Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้เรื่องการคัดลายมือ

ใบความรู้เรื่องการคัดลายมือ

Published by รุสละห์ มะรือสะ, 2020-09-03 04:28:04

Description: ใบความรู้เรื่องการคัดลายมือ

Search

Read the Text Version

แบบคัดลายมือ โดย นางสาวรสุ ละห์ มะรอื สะ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นบ้านตาโงะ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต ๓

การคัดลายมอื ลักษณะการน่ังทีถ่ กู วธิ ี 1. นักเรียนต้องหนั หน้าเขา้ หาโต๊ะ การนัง่ เอียงอาจทําให้หลังคด 2. แขนทงั้ 2 ขา้ งวางอยูบนโตะ๊ ประมาณ 3 ใน 4 ของความยาวระหว่างศอกกบั ข้อมือพาดไวก้ ับขอบโต๊ะ หากไม่ทาํ เช่นนี้ อาจทําใหก้ ระดกู สนั หลังคด 3. กระดาษต้องวางไว้หนา้ ผู้เขยี น การวางกระดาษไมต่ รง ทําให้ผู้เขยี นตอ้ งเอยี งคอ สายตาทาํ งานมาก อาจ ทําใหก้ ระดกู สันหลังคด 4. สว่ นลา่ งของกระดาษทํามุมกับขอบโต๊ะ 30 องศา 5. แขนของมือทเ่ี ขยี นตอ้ งทํามมุ ที่เหมาะสมกับตัวอักษร ข้อศอกต้องไมก่ างออกหรอื แนบตัวมากเกินไป 6.การวางมือ ฝา่ มอื คว่ําลง มอื งอ ทํามุม 45 องศากบข้อมือ นว้ิ กลาง รองรบั ดนิ สอหรอื ปากกา น้ิวชก้ี ับ นว้ิ หวั แม่มอื จะประคองดนิ สอ หรอื ปากการว่ มกบั นิ้วกลาง มอื จะพักอยู่บนนิว้ นางและนวิ้ ก้อย 7. จับดินสอหรือปากกาพอเหมาะ ไม่แนน่ เกินไป น้ิวที่จบั โคง้ เล็กน้อย 8. ในขณะที่คัดลายมือ แขน มอื และนิว้ มอื จะต้องเคลือ่ นไหวให้สมั พันธก์ นั 9. การเคล่ือนไหวของดินสอหรือปากกาในขณะที่คัดแบ่งออกเป็นหนว่ ย ๆ แตล่ ะหน่วยมีระยะ หยดุ เปน็ ระยะ ไม่เคล่ือนไหวติดต่อกนั โดยตลอด วธิ กี ารคดั พยญั ชนะไทยแบบหวั กลมตวั มน 1. สัดสว่ นของพยัญชนะ กำหนดเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 2. หวั กลมมขี นาด 1 ส่วน 3. หวั ของ ข ช เปน็ หวั ขมวดหยักหน้าบน และ ฅ ฆ ซ ฑ เป็นหวั หยัก - หวั โคง้ หนา้ มน 4. เสน้ ทล่ี ากจากหัวตรงในแนวดิ่ง ยกเว้น ค ฅ จ ฐ ฒ ด ต ล ศ ส เปน็ เสน้ โคง้ เฉียง 5. เสน้ บนโคง้ มน มขี นาด 1 สว่ น 6. เส้นล่างตรงแนวเดียวกับเสน้ บรรทัด หรือเปน็ เสน้ โคง้ เลก็ น้อย 7. หาง ป ฝ ฟ เป็นเสน้ ตรงยาวไม่เกนิ 3 สว่ น 8. หางอกั ษรอ่ืนเป็นเสน้ โค้งหงาย ยาวไม่เกนิ 3 สว่ น 9. สว่ นล่างของ ฎ ฏ ฐ เลยตวั อกั ษรลงมา 2 ส่วน และกวา้ งเท่าตัวหลัง

10. เชิญ ญ อยใู่ นส่วนท่ี 1 ลา่ ง และกว้างเทา่ ตัวหลงั 11. ไส้ ษ อยูใ่ นส่วนที่ 2 12. ขนาดของตัวอักษรโดยทว่ั ไปมคี วามกว้างเปน็ คร่งึ หนงึ่ ของความสงู ไมร่ วมหางและชงิ ยกเว้น ข ฃ ช ซ กว้างเปน็ คร่งึ หนึ่งของตวั อน่ื ๆ และตวั อักษรที่เหมือน 2 ตัวติดกนั ไดแ้ ก่ ฌ ญ ฒ ณ ตัวหน้ากวา้ งครึ่งหนึง่ ของ ความสงู ตัวหลังกวา้ งครงึ่ หน่ึงของตวั หน้า 13. สระ ไ- ใ- โ- สงู เลยตัวอกั ษรข้นึ ไปไมเ่ กนิ 3 ส่วน 14. สระ -อุ -อู อย่ใู ตต้ ัวอกั ษร ไมเ่ กนิ 3 ส่วน 15. สระและเครอ่ื งหมายบนทุกตวั อยู่ทสี่ ่วน 2 และ 3 16. ส่วนขวาสดุ ของสระ วรรณยกุ ต์ และเคร่อื งหมายต่าง ๆ อยตู่ รงกบั เส้นขวาสดุ ของพยัญชนะท่ีเกาะ ยกเวน้ ถ้าอยู่กับพยญั ชนะที่มีหาง ได้แก่ ป ฝ ฟ ใหเ้ ขียนสระ วรรณยกุ ต์ และเครอ่ื งหมายเยอ้ื งมาขา้ งหน้าไมท่ บั หาง พยัญชนะ 17. สระ อี ลากขีดลงแตะปลายสระ - ิ - ี 18. สระ - ื เขยี นเหมอื นสระ - ี เพม่ิ 1 ขีดดา้ นใน - ี - ื 19. สระ - ื มวี รรณยุกตใ์ หใ้ สว่ รรณยกุ ต์ไว้ตรงกลาง - ื อ่ เช่น อ่อื ขน้ั ตอนการฝกึ คดั และเขยี น 1. กอ่ นฝึกเขยี นใหน้ ักเรียนฝกึ เขียนเส้นพน้ื ฐาน 10 แบบ จนชำนาญ 2. ครูสาธติ การเขยี นอักษรไทยตัวเต็มบรรทดั ทลี ะตัวลงบนกระดานดำ 3. นักเรยี นทกุ คนคดั และเขียนตัวอักษรแต่ละตวั ตามครู ตวั ละ 1 หนา้ กระดาษ ลงในแบบฝกึ เขยี น (แบบ ข) บรรทัดทเ่ี ปน็ เส้นประใช้สำหรับเขยี นหางตัวอักษร และเชิงตัวอักษร 4. นกั เรยี นฝึกคัดและเขียนอักษรไทยทุกตัวในแบบฝึกเขียน (แบบ ข 1) จนชำนาญ ครูผ้สู อนฝกึ ใหน้ ักเรยี น เขียนตัวอกั ษรไทยแต่ละตัว ๆ ละ 1 หนา้ กระดาษ ลงในแบบฝกึ เขยี น(แบบ ข 2) ครผู สู้ อนสังเกตพฒั นาการของ นักเรียนแต่ละคนวา่ อักษรแต่ละตัวนั้น นักเรียนเว้นชอ่ งไฟถูกต้องหรอื ไม่ และคัดตวั ละก่ีครงั้ จงึ จะสวยงามถกู ต้อง 5. เมอื่ นักเรยี นฝกึ คัดและเขยี นในแบบฝกึ เขียน (แบบ ข 2) จนชำนาญแล้ว ครูผูส้ อนฝกึ ใหน้ ักเรยี นเขยี น ตวั อกั ษรเรยี งตามลำดบั ทกุ ตวั ลงในแบบฝึกเขยี น (แบบ ข 3) โดยครูสังเกตการณเ์ ว้นช่องไฟความเปน็ ระเบียบ สะอาด สวยงาม ถูกตามหลกั เกณฑ์การเขยี น และประเมินผลสัปดาหล์ ะ 1 ครั้ง ของนักเรียนทกุ คนเปน็ เวลา 1 เดอื น 6. เมื่อนกั เรียนฝกึ คดั และเขยี นผสมอักษรเป็นข้อความในแบบฝกึ เขียน (แบบ ข 2) จนชำนาญแล้วใหฝ้ กึ เขยี นผสมอักษรเป็นข้อความในแบบฝึกเขียน (แบบ ข 2) 7. เม่ือนกั เรยี นฝกึ คดั และเขยี นผสมอักษรเป็นข้อความในแบบฝกึ เขยี น (แบบ ข 2) จนชำนาญแลว้ ใหฝ้ กึ เขียนผสมอักษรเปน็ ข้อความในแบบฝกึ เขียน (แบบ ข 3) 3/1

8. เม่อื นกั เรียนฝกึ คัดและเขียนผสมอักษรเปน็ ข้อความในแบบฝึกเขยี น (แบบ ข 3) จนชำนาญแล้วใหฝ้ ึก เขยี นผสมอักษรเปน็ ข้อความในแบบฝึกเขยี น (แบบ ข 4) 9. เมอื่ นกั เรียนฝึกคัดและเขยี นผสมอักษรเปน็ ข้อความในแบบฝึกเขยี น (แบบ ข 4) จนชำนาญแล้วใหเ้ ขยี น ผสมอักษรเปน็ ข้อความในสมุดคดั ไทยบรรทดั ปกติ 10. ใหก้ ารบ้านนักเรียนคัดลายมอื ทุกวัน วันละ 10 บรรทดั 11. ประกวดคดั ลายลายมอื ในชน้ั เรยี น สัปดาห์ละ 1 ครัง้ 12. ให้ครผู ้สู อนจัดเก็บแบบฝึกการคดั และเขียนไวต้ ั้งแตเ่ ริ่มตน้ การฝึกจนประสบความสำเร็จ เพื่อเปน็ หลกั ฐานในการเปรยี บเทยี บพัฒนาการทักษะด้านการัดและการเขยี น และเปน็ หลักฐานในการนเิ ทศติดตามของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา หลกั การเขยี นเสน้ พนื้ ฐานตวั พยญั ชนะไทย 1. การเขยี นเส้นด่งิ 2. การเขียนเสน้ ตง้ั 3. การเขยี นเสน้ ทแยงลง

4. การเขียนเส้นทแยงข้นึ 5. การเขยี นเสน้ ทแยงขน้ึ และทแยงลงต่อเน่ืองกัน 6. การเขยี นเสน้ แนวนอน 7. การเขยี นเสน้ โคง้ คว่ำ 8. การเขียนเส้นโค้งหงาย 9. การเขียนเส้นวงกลมทวนเขม็ นาฬิกา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook