Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย3_พระรัตนตรัยและอริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย)

หน่วย3_พระรัตนตรัยและอริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย)

Published by parunya2301, 2022-07-31 14:48:52

Description: หน่วย3_พระรัตนตรัยและอริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย)

Search

Read the Text Version

ห น่ ว ย กา รเ รีย นรูท้ ี่ 3 • พระรตั นตรยั • อรยิ สจั 4 • การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรม

พระรัตนตรัย พระรัตนตรยั แปลวา่ แก้วประเสรฐิ 3 ดวง ได้แก่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ พระพทุ ธ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม ผ้ทู รงคน้ พบหลกั ธรรมโดยการตรัสรเู้ อง และสอนใหผ้ ูอ้ ่ืนร้ตู าม พระสงฆ์ หลกั ธรรมคาส่ังสอนของพระพทุ ธเจ้า ผูท้ ่ศี กึ ษาและปฏบิ ตั ิตามคาสอนของพระพทุ ธเจ้า และเผยแผค่ าสอนแก่คนทวั่ ไป ซึง่ เป็นผู้ประพฤติดีปฏิบัตชิ อบ ควรแก่การเคารพ คณุ ของพระสงฆ์ มี 9 ประการ เรียกว่า “สังฆคณุ 9” 1

พระรัตนตรัย สงั ฆคุณ 9 คือ คณุ ลักษณะของพระสงฆ์ 9 ประการ ไดแ้ ก่ 1. สปุ ฏิปนโฺ น เป็นผ้ปู ฏิบัติดี 2. อชุ ุปฏิปนโฺ น ประพฤตปิ ฏิบัตติ ามหลักพระธรรมวนิ ัย 3. ญายปฏิปนโฺ น ประพฤตเปิ ปฏ็นบิผ้ปูตั ฏติ บิามัติตหรลงกั ธรรมวินยั 4. สามีจปิ ฏปิ นโฺ น ต่อหนา้ ปฏิบตั เิ ชน่ ใดลบั หลงั ก็ปฏิบตั เิ ชน่ นน้ั เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิเปน็ ธรรม รู้ธรรมซ่งึ เป็นหนทางหลดุ พ้นจากความทกุ ข์ เป็นผูป้ ฏิบัติสมควร ควรค่าแก่การเคารพนบั ถือ 2

5. อาหเุ นยโฺ ย พระรัตนตรัย 6. ปาหเุ นยฺโย 7. ทกฺขเิ ณยฺโย เป็นผคู้ วรแกข่ องคานบั /ของไหว้ ท่ีมผี นู้ ามาถวายในโอกาสตา่ งๆ เป็นผู้ควรแก่ของตอ้ นรบั แขกทเ่ี ป็นพระสงฆน์ าความเปน็ สิริมงคลมาให้ เปน็ ผู้ควรแกข่ องทาบุญ (ปัจจยั 4) ทมี่ ผี ้นู ามาถวายแด่พระสงฆ์ 8. อญฺชลกิ รณโี ย เปน็ ผคู้ วรกราบไหว้ 9. อนตุ ฺตร ปญุ ฺญกฺเขตตฺ โลกสฺสาติ เปน็ เน้อื นาบุญอนั เย่ยี มยอดของชาวโลก หากเราไดก้ ราบไหว้ ไดท้ าบุญกบั ทา่ น ความเจริญก็จะงอกงาม เชน่ เดยี วกบั เมล็ดพนั ธพ์ุ ืชทห่ี วา่ นลงไปในนาที่อดุ มสมบรู ณ์ 3

❖ ขนั ธ์ 5 : องค์ประกอบ 5 ประการทรี่ วมกันเข้า ❖ วัฏฏะ 3 : การเวียนวา่ ยตายเกดิ (กเิ ลส กรรม วบิ าก) ❖ ปปญั จธรรม 3 : กเิ ลสทท่ี าใหเ้ กิดความเนิน่ ชา้ (ตัณหา มานะ เป็นชวี ิต ไดแ้ ก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ทิฏฐิ) ❖ ไตรลกั ษณ์ : ลกั ษณะของส่ิงตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ความจริง 3 ประการ ไดแ้ ก่ อนิจจตา ทกุ ขตา อนัตตา 1. ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรร)ู้ อรยิ สจั 4 2. สมุทัย (ธรรมทคี่ วรละ) 4. มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ ) 3. นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ ❖ อัตถะ : ประโยชน์ของการปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรม ❖ มรรค 8 : วิธกี ารไปส่ทู างดับทุกข์ ❖ ปัญญา 3 : ความรู้ทีเ่ กิดจากการฟงั การคิด การลงมอื ทา (ประโยชนข์ น้ั ตน้ ขน้ั สูง ขั้นสงู สดุ ) ❖ บุญกิรยิ าวตั ถุ 10 : การทาบุญ/การทาความดี ❖ อบุ าสกธรรม 7 : หน้าทขี่ องชาวพุทธท่พี งึ ปฏิบตั ิ ❖ มงคล 38 : ธรรมอนั นามาซ่งึ ความสุขความเจรญิ 4

หลักธรรมที่เก่ยี วกบั ทุกข์ 1. ทุกข์ คือ ความไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ หลักธรรมทคี่ วรรเู้ พ่อื ให้ร้คู วามจรงิ ของการเกดิ ทุกข์ ได้แก่ ขันธ์ 5 และไตรลกั ษณ์ รา่ งกาย ความรู้สึก ความจาได้ (สบายใจ ไม่สบายใจ เฉยๆ) (แยกแยะได้ว่าอะไรเปน็ อะไร) 1) ขนั ธ์ 5 1. รปู 2. เวทนา 3. สัญญา องคป์ ระกอบ 5 ประการ 4. สังขาร 5. วิญญาณ ท่รี วมกนั เข้าเปน็ ชีวติ ส่ิงที่ปรงุ แต่งจิตใจ การรบั รู้ผา่ นประสาทสัมผสั ท้ัง 5 และใจ (แรงจูงใจใหม้ นษุ ยท์ าส่ิงใดสงิ่ หน่งึ (ตา หู จมูก ล้นิ กาย และใจ) เชน่ คิดดี/คิดไมด่ )ี 5

หลักธรรมที่เก่ียวกบั ทุกข์ 2. ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะของสิง่ ตา่ ง ๆ ที่เปน็ ความจริง มี 3 ประการ ไดแ้ ก่ ภาวะทไี่ ม่คงทนถาวรหรือภาวะทไี่ มเ่ ทย่ี ง ภาวะท่ีไม่มีตวั ตน เช่น ผหู้ ญงิ คนหนง่ึ เคยสวยมากแต่ปจั จุบนั ผมหงอก ผวิ หนังเห่ียวย่นจงึ ทุกสิ่งมกี ารเกดิ ขึ้น มีต้ังอยู่ และดับไป เชน่ การสญู เสีย ไปทาศัลยกรรม เธอต้องเป็นทกุ ขเ์ พราะภาวะท่ีไมค่ งทนของร่างกาย คนทร่ี กั ทาใหเ้ ราต้องเสียใจมากจนเปน็ ทกุ ขเ์ พราะความ 1. อนิจจตา ไมม่ ีตวั ตน 3. อนตั ตา 2) ไตรลกั ษณ์ **หลกั ธรรมทีช่ ่วยเตอื นสตเิ ราว่าทกุ สงิ่ 2. ทกุ ขตา ล้วนมกี ารเปลี่ยนแปลง อยา่ ยดึ มั่นถอื ภาวะทีท่ นไมไ่ ดห้ รือภาวะท่ีขัดแยง้ ไม่สมบรู ณ์ มน่ั จนเกนิ ไป เช่น ผู้หญงิ คนหนึง่ อว้ นมากจงึ กินยาลดความอ้วนจนปว่ ย เธอจงึ เปน็ ทกุ ข์ ถ้าไมร่ จู้ กั ปลอ่ ยวางกจ็ ะทาใหช้ วี ติ มี ความทุกข์ 6

หลกั ธรรมท่ีเก่ยี วกับสมทุ ยั 2. สมุทัย คอื สาเหตุแห่งการเกิดความทกุ ข์ หลกั ธรรมทค่ี วรละเพื่อไมใ่ หเ้ กิดความทุกข์ ไดแ้ ก่ วัฏฏะ 3 และปปญั จธรรม 3 1) วัฏฏะ 3 ตน้ เหตทุ ี่ทาเกดิ กรรม เชน่ นายทอยตดิ การพนันแต่ไมม่ ี 1. กเิ ลสวฏั ฏะ เงนิ ใชห้ น้ี จงึ คดิ ทาการทุจรติ การเวยี นว่ายตายเกิด เรยี กว่า กิเลส เกดิ ขนึ้ เมือ่ ลงมือ หลักกรรม การไมห่ ลุดพน้ จากกิเลส วนเวยี นไป ทาการทุจรติ เรียกวา่ กรรม เรอื่ ยๆ จนกว่าบคุ คลจะดับกเิ ลสได้ (วัฏฏะ 3) แต่ถกู จบั ได้และไล่ออกจากงาน หมดส้นิ จงึ จะหลุดพน้ จากการเวยี น เรยี กว่า วิบาก เม่ือไมม่ ีงานไมม่ ีเงิน กค็ ดิ ทาการทุจริตอีก ก็เกดิ กเิ ลส ว่ายตายเกดิ วนเวยี นไปเรือ่ ย ๆ 3. วิบากวฏั ฏะ 2. กรรมวัฏฏะ ผลของการกระทา การกระทาทเี่ กดิ จากกเิ ลส 7

หลกั ธรรมท่เี กยี่ วกบั สมทุ ยั 2) ปปญั จธรรม 3 เครอ่ื งท่ีทาใหเ้ นน่ิ ช้า คอื กิเลสทท่ี าใหก้ ารศึกษาและปฏิบัตติ าม หลกั ธรรมไมด่ าเนนิ ไปดว้ ยดี มี 3 ประการ 1. ตัณหา • ค ว า ม เ ห็ น แ ก่ ตั ว มี ค ว า ม โ ล ภ อ ย า ก ไ ด้ ข อ ง ข อ ง ผู้ อ่ื น โ ด ย มิ ช อ บ จะทาอะไรจะกค็ ิดถึงแต่ในประโยชนข์ องตน 2. มานะ • ความถือตัว คดิ วา่ ตวั เองดีทสี่ ุด แสดงตนข่มข่ผู ้อู ่นื 3. ทฏิ ฐิ • ค ว า ม ยึ ด ติ ด ใ น ค ว า ม เ ห็ น ข อ ง ต น ง ม ง า ย โ ด ย ป ร า ศ จ า ก เ ห ตุ ผ ล ไม่ยอมรับฟงั ความเห็นของผอู้ ื่น คิดว่าความเชือ่ ของตนเองถกู เสมอ กิกกเิ ลสทั้งสามนี้ขัดขวางการเขา้ ใจและปฏิบตั ติ ามหลักธรรมคาสอน 8 ทาใหเ้ กดิ ความทกุ ขใ์ นใจ ซง่ึ เรานั้นไม่ควรปฏบิ ัติ

แบบฝกึ หดั เรือ่ งสงั ฆคณุ 9 คาชี้แจง ให้นักเรียนอธบิ ายสงั ฆคุณ 9 ตามหวั ข้อท่กี าหนดใหต้ ่อไปน้ี 1. สุปฏิปนโฺ น 2. อุชุปฏิปนฺโน 3. ญายปฏิปนโฺ น 4. สามีจปิ ฏปิ นโฺ น 5. อาหเุ นยโฺ ย 6. ปาหเุ นยโฺ ย 7. ทกฺขเิ ณยโฺ ย 8. อญฺชลิกรณโี ย 9. อนตุ ตฺ ร ปญุ ฺญกฺเขตตฺ โลกสฺส 9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook