Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย1_ebook ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

หน่วย1_ebook ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Published by parunya2301, 2021-09-14 04:18:54

Description: หน่วย1_ebook ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

\\ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ประวัตแิ ละความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ครูภรณั ยา เอ็นดู ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

แนวทางการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในสมยั โบราณ 1. การเผยแผด่ ว้ ยการแสดงธรรม • ผู้เผยแผ่จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักธรรมคาสอน หรอื การเทศน์ เป็นอย่างดีย่ิง การเทศน์หรือการแสดงธรรมเป็นรูปแบบ การเผยแผ่ทใ่ี ชไ้ ดผ้ ลดีมาทกุ ยุคทกุ สมยั 2. การเผยแผด่ ว้ ยการศกึ ษา • ในยุคแรกของการศึกษาพระพุทธศาสนา เป็นการศึกษา และการปฏบิ ตั ธิ รรม แบบท่องจาสืบทอดกันมา เน่ืองจากการถ่ายทอดด้วย วิธีการท่องจาทาให้เกิดการคลาดเคลื่อน ต่อมาจึงได้มีการ จดบันทกึ พระพุทธวจนะเป็นลายลักษณ์อักษร 3. สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ • พระมหากษตั รยิ ์ถือเปน็ ศูนยก์ ลางความเชือ่ ของประชาชน เปน็ ศนู ยก์ ลางการเผยแผ่ ถา้ พระมหากษัตริย์เล่ือมใสและศรัทธา ประชาชนจะย่อมเช่ือและ นับถอื ตาม

การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในสมยั ปจั จบุ นั 1. การเผยแผด่ ว้ ยการแสดงธรรม • โดยอาศัยพระสงฆ์หรือผู้ร้เู ปน็ ผ้แู สดงธรรม หรอื การเทศน์ 2. การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา • มีการรวมกลุ่มกันเป็นองค์กรทางพระพุทธศาสนา ผ่านองคก์ รทางพระพทุ ธศาสนา ในรปู แบบต่างๆ เพ่ือสบื ทอดและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา องค์กรทางพระพุทธศาสนา วัดหรอื พุทธศาสนสถาน สมาคม มลู นิธิ สถาบันเฉพาะทางพระพุทธศาสนา และชมรมทางพระพุทธศาสนา วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ตราสานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ (วัดพระแก้ว) ศูนย์ส่งเสรมิ ศูนยส์ ่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนาแห่งประเทศไทย อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี

การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในสมยั ปจั จบุ นั 3. การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา • พระพทุ ธเจา้ พระสงฆ์ หรือผู้แสดงธรรมเป็นเพียงผู้ท่ีคอย ด้วยการปฏบิ ตั ธิ รรม แนะนาสิ่งที่ถูกต้อง บุคคลจะประสบความสาเร็จได้ต้องลง มอื ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง 4. การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา • อิทธิพลจากความเจริญความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ผา่ นสอื่ เทคโนโลยี ส่งผลใหก้ ารเผยแผ่พระพุทธศาสนามีการเผยแผ่หลักธรรม ผา่ นสอ่ื ในรปู แบบตา่ งๆ ที่เรียกว่า มัลติมีเดีย ซึ่งคนท่ัวไป สามารถเข้าไปศกึ ษาคน้ คว้าไดอ้ ย่างสะดวก

การ\\เผยแผ่ พระพุทธศาสนา ในทวปี ตา่ ง ๆ ทว่ั โลก ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

...กอ่ นเผยแผ่ศาสนา... จัดใหม้ กี าร “สงั คายนา” พระไตรปฎิ ก ครง้ั ที่ 3 ประธานฝา่ ยสงฆ์ แปลวา่ การสะสาง พระโมคคลั ลบี ตุ รตสิ สเถระ Tripitaka พระไตรปฎิ ก พระเจา้ อโศกมหาราช ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ประธานฝา่ ยฆราวาส

รัฐแคชเมยี ร์ ...จดุ เรม่ิ ตน้ เผยแผ่ศาสนา... ประเทศเนปาล ดินแดนสุวรรณภมู ิ ประเทศอหิ รา่ น ไทย กัมพชู า เมียนมา ลาว รัฐมุมไบ รฐั มหาราษฎร์ รฐั ไมเซอร์ ประเทศศรลี งั กา ดนิ แดนตะวนั ตกเฉยี งใต้ พระเจา้ อโศกมหาราช ของอนิ เดยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

การส่งสมณทตู ทงั้ 9 สายไปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ส่งผลให้ “พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่ไปยงั ประเทศตา่ งๆ ท่วั โลก” 1. การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาใน “ทวปี เอเชีย” ได้แก่ อนิ เดยี ศรีลงั กา เนปาล ภูฏาน ทิเบต จนี เกาหลี ญป่ี ุน่ 2. การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาใน “ทวปี ยโุ รป” ได้แก่ อังกฤษ เยอรมนี ฝร่ังเศส รัสเซยี เนเธอรแ์ ลนด์ 3. การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาใน “ทวปี อเมรกิ าเหนอื ” 4. การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาใน “ทวีปอเมรกิ าใต”้ 5. การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาใน “ทวีปออสเตรเลยี ” 6. การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาใน “ทวีปแอฟรกิ า” ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

…การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในเอเชยี … พระพทุ ธศาสนากาเนดิ ท่ี “ชมพทู วปี ” และเผยแผไ่ ปทวั่ โลกหลงั การ “สงั คายนา คร้งั ที่ 3” ปัจจบุ นั คือ ส่วนใหญข่ อง “อินเดยี ” ไทย คอื ศูนย์กลางการ เรียนรแู้ ละเผยแผใ่ นแถบนี้ เจรญิ รงุ่ เรอื งใน อินเดยี (พุทธกาล) และเจรญิ รงุ่ เรอื งไปทวั่ เอเชยี แต่ม่นั คงในแถบ “เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้



การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาใน ทวปี ยโุ รป ������ พระพทุ ธศาสนาในยโุ รปเผยแผจ่ าก “ประเทศทอ่ี ยู่ภายใตอ้ าณานิคม” ������ เหตผุ ลที่ไดร้ ับความสนใจ เพราะ มหี ลกั คาสอนทเี่ ปน็ สากลและมเี หตผุ ล ������ ลักษณะของการเผยแผ่ คอื อาศยั องค์กรทางพระพทุ ธศาสนา และไดร้ บั ความร่วมมอื จาก “พระสงฆแ์ ละชาวพทุ ธจากทวปี เอเชยี ” ปจั จุบนั ชาวยโุ รปหันมาสนใจพระพุทธศาสนามากยงิ่ ขนึ้ สถาบนั การศกึ ษาหลายแห่งบรรจวุ ชิ าพระพุทธศาสนาในหลกั สตู ร รวมทง้ั มกี ารกอ่ ตง้ั สถาบนั /องคก์ รทางพระพทุ ธศาสนาดว้ ย

…ศาสนาพทุ ธในองั กฤษ… ชาวองั กฤษได้หันมาสนใจพระพุทธศาสนาอยา่ งกวา้ งขวาง หลงั จาก … และชาวพทุ ธในองั กฤษ “พิมพ์หนงั สอื ” เผยแพรส่ ู่ชาวองั กฤษ รว่ มกนั กอ่ ตัง้ “สมาคมบาลปี กรณ์” ในปี 2424 โดยสรุป การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ในอังกฤษอาศยั “องคก์ รทางพระพทุ ธศาสนา เกย่ี วกบั เปน็ ศนู ยร์ วมการเผยแผ่” “พทุ ธประวตั ”ิ เซอร์ เอด็ วนิ ส์ อาร์โนลด์

…การเผยแผ่ในเยอรมน…ี พระพุทธศาสนาได้แผ่เขา้ สเู่ ยอรมนกี อ่ นสงครามโลกครงั้ ที่ 2 และฟน้ื ฟอู กี ครง้ั หลงั สงคราม ดร.คารล์ ไซเกนสตคิ เกอร์ ได้กอ่ ต้งั “พทุ ธสมาคมเยอรมนั ” เพือ่ ส่งเสรมิ การเผยแผ่การศกึ ษา และดาเนินกจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนา มกี ารจดั พมิ พ์ “หนังสือพุทธวจนะ” เปน็ ภาษาเยอรมนั ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเปน็ ท่รี ้จู กั มากขน้ึ ในเยอรมนี

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี อเมริกาเหนอื ������ พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่อเมรกิ าเหนอื โดย “ชาวเอเชยี ท่ีอพยพเขา้ มา” โดยเฉพาะในประเทศ “สหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา” ������ ซงึ่ ชาวเอเชยี ไดน้ าศาสนาพทุ ธมาเผยแผเ่ ขา้ สทู่ วปี อเมรกิ าเหนอื ดว้ ย ������ มีการสรา้ งวดั /กอ่ ต้งั สมาคมพระพทุ ธศาสนา/เปิดหลกั สตู ร พระพทุ ธศาสนา เป็นต้น ปัจจบุ นั ชาวอเมรกิ าเหนือไดห้ ันมานบั ถอื ศาสนาพทุ ธมากขนึ้ โดยปัจจบุ นั มวี ดั ไทยในอเมริกามากถงึ 151 วัด แคนาดาจานวน 7 วดั และมีพระสงฆเ์ ดนิ ทางไปเผยแผศ่ าสนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในทวปี อเมรกิ าใต้ ������ พระพทุ ธศาสนาเขา้ สอู่ เมรกิ าใต้โดย “ชาวเอเชยี ท่อี พยพเขา้ มา” เชน่ จนี เกาหลี ญป่ี ุ่น ส่วนมากชาวพทุ ธจะกระจายตวั อยใู่ นประเทศบราซลิ มีการนับถอื ศาสนาพทุ ธยงั ไมแ่ พรห่ ลายมากนัก ������ แตก่ ็มี “การจดั ตง้ั องคก์ รทางพระพทุ ธศาสนาขน้ึ จานวนมาก” ปจั จุบนั การนบั ถือศาสนาพทุ ธในทวปี อเมรกิ าใต้ ยงั มีนอ้ ยและจากดั เฉพาะชาวเอเชยี

การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในทวปี ออสเตรเลยี ������ พระพทุ ธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศออสเตรเลยี โดย “ภกิ ษชุ าวองั กฤษ” คอื พระศาสนธชะ ������ โดยแนะนาใหช้ าวออสเตรเลยี รวู้ า่ “ศ.พทุ ธเป็นศาสนาเนน้ พฒั นาจติ ใจ” ������ ในส่วนนวิ ซแี ลนดพ์ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศโดย “พระสงฆช์ าวเอเชีย” ปัจจุบัน การนบั ถอื ศาสนาพทุ ธในทวปี ออสเตรเลยี มแี นวโน้มดขี น้ึ มกี ารอปุ ถมั ภ์ สนบั สนุนพระพุทธศาสนา โดยสงั เกตได้จากการสร้างวัดและสมาคมพทุ ธศาสนาขนึ้

การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในทวปี แอฟริกา ������ พระพทุ ธศาสนาเขา้ สทู่ วีปแอฟริกานน้ั มหี ลกั ฐานค่อนขา้ งนอ้ ย ������ ประเทศทพ่ี บวา่ มหี ลกั ฐาน คอื ประเทศอยี ปิ ต์และเคนยา ในเคนยา พอจะพบวา่ มคี วามพยายามใน “การจัดต้ังชมรมพทุ ธขนึ้ ” ������ โดยสว่ นใหญพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ มาโดย “ชาวเอเชยี ” เช่น อนิ เดยี ศรีลังกา ปจั จุบัน การนับถือศาสนาพทุ ธในทวปี แอฟรกิ ายงั มคี วามเจรญิ ไมม่ าก โดยสว่ นใหญ่จะเปน็ การนับถอื ในกลมุ่ ชาวพทุ ธตา่ งถิ่น

ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา 1. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทชี่ ว่ ยสรา้ งสรรค์ อารยธรรมใหแ้ กโ่ ลก 2. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทช่ี ว่ ยสรา้ งความสงบสขุ ให้แก่โลก

1. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทชี่ ว่ ยสรา้ งสรรค์อารยธรรมใหแ้ กโ่ ลก 1.1 ด้านการปกครอง การปกครองระบอบราชาธปิ ไตย • ระบอบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีอานาจสิทธ์ิขาดในการ ปกครองแต่เพียงผู้เดียว พระพุทธศาสนามีหลักคาสอนสาหรับพระมหากษัตริย์เพ่ือให้เป็น ผนู้ าท่ีดี มคี ุณธรรม ได้แก่ ทศพธิ ราชธรรม จักรวรรดวิ ัตร การปกครองระบอบสามคั คธี รรม • พระพุทธศาสนาได้มีหลักอปริหานิยธรรมเพ่ือประยุกต์ใช้ในการปกครอง เช่น หม่ันประชุม ปรกึ ษาหารอื กจิ การงานอย่างพร้อมเพรยี ง • เคารพ ให้เกยี รติ และยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของ ผ้อู าวโุ สกว่า • เคารพบชู าเจดยี ์ ปูชนียสถาน และอนุสาวรียป์ ระจาชาติ

1. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทชี่ ว่ ยสรา้ งสรรค์อารยธรรมใหแ้ ก่ โลก 1.2 ด้านการจดั ระเบยี บสงั คม สถาบัน ความสมั พันธ์ระหวา่ ง ความสัมพันธ์ระหว่าง ครอบครวั บิดามารดากับบตุ รธดิ า สามีกบั ภรรยา สถาบนั สงั คม ความสมั พันธ์ระหว่าง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง มติ รกับมิตร นายจ้างกับลกู จา้ ง สถาบันการศกึ ษ า ความสมั พันธร์ ะหว่างครอู าจารยก์ บั ลูกศษิ ย์ สถาบันศาสนา ความสมั พนั ธร์ ะหว่างพระสงฆก์ บั ประชาชน

1. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทชี่ ว่ ยสรา้ งสรรค์อารยธรรมใหแ้ ก่โลก 1.3 ด้านการสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมใหแ้ กโ่ ลก 3 ดา้ น ดา้ น • แม้ว่าคนเราล้วนต้องการปัจจัย 4 เพื่อตอบสนองความต้องการทางกาย จติ ใจ แต่ก็ต้องการแสวงหาความสุขทางจิตใจด้วย ดังจะเห็นได้ว่ามีผู้สนใจศึกษา พระพทุ ธศาสนาเพม่ิ ขนึ้ • พระพุทธศาสนามีลักษณะเป็นปรัชญา โดยอธิบายสรรพส่ิงท้ังปวงด้วย ดา้ น วิธีการของเหตุผล ซ่ึงมหาวิทยาลัยช้ันนาของโลกได้เปิดสอนวิชา วิชากา พระพุทธศาสนากันแพรห่ ลายมากขนึ้ ร ด้าน • พระพุทธศาสนาได้สรา้ งสรรค์ส่งิ ทีเ่ ป็นวตั ถใุ หเ้ ป็นมรดกแก่อารยธรรมของ โลกด้วย เช่น พระพุทธรูป เจดีย์ วัด สถูป ซ่ึงล้วนเกิดจากแรงศรัทธา วตั ถุ ในพระพทุ ธศาสนา

2. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทช่ี ว่ ยสรา้ งความสงบสขุ ใหแ้ ก่โลก 1 • สอนไม่ให้เบียดเบียนท้ังตนเองและผู้อ่ืน เหมือน หลักธรรมคาสอนในศีล 5 ท่ีเน้นการไม่เบียดเบียนคน อืน่ 2 • สอนให้มีความเมตตาต่อกัน มีความรักและให้อภัยซ่ึงกัน และกนั 3 • สอนให้มีความเสียสละ คือ เสียสละภายใน ละความโลภ โกรธ หลง ความเห็นแก่ตัว และเสียสละภายนอก การแบง่ ปนั วัตถุส่ิงของท่ีมแี ก่คนอ่ืนบา้ ง

2. พระพทุ ธศาสนาในฐานะทช่ี ว่ ยสรา้ งความสงบสขุ ใหแ้ กโ่ ลก 4 • สอนให้มีความอดทน (ขันติ) และไม่ยึดม่ันในตัวตน เกินไป (อนตั ตา) • สอนให้เป็นคนใจกว้าง ยอมรับในความแตกต่างได้ 5 สอนให้รู้ความจริงว่าในโลกท่ีมีคนอยู่เป็นจานวนมาก ย่อมมีความแตกต่างกันในเรือ่ งตา่ งๆ • สอนให้เอาชนะความช่ัวด้วยความดี เอาชนะคนโกรธด้วย 6 การไม่โกรธตอบ เอาชนะเวรดว้ ยการไมจ่ องเวร

สรปุ หนว่ ยที่ 1 ประวตั แิ ละความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนามีถ่ินกาเนิดอยู่ในประเทศอินเดีย ปัจจุบันได้มีการ เผยแผ่ไปยังประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ถึงแม้ว่าบางทวีป เช่น ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา การนับถือพระพุทธศาสนาจะยังคงมีข้อจากัดอยู่เฉพาะในกลุ่มชาว เอเชียด้วยกัน ก็ตาม แต่ในอนาคตคงมีชาวพื้นเมืองหันมายอมรับนับถือ พระพุทธศาสนากันมากข้ึน ทั้งน้ีพระพุทธศาสนาได้พิสูจน์ให้สังคมโลกเห็นแล้วว่า หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางการดาเนินชีวิตได้เป็น อย่างดี และช่วยสร้างความสงบสุขใหเ้ กดิ แก่ชาวโลกอกี ด้วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook