข้อสรุปทาได้ง่ายข้ึน อย่างไรก็ตามการให้เหตุผลมี ทงั้ ทเี่ หมาะสมและไม่เหมาะสมแตกต่างกนั ไป

3 เหตผุ ลวิบัติ ในปัจจุบันการให้เหตุผลท่ีไม่เหมาะสม พบเห็นได้ มากข้ึน โดยผู้ให้เหตุผลอาจมีเจตนาบิดเบือนความจริง หรือคิดไปเองไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง จนทาให้ เหตุผลเหลา่ นี้ อาจกลายเป็นเหตุผลวิบตั ิหรือตรรกะวิบัติได้ เ ห ตุ ผ ล วิ บั ติ เ ป็ น ก า ร โ ต้ แ ย้ ง โ ด ย ก า ร ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล ที่ คลาดเคล่ือนกับความเป็นจริงหรือมีความเป็นจริงเพียง บางส่วน จึงนาไปสู่ข้อสรุปที่มีความขัดแย้งกบั ข้อมูลที่เป็น ข้อเทจ็ จรงิ

4 เหตผุ ลวิบัติ เช่น การโต้แย้งบนเว็บบอร์ดหรือเครือข่ายทาง สังคมที่มีการใช้ถ้อยคาประชดประชัน การใช้ความรู้สึ ก ส่วนตวั การใชถ้ ้อยคาทกี่ อ่ ให้เกดิ ความเกลียดชงั ซ่ึงกระบวนการเหล่าน้ี อาจนาไปสู่การสรุ ปผล ห รื อ ก า ร ตี ค ว า ม ข้ อ ส รุ ป จ า ก ก า ร โ ต้ แ ย้ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ น า ข้อเท็จจริงมาพิจารณา ทาให้ผู้รับสารได้รับข่าวสารที่ คลาดเคลอื่ น

5 เหตุผลวิบัติ เหตผุ ลวบิ ตั สิ ามารถจาแนกออกไดเ้ ป็นสองแบบดงั น้ี เหตุผลวิบัติแบบเป็นทางการ เหตผุ ลวิบัตแิ บบไม่เป็นทางการ

6 เหตุผลวิบัติ เหตผุ ลวบิ ตั แิ บบเป็นทางการ เหตุผลวิบัติแบบทางการ เกิดจากการให้ เหตุผลท่ีใช้หลักตรรกะไม่ถูกต้องแต่เขียนอยู่ใน รูปแบบท่เี ป็นทางการทาให้ดูสมเหตสุ มผล

7 เหตุผลวิบัติ ตัวอย่าง มีคนกาลงั หาเสียงและพดู ว่า “ถ้าไมเ่ ลือกผมผมจะไม่ พัฒนาหมบู่ า้ น” ซ่งึ ถ้านั กเรยี นฟังแล้วอาจตีความว่าถ้าเลือกแล้วจะมี การพัฒนาหมู่บ้าน แต่ในความเป็นจริงถึงแม้จะถูกเลือกก็ อาจจะไม่มกี ารพัฒนาหมู่บา้ นกไ็ ด้

8 เหตุผลวิบัติ เหตผุ ลวบิ ตั ไิ ม่แบบเป็นทางการ เ กิ ด จ า ก ก า ร ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล ท่ี ไ ม่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ การใช้หลักตรรกะในการพิจารณาแต่เป็นการ สั นนิ ษฐานหรือเล่นสานวน ซ่ึงเกิดจากการใช้ ภ า ษ า ชั ก น า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ผิ ด เ ช่ น ก า ร พู ด กากวมหรอื การพูดมากเกินความจาเป็น

9 เหตุผลวิบัติ เช่น • การให้เหตุผลโดยอ้างถึงลักษณะของตัวบุคคลโดยไม่ สนใจเนื้ อหาสาระของข้อความ • การให้เหตุผลโดยอ้างถึงผู้พูดว่ามีพฤติกรรมขัดแย้งกับ ส่ิงทพ่ี ดู เพราะฉะนั้นส่ิงทพ่ี ดู มาจงึ เชอ่ื ถือไม่ได้ • ให้เหตุผลโดยอ้างถึงความน่ าสงสารหรือความเห็นอก เห็นใจแลว้ เปลีย่ นเป็นความถูกต้อง

10 เหตุผลวิบัติ • ให้ เหตุผลโดยอ้างถึงคนส่ วนใหญ่ ปฏิบัติเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจึงเป็นส่ิงทถี่ ูกตอ้ ง • ให้เหตุผลโดยสร้างทางเลือกไว้แค่ 2 ทาง แต่ในความ เป็นจรงิ อาจมีทางเลอื กอน่ื อกี มากมาย • ให้เหตุผลเกนิ จรงิ โดยการบอกเหตุผลวา่ เมอื่ เกิดส่ิงน้ี แล้วจะ ทาให้เกดิ อกี ส่ิงหน่ึ งตามมาซ่งึ เกนิ จากความเป็นจรงิ ไปมาก

11 เหตุผลวิบัติ • ให้เหตุผลโดยเบี่ยงเบนประเด็นการโต้แย้งของผู้อ่ืนให้ กลา ยเ ป็ นอี กเ ร่ือง หน่ึ งแ ล้วโ จม ตีจา กป ระเ ด็น ที่ถู ก บดิ เบอื นนั้น • ให้เหตุผลโดยอา้ งวา่ ส่ิงใดส่ิงหน่ึ งเป็นส่ิงพิเศษไม่เหมือน ใคร เพราะฉะนั้ นจะเอาไปเปรียบเทียบส่ิ งอื่นไม่ได้ทั้งท่ี ประเด็นที่กล่าวอ้างนั้ นไม่ได้เก่ียวข้องกับส่ิ งท่ีโต้แย้งกัน อยเู่ ลย

1 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา่ งปลอดภยั

2 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างปลอดภยั การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีวัตถุประสงค์หลายอย่าง เช่น การใช้ งานเพ่ือทาธุรกรรมอิเล็คทรอนิ กส์ การ ใช้งานเพ่ือสนั บสนุนการทางานและการ ใช้งานทั่วไป ซ่ึงจะต้องคานึ งถึงความ ปลอดภัยในการใช้งาน

3 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งปลอดภัย การทาธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์อย่างปลอดภัย ก า ร ท า ธุ ร ก ร ร ม ผ่ า น อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ห รื อ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์นั้น กลายเป็นเร่อื งทีใ่ กล้ตัว คนไทยมากข้ึนหลังจากรัฐบาลไทยได้ให้ธนาคาร พาณิ ชย์ต่างๆเปิดโครงการพร้อมเพย์เพื่อให้ทา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ ได้สะดวกมากย่ิงข้ึน เช่น การโอนเงนิ การชาระค่าสินค้าและบรกิ าร

4 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งปลอดภยั การทาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัย ใ น ก า ร ท า ธุ ร ก ร ร ม อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ต้ อ ง ระมัดระวังและมีความรอบคอบ เช่น การซ้ือสิ นค้า ออนไลน์ ผู้ซื้อสิ นค้าไม่เห็นสิ นค้าจริงและไม่ได้รับ สิ นค้าทันทีหลังจากชาระเงิน ซ่ึงอาจเป็นช่องทาง ให้เกิดการฉ้ อโกง เช่น ไม่ได้รับสิ นค้า สิ นค้าไม่มี คุณภาพหรอื สินค้าไมต่ รงตามข้อมูลทป่ี รากฏ

5 การทาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์อยา่ งปลอดภัย การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์มีอยู่ 2 รูปแบบคือ การธุรกรรมโดยตรงระหว่างผขู้ ายและผซู้ อ้ื การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร

6 การทาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภยั การธุรกรรมโดยตรงระหว่างผขู้ ายและผซู้ อ้ื การทาธุรกรรมโดยตรงระหว่าง ผู้ขายและผู้ซ้ือโดยผ่านเครือข่ ายทาง สั งคมต่างๆหรือผ่านเว็บไซต์ของผู้ขาย เ ช่ น ก า ร จ อ ง ท่ี พั ก ผ่ า น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง โรงแรม การสั่ งซื้อมะพร้าวจากเว็บไซต์ กลมุ่ เกษตรกรจังหวัด

7 การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ อย่างปลอดภัย การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร การทาธุ รกรรมโดยผ่านผู้ให้บริการเป็นรู ปแบบ การทาธุรกรรมที่มีผู้ให้บริการสนั บสนุนการดาเนิ นการ หรือตัวกลาง โดยผู้ให้ บริการจะรวบรวมสิ นค้าและ บริการต่างๆให้อยู่ในที่เดียวเพ่ือง่ายต่อการเข้าถึงและใช้ บรกิ ารของทงั้ ผซู้ อ้ื และผขู้ าย

8 การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งปลอดภยั การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร การทาธุรกรรมในรูปแบบน้ี ผู้ให้บริการส่วนใหญ่ จะมีการตรวจสอบผู้ขายและเป็นเสมือนผู้รับประกันทั้ง ในส่ วนของสิ นค้าการให้บริการ เพ่ือสร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้ซื้อว่าจะไม่ถูกหลอกลวงจากการทาธุรกรรมผ่าน ส่ืออเิ ล็กทรอนิ กส์

9 การทาธุรกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์อย่างปลอดภยั การทาธุรกรรมโดยผา่ นผใู้ ห้บรกิ าร การทาธุ รกรรมในรู ปแบบน้ี คนกลางมักเป็น องค์กรท่ีมีความน่ าเช่ือถือและมีช่ือเสี ยงเป็นท่ียอมรับทั้ง ส่ วนของผู้ขายและผู้ซ้ือ อีกทั้งยังรับประกันการได้รับ สิ นค้า ซ่ึงทาให้ปัญหาต่างๆลดลง ตัวอย่างเว็บไซต์ท่ีเป็น ตัวกลางในการให้บรกิ าร lazada.co.th , shopee.co.th

10 ข้อความคานึ งในการทา ธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ ผใู้ ช้บรกิ ารอาจถูกมจิ ฉาชพี ฉ้อโกงโดยใชก้ ลยทุ ธ์ เ ร่ื อ ง ร า ค า แ ล ะ ห ลั ก จิ ต วิ ท ย า ใ น ก า ร ล่ อ ล ว ง ใ ห้ กลมุ่ เป้าหมายเกดิ ความโลภหรอื เข้าใจผดิ เชน่ ขายสินค้า ในราคาท่ีตา่ กว่าปกติมาก ขายสิ นค้าลอกเลียนหรือ ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ โดยทาให้เข้าใจว่าเป็นสินค้าของแท้

11 ข้อความคานึ งในการทา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ นอกจากนี้ ผู้ใช้บริการควรมีความระมัดระวังใน การชาระค่าสินค้าหรอื บรกิ าร ซ่งึ อาจมหี ลายรูปแบบเช่น • ชาระเงินโดยการให้ผู้ซ้ือดาเนิ นการโอนเงินผ่าน ธนาคารแล้วส่ งหลักฐานยืนยันเพื่อให้ผู้ขายส่ งของ ภายหลัง • ชาระเงินภายหลังจากได้รับสิ นค้ากับผู้ขายหรือผู้ ให้บรกิ ารส่งสินค้า

12 ข้อความคานึ งในการทา ธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ ช า ร ะ เ งิ น โ ด ย ผ่ า น บั ต ร เ ค ร ดิ ต ห รื อ บั ญ ชี ธนาคาร ซ่งึ ใช้เพียงข้อมูลบางอยา่ ง เช่น ถ้าชาระเงิน ด้วยบัตรเครดิตจะใช้เพียงข้อมูลที่เก่ียวข้องกับบัตร คือหมายเลขบตั ร วนั หมดอายุ รหัสซวี ีวี ทอี่ ยดู่ า้ นหลัง บัตร แล้วจะมีการยืนยันด้วยการส่ งรหัสผ่านแต่ละ ครงั้ ผา่ นทางโทรศัพทม์ ือถือหรอื อเี มล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook