Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปห้องสมุด63

สรุปห้องสมุด63

Published by BOo Athitaya, 2020-12-08 04:44:29

Description: สรุปห้องสมุด63

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชน ประจาปีงบประมาณ 2563 Sawang Arom Di

ข้อมลู พ้ืนฐาน ขอ้ มูลพืน้ ฐานอาเภอสว่างอารมณ์ ประวัตคิ วามเป็นมาอาเภอสว่างอารมณ์ อาเภอสว่างอารมณ์ เดมิ ช่ือวา่ บ้านสว่างแจง้ สบายใจ สมัยกรุงศรีอยธุ ยา กองทพั พม่าได้ ยกทัพมาทาสงคราม กับกองทัพไทย ได้สู้รบกันมาทางอาเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ ในเวลากลางคืนและมาถึงหมู่บ้านน้ีตอนรุ่งเช้า กรมการปกครองจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “สว่างอารมณ์” ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ต้ังเป็นก่ิงอาเภอขึ้นกับอาเภอทัพทัน จังหวัด อุทัยธานี และต่อมาได้ตราพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น “อาเภอสว่าง-อารมณ์” เมื่อวันท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ จนถึงปัจจบุ ัน คาขวัญประจาอาเภอสวา่ งอารมณ์ คาขวัญประจาอาเภอ คือ “หลวงพ่อเสน่ห์คู่บ้าน บึงคอกช้างตระการสง่าสม เขาหินเทิน ถ้าเขาหินถิ่นนิยม สวา่ งอารมณ์เมืองคนดศี รอี ุทัย”

ขอ้ มลู พน้ื ฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ต่อ) การปกครองอาเภอสวา่ งอารมณ์ อาเภอสวา่ งอารมณ์ แบง่ เขตการปกครองตามพระราชบญั ญตั ลิ ักษณะการปกครองท้องท่ี พ.ศ. ๒๔๕๗ แบ่ง ออกเป็น ๕ ตาบล ๖๕ หมูบ่ ้าน ดังนี้ ๑. ตาบลสวา่ งอารมณ์ มจี านวน ๑๐ หมูบ่ า้ น ๒. ตาบลหนองหลวง มจี านวน ๑๐ หมู่บ้าน ๓. ตาบลพลวงสองนาง มีจานวน ๘ หมบู่ า้ น ๔. ตาบลไผ่เขยี ว มจี านวน ๒๕ หมู่บา้ น ๕. ตาบลบ่อยาง มีจานวน ๑๒ หมบู่ ้าน รวม ๖๕ หมบู่ า้ น

ข้อมลู พื้นฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ต่อ) การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ๑. องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๓ แหง่ ๑.๑ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหนองหลวง ๑.๒ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบอ่ ยาง ๑.๓ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลไผ่เขียว ๒. เทศบาลตาบล จานวน ๓ แหง่ ๒.๑ เทศบาลตาบลสวา่ งอารมณ์ ๒.๒ เทศบาลตาบลสวา่ งแจง้ สบายใจ ๒.๓ เทศบาลตาบลพลวงสองนาง มหี มบู่ ้านอาสาพฒั นาและป้องกันตนเอง (อพป.) จานวน ๒๕ หมบู่ ้าน ขอ้ มูลด้านประชากร อาเภอสว่างอารมณ์ มีจานวนประชากรรวมทั้งส้ิน ๓๑,๙๘๔ คน แยกเปน็ ประชากรชาย จานวน ๑๕,๙๗๗ คน ประชากรหญิง จานวน ๑๖,๐๐๗ คน และมีความหนาแน่นของประชากร ๘๖.๘๑ คน/ตร.กม.๑๕,๙๗๗ คน

ข้อมูลพนื้ ฐานอาเภอสว่างอารมณ์ (ต่อ) ลักษณะการประกอบอาชพี ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม สภาพเศรษฐกจิ ขึ้นอยู่กบั ผลติ ผลทางการเกษตรเปน็ สาคญั มี การทานา ทาไร่ พชื ที่สาคญั ได้แก่ ขา้ ว อ้อย ขา้ วโพด มนั สาปะหลัง นอกจากปลกู พชื แลว้ ยงั นิยมเล้ยี งสตั ว์เปน็ อาชีพรอง เช่น ววั ควาย หมู เป็ด ไก่ เป็นตน้ ท่ีตั้งและอาณาเขต อาเภอสว่างอารมณ์ ตงั้ อยทู่ างทิศเหนือของจงั หวดั อุทัยธานี ระยะทางจากศาลากลางจังหวดั อทุ ยั ธานี ถึงอาเภอ สว่างอารมณ์ ๓๓ กโิ ลเมตร มีทางหลวงแผน่ ดินสายทัพทนั -ลาดยาว จงั หวดั นครสวรรค์ มพี น้ื ท่ีประมาณ ๓๔๑ ตาราง กโิ ลเมตร หรือประมาณ ๒๑๓,๑๒๕ ไร่ มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั อาเภอตา่ ง ๆ ดงั นี้ คือ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั อาเภอลาดยาว จังหวดั นครสวรรค์ ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอทพั ทัน จงั หวัดอทุ ยั ธานี ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับ อาเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอลานสกั จงั หวดั อทุ ยั ธานี

ข้อมลู พืน้ ฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ตอ่ ) แผนท่อี าเภอสว่างอารมณ์ซง่ึ ประกอบด้วย ๕ ตาบล ลกั ษณะภูมิประเทศ อาเภอสว่างอารมณ์ มสี ภาพภูมปิ ระเทศเปน็ ท่รี าบซึง่ ใช้ประกอบอาชีพทานาเป็นส่วนมากมภี เู ขา คอื ๑) เขาหลวง อยู่ทางทศิ ตะวันออกของอาเภอสวา่ งอารมณ์ อยู่ในทอ้ งท่ีตาบลหนองหลวงกั้นเขตระหว่างอาเภอ สว่างอารมณก์ ับอาเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ ๒) เขากวางทอง เขาขจี เขาพระ เปน็ เทอื กเขาตดิ ต่อกันอยู่ในทางทศิ ตะวนั ตกของตาบลไผ่เขียว ๓) เขาทองหลาง และเขาผาลาด อยทู่ างทศิ ตะวันตกเฉียงใตข้ องตาบลพลวงสองนาง มีเขตป่าสงวนอยู่ทางทศิ ตะวันตกของอาเภอ

ขอ้ มูลพืน้ ฐานอาเภอสว่างอารมณ์ (ตอ่ ) สภาพดินฟ้าอากาศ สภาพพนื้ ดินโดยทั่วๆไป เปน็ ดนิ ปนทราย ส่วนมากเปน็ ทน่ี าโดยอาศยั นา้ ฝนตามธรรมชาติ หากปีใดฝนแลง้ ฝนทิง้ ช่วงหรอื มากเกินไปจนเกดิ น้าท่วม การทานากไ็ ม่ไดผ้ ล ลานา้ สาคัญ ๑) ลาน้าแควตากแดด ขนาดกว้างโดยเฉล่ยี ประมาณ ๑๐ เมตร ลึก ๓ เมตร ไหลมาจากทศิ ตะวนั ตกของ อาเภอลาดยาว จงั หวัดนครสวรรค์ เข้าเขตอาเภอสว่างอารมณท์ างทศิ เหนือผา่ นมาทางทศิ ตะวันออก แลว้ เข้าเขตอาเภอ ทัพทนั จังหวัดอุทยั ธานี ๒) ลาคลองโพ ขนาดกวา้ งโดยเฉลีย่ ประมาณ ๕ เมตร ลึก ๒ เมตร ไหลผ่านตาบลไผ่เขยี ว ตาบลพลวงสองนาง และตาบลสว่างอารมณ์ ไปบรรจบกบั ลาน้าแควตากแดดที่บา้ นสวา่ งน้อย ตาบลสวา่ งอารมณ์ ลาน้าท้งั สองสายนี้ มนี ้าแต่ เฉพาะฤดูฝนเทา่ นนั้

ข้อมูลพนื้ ฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ต่อ) ทรพั ยากรธรรมชาติ ๑) ป่าไม้มีมากทางเขตท้องทีต่ าบลไผ่เขียว และตาบลพลวงสองนาง ๒) แร่หินอ่อนพบท่ีเขาพระ เขาทองหลาง ตาบลพลวงสองนาง และทีเ่ ขาขจี ตาบล ไผ่เขยี ว ๓) หนิ จากภูเขาใช้ประโยชนใ์ นการก่อสรา้ งและทาถนน การคมนาคม การคมนาคมติดตอ่ ระหว่างอาเภอและจงั หวัด รวมท้งั การคมนาคมภายในตาบลและหมู่บา้ นมีรายละเอยี ดดงั น้ี ๑) ทางหลวงแผน่ ดนิ ๓๐๑๓ สาย อาเภอทพั ทัน - อาเภอสว่างอารมณ์ - อาเภอลาดยาว ๒) ทางหลวงแผน่ ดนิ ๓๔๕๖ สาย ตาบลโคกหม้อ - อาเภอทัพทัน - อาเภอสวา่ งอารมณ์สาหรับเส้นทางเชอื่ มต่อ ระหว่างตาบลและหมบู่ า้ น เปน็ สภาพถนนลูกรัง จานวน ๖๒ สาย

ขอ้ มลู พ้ืนฐานอาเภอสว่างอารมณ์ (ต่อ) การโทรคมนาคมตดิ ตอ่ สอื่ สาร ๑) มที ี่ทาการไปรษณีย์โทรเลข จานวน ๑ แหง่ ๒) มกี ารใหบ้ ริการตดิ ต่อสือ่ สารทางโทรศัพท์ โดยมจี านวนคสู่ าย ๖ คู่ ๓) มีหนว่ ยบรกิ ารผใู้ ช้ไฟฟา้ สงั กดั การไฟฟ้าภูมิภาคจงั หวัด จานวน ๑ แห่ง ได้แก่ การไฟฟา้ ย่อย สาขาอาเภอ สว่างอารมณ์ การสาธารณปู โภค ๑) มีการประปาระดบั อาเภอและตามตาบล หมูบ่ ้าน ดงั น้ี - การประปาสว่ นภูมภิ าค จานวน ๑ แห่ง ไดแ้ ก่ การประปาสว่ นภูมภิ าคสาขาสวา่ งอารมณ์ - การประปาหม่บู ้าน จานวน ๓๒ แหง่ ๒) แหลง่ นา้ กนิ - น้า ใช้ ประเภทอ่ืน - บ่อบาดาล จานวน ๑๘๐ บอ่ - บ่อนา้ ตนื้ จานวน ๔๐๐ บอ่ - ถงั เกบ็ น้า จานวน ๒๘๐ แห่ง

ขอ้ มลู พน้ื ฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ต่อ) การท่องเทยี่ ว ๑) เมืองโบราณบึงคอกช้าง หมู่ ๑๒ ตาบลไผ่เขียว หา่ งจากอาเภอสว่างอารมณ์ ๑๘ กโิ ลเมตร ๒) ถ้าเขาหิน หมู่ ๖ ตาบลบอ่ ยาง ห่างจากอาเภอ ๑๗ กิโลเมตร ๓) เขาหนิ เทิน หมู่ ๔ ตาบลพลวงสองนาง หา่ งจากอาเภอ ๒๑ กโิ ลเมตร ๔) วัดสว่างอารมณ์ หมู่ ๑ ตาบลสวา่ งอารมณ์ หา่ งจากอาเภอ ๑ กิโลเมตร ๕) ถ้าเขากวางทอง หมู่ ๒ ตาบลไผเ่ ขียว ห่างจากอาเภอ ๑๘ กโิ ลเมตร การศึกษา ๑) สถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน จานวน ๓๔ แห่ง ๒) สถานศึกษาในสงั กดั สานกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จานวน ๖ แหง่ คอื ๒.๑) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสว่างอารมณ์ ๑ แห่ง ๒.๒) กศน.ตาบล จานวน ๕ แห่งประกอบด้วย กศน.ตาบลหนองหลวง กศน.ตาบลสว่างอารมณ์ กศน.ตาบลพลวงสองนาง กศน.ตาบลบ่อยาง และ กศน.ตาบลไผ่เขยี ว ๒.๓) หอ้ งสมดุ ประชาชน จานวน ๑ แห่ง

ขอ้ มูลพ้นื ฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ตอ่ ) การศาสนา ประชากรส่วนใหญใ่ นเขตอาเภอสว่างอารมณน์ บั ถือศาสนาพุทธ มีวัดและทีพ่ ักสงฆ์ จานวน ๓๔ แหง่ วัฒนธรรม ประเพณีและวฒั นธรรมทีส่ าคญั ของอาเภอสว่างอารมณ์ ไดแ้ ก่ ๑) งานประเพณีสงกรานต์ ๒) งานประเพณตี กั บาตรเทโว ๓) งานประเพณีลอยกระทง สาธารณสุข ๑) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพประจาตาบล ๘ แห่ง ๒) โรงพยาบาลประจาอาเภอ ๑ แห่ง

ข้อมลู พืน้ ฐานอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ต่อ) สภาพปัญหาของอาเภอสว่างอารมณ์ ๑) ประชากรส่วนใหญข่ องอาเภอสวา่ งอารมณ์ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปัญหาสาคญั คือ การขาดแคลน แหล่งกกั เกบ็ น้าเพ่ือการทาการเกษตรกรรม และการอปุ โภคบริโภค ๒) ประชากรวัยแรงงานสว่ นหนงึ่ ได้ย้ายไปทางานในชุมชนเมอื ง เชน่ กรงุ เทพมหานคร ชลบรุ ี ทาใหผ้ ้สู ูงอายุ ไมไ่ ด้รบั การดแู ลจากลกู หลาน ๓) เส้นทางคมนาคมตดิ ต่อระหว่างหมบู่ ้านกับหมูบ่ ้าน หม่บู า้ นกับตาบลสว่ นใหญ่ ยงั เป็นถนนลูกรงั และถนนดนิ บางสายขาดความมั่นคงแขง็ แรง เมอื่ เกดิ อุทกภยั จะทาให้ถนนขาด เป็นอุปสรรคตอ่ การเดนิ ทางและการขนสง่ ผลผลติ ทางการเกษตร ๔) ราคาผลผลิตตกต่าโดยเฉพาะผลผลติ ทางการเกษตรที่เป็นอาชพี หลัก คือ ขา้ ว ออ้ ย ถั่ว มันสาปะหลงั

ข้อมลู พื้นฐานหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ต้ังอยู่ที่ หมู่ท่ี ๑ ตาบลสว่างอารมณ์ อาเภอสว่างอารมณ์ จังหวัด อุทัยธานี ภายในพื้นท่ีราชพัสดุของอาเภอสว่างอารมณ์ มีพื้นท่ีทั้งหมด ๑๒๐ ตารางวา ก่อสร้างเม่ือปีงบประมาณ ๒๕๓๓ โดยใช้งบประมาณทั้งส้ิน ๗๐๐,๐๐๐บาท เป็นเงินงบประมาณจากกรมการศึกษา นอกโรงเรียน ๕๐๐,๐๐๐ บาท งบประมาณสมทบจาก ส.ส.จังหวัดอุทัยธานี จานวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท สร้างเสร็จและเปิดบริการประชาชน เม่อื วนั ที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ และเปดิ เป็นทางการเมื่อวนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๕

ขอ้ มลู พื้นฐานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ตอ่ ) ลกั ษณะที่ตัง้ ห้องสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ตง้ั อยทู่ างทิศตะวนั ออกของทวี่ ่าการอาเภอสวา่ งอารมณ์ ตง้ั อยู่ที่ หม่ทู ่ี ๑ ตาบลสวา่ งอารมณ์ อาเภอสวา่ งอารมณ์ จังหวัดอทุ ัยธานี เนื้อท่ี มีพนื้ ที่ทง้ั หมด ๕๔๓ ตารางเมตร แยกออกเปน็ ๒ ส่วนดงั น้ี คือ - หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ ๔๘๐ ตารางเมตร - ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสว่างอารมณ์ ๖๓ ตารางเมตร อาณาเขตติดตอ่ ทิศเหนือ ติดกับ ศาลาประชาคมอาเภอสว่างอารมณ์ ทิศใต้ ติดกับ ศนู ย์ขอ้ มลู ประจาตาบล อาเภอสวา่ งอารมณ์ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กับ สถานตี ารวจภธู รอาเภอสวา่ งอารมณ์ ทิศตะวนั ตก ติดกับ ทว่ี า่ การอาเภอสวา่ งอารมณ์

ข้อมลู พืน้ ฐานห้องสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ตอ่ ) ปรชั ญา/อุดมการณห์ ้องสมุด “มุง่ มนั่ จดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหก้ บั ประชาชนทกุ เพศ ทุกวยั อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวิต” วิสัยทัศน์ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ เป็นผู้นาในการให้บริการส่งเสริมการอ่าน การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ตามอัธยาศัยแก่ประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการให้บริการ เพื่อเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ชุมชน ภารกจิ 1. ให้บริการการอา่ น การศึกษาคน้ คว้า ทุกเพศ ทกุ วัย ทกุ อาชีพ 2. ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การศึกษาในระบบโรงเรยี นและนอกระบบโรงเรียน 3. นาเทคโนโลยี สารสนเทศ ทีท่ นั สมัยมาใช้ในการใหบ้ รกิ าร 4. สง่ เสริมการกระจายความร้สู ู่ชมุ ชน 5. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น แก่ประชาชน

ขอ้ มลู พ้ืนฐานห้องสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ (ตอ่ ) เกยี รตคิ ณุ ของห้องสมุด - ได้รบั รางวัลชมเชยการจดั ห้องสมุดประชาชนอาเภอดเี ย่ียม จากศนู ยภ์ าคกลางปี ๒๕๓๕ - ได้รบั รางวัลหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอดีเด่นระดบั ประเทศ จากกรมการศึกษานอกโรงเรยี น ปี ๒๕๔๐ - ไดร้ บั รางวัลหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอดีเด่นระดบั ภาค จากศนู ย์การศกึ ษานอกโรงเรียน ภาคกลาง ปี ๒๕๔๐ - ได้รับเกียรติคุณบัตร การจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๔๗ ตามนโยบายพัฒนาห้องสมุด ประชาชนใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต จากสานักบรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน - ได้รับรางวัลห้องสมุดประชาชนอาเภอดีเด่น ระดับจังหวัด จากสานักงาน กศน.จังหวัดอุทัยธานี ประจาปี ๒๕๖๑

นโยบายหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ นโยบายห้องสมดุ ประเทศไทยมีการพัฒนาประเทศ ท้ังด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และสังคมอย่างรวดเร็ว จนกล่าวได้ว่าเข้าสู่ยุค ขา่ วสารข้อมูล ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตของประชาชนในสังคม ผู้ได้เปรียบทางสังคมเป็นผู้มีโอกาสทางการศึกษาและโอกาส ทางเศรษฐกิจ จะมีโอกาสบริโภคข่าวสารข้อมูลจากแหล่งและระบบการส่ือสารท่ีทันสมัย นามาซ่ึงความได้เปรียบในการครอบครอง ทรัพยากรแตกต่างจากประชาชนในชนบท โดยเฉพาะเกษตรกรที่มีระดับการศึกษาเพียงการศึกษาภาคบังคับ และอยู่ห่างไกลแหล่ง ข่าวสารข้อมูลและขาดระบบการส่ือสารท่ีทันสมัยซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกสถานภาพของประชาชนในด้าน เศรษฐกิจและสังคม จึงได้มีการกาหนดนโยบายของห้องสมุดให้มีประสิทธิภาพเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการ ดารงชีวติ ของประชาชนกลุม่ เปูาหมายต่างๆ ท้ังในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียน ท้ังนต้ี ้งั อยบู่ นวตั ถปุ ระสงค์ ๓ ประการ คือ ๑. เพื่อพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ที่ให้บริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัยการเรียนรู้นอกระบบ โรงเรยี นและส่งเสริมการเรียนรใู้ นระบบโรงเรยี น ๒. เพ่ือพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์ข้อมูลชุมชนท่ีรวบรวมจัดระบบและให้บริการแลกเปล่ียนเผยแพร่ ประสาน ข่าวสารข้อมูล และสารสนเทศทีเ่ ก่ยี วกับการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์และชมุ ชน ๓. เพื่อพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้มีบทบาทในการสร้างประสานและพัฒนาความร่วมมือระหว่างบุคลากร องค์กรและ หนว่ ยงานตา่ งๆ ในรปู แบบเครือขา่ ยเพื่อสง่ เสริมการเรียนของประชาชน

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานหอ้ งสมุด งานพ้ืนฐานของห้องสมุดประชาชน ประกอบด้วย งานฝุายต่างๆ ได้แก่ งานบริหารจัดการห้องสมุด งานเทคนิค งานบริการของห้องสมุด งานกิจกรรมของห้องสมุด และ งานวิชาการห้องสมุด (กองการเจ้าหน้าที่กรมการ ศึกษา นอกโรงเรียน. ๒๕๔๐: ๖) ในงานพ้ืนฐานท้ังหมด งานท่ีถือว่าเป็น หัวใจของห้องสมุดคือ งานบริการ ทุกงานจะมุ่งประโยชน์สู่ ผู้รบั รกิ ารของห้องสมดุ ทัง้ สิ้น ซ่งึ สามารถเขยี นเป็นแผนภมู ไิ ด้ ดงั น้ี

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานหอ้ งสมุด (ต่อ) งานบริหารห้องสมุดประชาชน การบริหารห้องสมุดประชาชน ได้แก่ การดาเนินการที่จะทาให้งานห้องสมุดประชาชนเป็นไปตามนโยบาย จุดเน้น วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ เปูาหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ภายใต้เง่ือนไข ปัจจัยในการบริหาร ได้แก่ คน งบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์ และการจัดการ โดยอาศยั ทฤษฎีการบริหารและกระบวนการบรหิ ารงานทเ่ี หมาะสม และสังคม มีส่วนร่วมในการดาเนนิ งาน การบรหิ ารห้องสมุดประชาชน ประกอบด้วยงานย่อย ดงั นี้ ๑. การกาหนดกระบวนทัศน์ของงานห้องสมุดประชาชนให้เหมาะสมกับสภาวะการ บทบาทหน้าท่ี นโยบายและจุดเน้นของหน่วยงาน ต้นสังกัด ๒. การกาหนดโครงสรา้ งแผนงานและยทุ ธศาสตรก์ ารปฏิบัตงิ านทุกดา้ นการจัดทาโครงการและแผนปฏิบตั ิงานด้านตา่ งๆ ตลอดปี ๓. การกาหนดองค์กรการบริหารงานการจัดบุคลากรบทบาทหน้าท่ี มอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบการสร้างขวัญและกาลังใจ การควบคมุ กากับ ดูแล ฯลฯ ๔. การประชาสัมพนั ธ์หอ้ งสมุดประชาชน ๕. การประสานงานกับคณะกรรมการหอ้ งสมุด ชมุ ชน องคก์ ร หนว่ ยงานตา่ งๆและเครอื ข่ายการเรยี นร้อู ืน่ ๆ ๖. อาคาร สถานที่ บรรยากาศ สง่ิ แวดล้อม ๗. วัสดุ ครภุ ัณฑ์ ๘. งานธุรการ ๙. การเก็บสถติ ิ ประเมินผล การจดั ทารายงานต่างๆ ๑๐. งบประมาณและการเงิน

งานเทคนคิ หอ้ งสมุดประชาชน งานเทคนิคของห้องสมุด ได้แก่ งานที่ดาเนินการเก่ียวกับวัสดุสารนิเทศ หรือสื่อความรู้ ต่างๆ ที่ใช้ในการบริการ ตั้งแต่ การวิเคราะห์ความต้องการ คดั เลอื ก และจดั หาเข้ามาจนถึงการจาหนา่ ยออกจากห้องสมดุ ประกอบด้วยงานยอ่ ยดงั นี้ ๑. การสารวจความต้องการส่ือสิง่ พมิ พ์และสือ่ อิเล็กทรอนกิ สข์ องผ้รู ับบรกิ าร ๒. การสารวจส่ือความรตู้ ่างๆ ที่มีในหอ้ งสมุดว่ามีเพียงพอ ถูกต้องทันสมัย ตรงตามความต้องการ หรือมีสภาพที่ต้องซ่อมแซม หรอื ไม่ ๓. การเลือกและการจัดหาสื่อสิ่งพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เน่ืองจากสื่อความรู้มีเป็นจานวนมาก งบประมาณมีน้อย ต้อง คดั เลอื กและจัดหาใหต้ รงตามนโยบายและให้ได้วัสดุท่ีมีคณุ คา่ ท่สี ุดตรงตามความตอ้ งการและหลักเกณฑ์ทางวชิ าการมากทส่ี ดุ ๔. การเตรียมสื่อหรือการเตรียมวัสดุสารนิเทศ ต้ังแต่การรับสื่อ แล้วตรวจสอบกับรายการส่ังซื้อ สภาพความเรียบร้อย การ ประทบั ตรา ลงทะเบยี นหนงั สือและสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ การจดั หมวดหมหู่ นงั สอื ตามระบบสากล ไดแ้ ก่ ระบทศนยิ มของดิวอ้ี ๕. การลงรายการข้อมลู ระบบเช่ือมโยงแหล่งเรยี นรู้ ท่ีใช้ในห้องสมุด เพ่อื อานวยความสะดวกในการคน้ หา ๖. การจัดหนังสอื ขนึ้ ช้นั และสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ข้ึนชน้ั เพอ่ื การบริการ ๗. การดแู ล รักษา สือ่ ความรู้ทัง้ สื่อส่ิงพิมพ์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ๘. การสารวจและการจาหนา่ ยหนังสอื ท่ีหมดสภาพออกจากหอ้ งสมดุ ๙. การจดั สงิ่ อานวยความสะดวกเกยี่ วกับการคน้ คว้าอืน่ งานเทคนิค เป็นงานสาคญั งานหนึ่งทีจ่ ะทาใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารเขา้ ถึงสารนเิ ทศไดส้ ะดวกถกู ต้องตรงตามความตอ้ งการได้อย่างรวดเรว็

กิจกรรมหอ้ งสมุดประชาชน กจิ กรรมห้องสมุดประชาชน ท่หี ้องสมดุ จัดทาขน้ึ ให้กล่มุ เปาู หมาย ใหเ้ หน็ ความสาคญั ในการอา่ น การศึกษาคน้ คว้า ในฐานะที่ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ตามอัธยาศัยทใี่ หก้ ารศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื สง่ เสรมิ การอ่านการศึกษา คน้ คว้าใหเ้ ป็นผู้ใฝุรู้ ให้ทันเหตุการณ์ของโลก และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดให้มีผู้มาใช้บรกิ ารมากยง่ิ ข้ึน เช่น การ จัดนิทรรศการให้ความรู้ต่างๆ การจัดปูายประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน การจัดห้องสมุดเคลื่อนที่สู่ชุมชน กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ จัดทาประวัติชุมชนและภูมิปัญญาท้องถ่ินอาเภอสว่างอารมณ์ การจัดบอร์ดส่งเสริมศิลปวฒั นธรรม ประเพณี การจัดกจิ กรรมวนั สาคญั ต่างๆ งานวิชาการของห้องสมุดประชาชนมี ๒ ลักษณะ คือ เอกสารเกี่ยวกับการดาเนินงานห้องสมุดท่ีจัดทาข้ึนเพื่อ ปรับปรุงงานและพัฒนาห้องสมุดประชาชน เช่น การศึกษาค้นคว้าวิจัยงานห้องสมุดคู่มือปฏิบัติงานท่ีพัฒนาจากงานเดิม รายงานผลการพัฒนาการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน รายงานผลการพัฒนางานในหน้าที่ห้องสมุด เป็นต้น และผลงานทาง วิชาการท่ีเป็นประโยชน์ในการศึกษา เช่น ชุดวิชา หรือ ชุดการสอน เอกสารประกอบการสอนที่เก่ียวกับงานห้องสมุด ประชาชนทที่ าขนึ้ เพ่อื สอนเอง หรอื บคุ คลอื่นใชส้ อนรวมทั้งบทความทางวชิ าการท่ีเก่ยี วขอ้ งกับห้องสมดุ ประชาชน

งานบรกิ ารของหอ้ งสมดุ งานบริการเป็นหัวใจสาคัญของห้องสมุด เพราะงานต่างๆ ของห้องสมุดท่ีดาเนินการก็เพื่อสู่การให้บริการท่ีดี ท่ีสุด เพื่อให้กลุ่มเปูาหมายท่ีใช้บริการอยู่แล้ว และ ผู้ท่ียังไม่เคยใช้บริการ ได้ใช้บริการและรับบริการที่ดีท่ีสุดในการอ่าน การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในการพัฒนาตนเองให้ทันต่อสังคมยคุ โลกาภิวัตน์ โดยการเข้าถึงและได้ใช้ทรัพยากรสารนิเทศ หรอื ส่ือความรู้ ทีห่ อ้ งสมดุ จัดหาไวใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ ่อการศึกษาการเรยี นรู้ให้มากทสี่ ุดอย่างต่อเน่อื งไปจนตลอดชวี ติ งานบรกิ ารพื้นฐานของหอ้ งสมดุ ประชาชนโดยทวั่ ไป เป็นการบรกิ ารใหเ้ กดิ ความร้ตู ามอัธยาศยั ดังน้ี ๑. บริการให้อ่านและศึกษาค้นคว้าจากสื่อความรู้ โดยเสรี โดยกท่ีห้องสมุดจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อ ทรัพยากรสารนเิ ทศและสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ใหพ้ ร้อมบริการ ๒. บรกิ ารให้ยืมหนังสอื ทงั้ ภายในหอ้ งสมดุ และภายนอกหอ้ งสมุดสาหรับนาไปอ่านศึกษาค้นควา้ ท่ีบา้ น ๓. บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าเป็นการช่วยเหลือผู้ใช้บริการให้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้ รวดเรว็ ข้นึ ๔. บริการแนะนาการใช้ห้องสมุดฯลฯ งานห้องสมุดประชาชนจะได้รับความนิยมจากผู้รับบริการหรือไม่น้ัน ขึ้นอยกู่ บั การทห่ี อ้ งสมดุ ใหบ้ รกิ ารไดต้ รงตามความตอ้ งการของกลุ่มเปูาหมาย

กลุ่มเปา้ หมายผู้รบั ริการ งานห้องสมุดประชาชนเป็นงานเกี่ยวกับการบริการการอ่าน การศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ตามอัธยาศัยแก่ผู้รับบริการ โดยไม่จากัดวัย เพศ วุฒิ ศาสนา เชื้อชาติ ต้ังแต่เกิดจนตายอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ซ่ึงงานบริการจะมีคุณภาพ ประสิทธิภาพได้น้ัน งานด้านอ่ืนๆ ของหอ้ งสมุดจะต้องมคี ุณภาพและสอดคลอ้ งกนั อาคารสถานที่ สงิ่ อานวยความสะดวกและสภาพแวดลอ้ มของหอ้ งสมุด ๑. อาคารสถานที่ สถานที่ตั้งอยู่ใกล้ชุมชนและการคมนาคมสะดวก อาคารห้องสมุดและท่ีต้ัง มีอาคารเป็นเอกเทศชั้นเดียว โดยคานึงถึง ประโยชนใ์ ชส้ อย การบรกิ ารและจดั กจิ กรรมของหอ้ งสมุด ๒. ครภุ ัณฑข์ องหอ้ งสมดุ เชน่ โตะ๊ จานวน ๖ ตวั เก้าอ้ี จานวน ๓๐ ตวั คอมพวิ เตอร์ ๒ เครอ่ื ง ดีวีดี จานวน ๑ เคร่อื ง โทรทศั น์ ขนาด ๒๑ นิ้ว จานวน ๑ เครอ่ื ง

ขอ้ มูลความต้องการของผ้รู บั บริการ/ชมุ ชน การบริการของห้องสมุดประชาชนจากการต้ังรับเป็นการบริการเชิงรุก โดยเพ่ิมบริการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย หรือพัฒนารูปแบบบริการช่วยการค้นคว้าตอบคาถามจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น จากอินเตอร์เน็ต การจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) สื่อบทเรียนสาเร็จรูป (CAI) เป็นต้น เป็นรูปแบบการจัดการศึกษา ตามอธั ยาศยั การบริการของห้องสมุดประชาชนปัจจุบันเป็นบริการเชิงรุก ห้องสมุดจัดเตรียมสื่อสาร สนเทศ อย่างหลากหลายไว้บริการภายในแล้ว ยังกระจายสื่อการเรียนรู้ไปยังแหล่งชุมชนและหน่วยงานราชการเพ่ือสนองต่อ ความต้องการของประชาชนเป็นการเรียนรู้ตามอัธยาศัยทาให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศและได้รับ ข้อมูล ที่สมบูรณ์ ทรัพยากรสารนิเทศของห้องสมุดถูกใช้อย่างคุ้มค่า เป็นการบริการเชิงรุกให้ประชาชนได้รับการศึกษา จากบรกิ ารของหอ้ งสมดุ อยา่ งเต็มทอี กี ท้งั ยังเปน็ การสง่ เสริมการอ่านการศกึ ษาคน้ คว้าใหม้ ากยง่ิ ขน้ึ

ผลการดาเนนิ งาน สรปุ การดาเนนิ งานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ๑. เงินงบประมาณ เงนิ งบประมาณท่ีไดร้ บั จากการจัดสรร สาหรับการดาเนนิ งานห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ประจาปี ๒๕๖๓ เปน็ จานวนเงนิ ๗๙,50๐.- บาท ดงั น้ี ๑.๑ งบดาเนนิ งาน งบ 501 บรหิ ารงานหอ้ งสมดุ ประชาชน จานวน 30,000 บาท งบ 502 คา่ หนงั สือพิมพ์/วารสารห้องสมุด - ค่าหนังสอื พมิ พ์ จานวน 3,65๐ บาท - คา่ วารสารห้องสมุด จานวน ๑0,๐๐๐ บาท งบ 503 คา่ หนงั สอื สือ่ ห้องสมุด ประชาชน จานวน ๓๐,๐๐๐ บาท งบ 504 ค่าสาธารณปู โภค จานวน 5,850 บาท

สรุปการดาเนนิ งานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓(ตอ่ ) ๒. ส่อื หมายถึงส่อื สิง่ พิมพ์ สือ่ โสตทัศน์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทใ่ี ชใ้ นการบริการหอ้ งสมดุ ๒.๑ หนงั สอื และเอกสารทวั่ ไป ที่จัดซือ้ ด้วยเงินงบประมาณมีจานวนท้ังสน้ิ ตามรายละเอยี ดดังนี้ ที่ รายการ จานวนหนงั สือท่ซี ือ้ (เลม่ ) ๑ หมวด ๐๐๐ ๖๔๕ ๒ หมวด ๑๐๐ ๒๕๘ ๓ หมวด ๒๐๐ ๔๐๐ ๔ หมวด ๓๐๐ ๖๘๕ ๕ หมวด ๔๐๐ ๒๖๑ ๖ หมวด ๕๐๐ ๔๓๐ ๗ หมวด ๖๐๐ ๗๙๗ ๘ หมวด ๗๐๐ ๓๑๓ ๙ หมวด ๘๐๐ ๒๖๐ ๑๐ หมวด ๙๐๐ ๕๓๓ ๑๑ นวนยิ าย เรอื่ งส้ัน ๒,๓80 ๑๒ อา้ งองิ ๕๓๑ ๑๓ เยาวชน หนังสอื เด็ก ๑,๕33 รวม ๘,๙๓๖

สรปุ การดาเนนิ งานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓(ตอ่ ) ๒.๒ วารสารและนิตยสาร ที่ รายการ หมายเหตุ วารสารและนิตยสาร ท่ีห้องสมุดประชาชนอาเภอ สว่างอารมณ์ ให้บริการแก่สมาชิกจะเป็นวารสารท่ีหอ้ งสมุด ๑. มติชน (รายสัปดาห)์ จานวน 52 ฉบบั จดั ซอื้ ดว้ ยเงินงบประมาณ ๒. แพรว (รายเดอื น) จานวน 12 ฉบับ ๓. อสท (รายเดอื น) จานวน 12 ฉบับ ๔. ชีวจติ (รายปักษ์) จานวน 22 ฉบบั ๕. เทคโนโลยชี าวบา้ น (รายปกั ษ)์ จานวน ๒4 ฉบับ ๖. บา้ นและสวน (รายเดือน) จานวน ๑๒ ฉบับ ๗. หมอชาวบ้าน (รายเดอื น) จานวน 1๒ ฉบับ ๘. สดุ สัปดาห์ (รายเดอื น) จานวน ๑ ฉบับ ๙. ขายหัวเราะ จานวน 12 ฉบบั รวมวารสารจัดซื้อทงั้ ปี จานวน 159 ฉบบั

สรุปการดาเนนิ งานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓(ตอ่ ) ๒.๒ วารสารและนติ ยสาร ลาดบั ที่ รายการ หมายเหตุ ๒.๓ หนงั สือพมิ พ์ ๑. วารสาร กศน. เดือนละ ๑ ฉบับ รบั หนังสือพิมพ์วันละ 1 ฉบบั คอื ๒. สมศ. เดือนละ ๑ ฉบบั หนงั สอื พิมพไ์ ทยรัฐ ๓. กบข. เดอื นละ ๑ ฉบบั รวม จานวน 365 ฉบับ ๔. SMART เดอื นละ ๑ ฉบับ ๕. สารพลังงาน เดอื นละ ๑ ฉบับ ๖. จดหมายขา่ วรัฐสภา เดอื นละ ๑ ฉบบั ๗. เกษตรและสหกรณ์ เดือนละ ๑ ฉบบั ๘. ไทยคฟู่ าู เดอื นละ ๑ ฉบับ ๙. วชิ าการปรทิ ัศน์ เดอื นละ ๑ ฉบบั ๑๐. วฒั นธรรม เดือนละ ๑ ฉบบั ๑๑ ธกส. เดอื นละ ๑ ฉบบั ๑๒ ศาสนา เดอื นละ ๑ ฉบบั ๑๓ อาหารและยา เดอื นละ ๑ ฉบบั ๑๔ เกษตรและสหกรณ์ เดอื นละ ๑ ฉบบั

สรุปการดาเนนิ งานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓(ต่อ) ๒.๓ หนงั สือพิมพ์ ที่ รายการ วชิ าการ จานวนสือ่ (แผน่ ) รับหนงั สอื พิมพว์ ันละ 1 ฉบบั คอื บนั เทิง กศน. มสธ อ่นื ๆ หนงั สือพมิ พไ์ ทยรฐั รวม จานวน 365 ฉบับ ๒.๔ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ๑ ซดี ี ๑๐๒ ๒๐ ๘๕ - - ๒ วซี ีดี ๒๓๖ ๒๕ ๑๒๐ - - รวม ๖๕๖ แผ่น

สรุปการดาเนนิ งานหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓(ตอ่ ) ๓. ผใู้ ช้บริการ ๓.๑ จานวนสมาชิกปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จานวน ๑,283 คน ( จานวนสมาชิกเพิม่ ขึน้ 28 คน ) ๓.๒ จานวนผู้ใช้บรกิ ารตลอดท้ังปี จานวน ๒๑,798 คน ( จานวนผู้ใชบ้ ริการเพม่ิ ขึน้ 299 คน) ๓.๓ ผู้ใช้บริการเฉลย่ี 59 คน / วนั แผน-ผล สมาชิกและผู้ใชบ้ ริการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ห้องสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์

สรุปผลการโครงการ ๑. ชอ่ื โครงงาน/โครงการ สง่ เสรมิ เดก็ ไทยใสใ่ จการอ่านเน่อื งในงานวนั เด็กแห่งชาติ ประจาปี 256๓ ๒. สอดคล้องนโยบาย / จุดเนน้ การดาเนินงาน ของสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภารกิจต่อเน่ือง 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย ขอ้ 2) จดั กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรูเ้ พอื่ ปลกู ฝังนสิ ัยรกั การอา่ น และพฒั นาความสามารถในการอา่ นและศกั ยภาพการเรียนรู้ ของประชาชนทกุ กลุม่ เปูาหมาย ๓. สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ๑.๑ ผรู้ บั บรกิ ารมีความรู้ หรอื ทกั ษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หรือ กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒.๒ ผ้จู ดั กจิ กรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๒.๓ ส่อื หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่เี อ้ือตอ่ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒.๔ ผูร้ ับบริการมีความพึงพอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

สรุปผลการโครงการ(ตอ่ ) ๔. หลกั การและเหตุผล พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯรัชกาลท่ี ๙ พระราชทาน เนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติ ต้ังแต่ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๔ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน มีความว่า “ คนทุกคนมีหน้าท่ีต้องทา แม้เป็นเด็กก็มีหน้าที่อย่างเด็ก คือ ศึกษาเล่าเรียน หมายความ ว่า จะต้องเรียนให้รู้วิชา ฝึกหัดทาการงานต่างๆให้เป็น อบรมขัดเกลา ความประพฤติและความคิดจิตใจให้ประณีต ให้สุจริต แจ่มใส และเฉลี ยวฉลาด มี เหตุผล เพ่ือจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถและมีประโยชน์ ต่อชาติบ้านเมือง” เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลท่ีสาคัญยิ่งต่อประเทศชาติ เป็น พลงั สาคัญในการพัฒนาชาตบิ า้ นเมอื งใหเ้ จริญกา้ วหนา้ และม่ันคง เด็กจงึ ควรเตรยี มตวั ทีจ่ ะเป็นกาลังของชาติด้วย การขยันหม่ันศึกษาหาความรู้และใช้เวลา ให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มท่ี ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็งต้ังใจทางานด้วยความรับผิดชอบยึดมั่นในความซื่อ สัตย์ สุจริต ตลอดจนมคี วามเมตตากรุณาชว่ ยเหลอื เอ้ือเฟื้อผู้อ่ืน เสียสละและบาเพ็ญประโยชน์เพ่ือส่วนรวม ช่วยกันรักษาความสะอาดและอนุรักษ์ทรัพยากร ตลอดถึง สาธารณสมบัตสิ ว่ นรวมของชาติ หากเด็กทุกคนไดต้ ระหนกั ถึงอนาคตของตนและของประเทศชาติ โดยพยายามประพฤติปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับวัยแล้วก็ จะได้ช่อื วา่ เป็น“เด็กดี”ชาตบิ า้ นเมอื งกจ็ ะเจรญิ มคี วามผาสกุ ร่มเยน็ ตลอดไป ห้องสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมเด็กไทยใส่ใจการอ่านเน่ืองในงานวันเด็กแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๓ ขึ้น เพื่อให้เด็กและ เยาวชนตระหนักถึงความสาคัญของการอ่าน มีทักษะในการอ่านและมีนิสัยรักการอ่านมากข้ึน และได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์ในการเข้าร่วม โครงการ

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๕. วัตถุประสงค์ ๕.๑ เพื่อส่งเสริมใหเ้ ด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสาคญั ของการอ่าน ๕.๒ เพ่ือเสรมิ สรา้ งทกั ษะในการอา่ นให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่านมากขน้ึ ๕.๓ เพือ่ ให้เดก็ และเยาวชนได้รับความรแู้ ละ/หรือประสบการณใ์ นการเขา้ ร่วมโครงการ ๖. เป้าหมาย ๖.๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ เดก็ และเยาวชน จานวน ๒๐๐ คน ๖.๒ เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ ๑. เดก็ และเยาวชนตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการอา่ น ๒. เด็กและเยาวชนมที ักษะในการอา่ นและมีนิสยั รกั การอา่ นมากขน้ึ ๓. เดก็ และเยาวชนได้รบั ความรู้และ/หรือประสบการณใ์ นการเขา้ ร่วมโครงการ

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๗. ผลการดาเนนิ งาน โครงการสง่ เสรมิ เดก็ ไทยใสใ่ จการอา่ นเนอื่ งในงานวนั เดก็ แหง่ ชาติ ประจาปี 2563 ๗.๑ การใช้จ่ายงบประมาณ (ความก้าวหน้า เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ของการใช้จ่ายงบประมาณที่งาน/โครงการได้รับการ จัดสรร) 250 200 150 100 รับจดั สรร ใชจ้ ่าย คงเหลือ คดิ เป็นร้อยละ 50 ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ 0 ๗.๒ ผลผลติ ของการดาเนนิ งาน/โครงการเชิง เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ (เปรยี บเทยี บกับเปา้ หมายของ งาน/โครงการทกี่ าหนดไว้ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ (คน) (คน) บรรลุ ไม่บรรลุ ๒๐๐ ๒๐๐ √-

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) รายละเอยี ดโครงการ ท่ี โครงการ วัน/เดอื น/ปี สถานท่ดี าเนินงาน เปา้ หมาย ผลการ มคี วามร/ู้ การบรรลุ (คน) ดาเนนิ งาน ประสบการณ์ วตั ถปุ ระสงค์ ที่ดาเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ๒๐๐ ๒๐๐ (คน) √- ๑ โครงการส่งเสริมเดก็ ไทยใส่ใจการ 29 ม.ค. ๖๓ โรงเรียนอนบุ าลสว่าง ๒๐๐ อา่ นเนือ่ งในงานวันเด็กแหง่ ชาติ อารมณ์ ประจาปี 256๓ ๗.๓ ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ตัวชี้วดั ผลผลิต (Output) ร้อยละ 80 เดก็ และเยาวชนตระหนกั ถึงความสาคญั ของการอา่ น ร้อยละ ๘๐ เดก็ และเยาวชนได้รบั ความรู้และ/หรอื ประสบการณใ์ นการเข้ารว่ มโครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) รอ้ ยละ 80 เด็กและเยาวชนมีทักษะในการอา่ นและมีนิสยั รักการอา่ นมากข้ึน

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๗.๔ ภาพการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ การอ่านโครงการส่งเสริมเด็กไทยใสใ่ จการอ่านเนอ่ื งในงาน วนั เด็กแหง่ ชาติ ประจาปี 256๓

สรุปผลการโครงการ ๑. ชอ่ื โครงงาน/โครงการ โครงการ Mobile library วิถไี ทยแลนด์ยคุ ๔.๐ ๒. สอดคล้องนโยบาย / จดุ เนน้ การดาเนนิ งาน ของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภารกิจต่อเนื่อง 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอ้ 2) จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรเู้ พื่อปลกู ฝงั นสิ ัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่านและศกั ยภาพการเรียนรู้ ของประชาชนทุกกล่มุ เปาู หมาย ๓. สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผรู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ๑.๑ ผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ หรือทกั ษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒.๒ ผู้จดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒.๓ สือ่ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมท่ีเอือ้ ตอ่ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ๒.๔ ผู้รบั บริการมีความพึงพอใจตอ่ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

สรุปผลการโครงการ(ตอ่ ) ๔. หลกั การและเหตุผล สานักงาน กศน. ได้กาหนดแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ เกี่ยวกับการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้ห้องสมุดเคล่ือนท่ี ผลสารวจการอ่านของคนไทย ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบว่าคนไทยใช้เวลาอ่านเพิ่มมากขึ้นเป็น ๘๐ นาทีต่อวัน โดยอ่านหนังสือเล่มร้อยละ ๘๘ และอ่านบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาแรงถึงร้อยละ ๗๕.๔ ซ่ึงอยู่ในระดับท่ีใกล้เคียงกันมากขึ้น สะท้อนว่า หนังสือเล่มยังคงอยู่เคียงคู่สื่อใหม่ ในภาพรวม มีคนไทยอ่าน ร้อยละ ๗๘.๘ ซึ่งหมายถึงยังมีคนไทยท่ีไม่อ่านถึงร้อยละ ๒๑.๒ เพราะฉะนั้นประเทศชาติ ต้องการยกระดับให้การอ่านของคนไทยเพ่ิมข้ึน สถิติการอ่านของคนไทยมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ ที่แตกต่างกันออกไป เมื่อเข้าสู่ยุคดิจิทัล พบว่า การอ่านผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ส่งผลต่อการอ่าน ทาให้ห้องสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ ต้องปรับตัวตาม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สานักงาน กศน. ได้กาหนดแนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพ่ือปลูกฝังนิสัย รักการอ่าน พัฒนาความสามารถในการอ่าน และ ศกั ยภาพการเรียนรขู้ องประชาชนทกุ กล่มุ เปาู หมาย หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอสวา่ งอารมณ์ตระหนักถึงความสาคัญในการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ จึงได้จัดโครงการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย โครงการ Mobile library วิถีไทยแลนด์ยุค ๔.๐ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน ประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้าน การบรกิ ารห้องสมดุ แกป่ ระชาชน และประชาชนไดร้ บั ความรู้และ/หรอื ประสบการณ์ในการเขา้ รว่ มโครงการ

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๕. วัตถุประสงค์ ๕.๑ เพ่ือให้ประชาชนมนี ิสยั รกั การอ่านเพมิ่ มากข้ึน ๕.๒ เพอ่ื ประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมด้านการบริการห้องสมุดแก่ประชาชน ๕.๓ เพื่อให้ประชาชนไดร้ ับความร้แู ละ/หรอื ประสบการณ์ในการเขา้ ร่วมโครงการ ๖. เปา้ หมาย ๖.๑ เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ประชาชนทวั่ ไป จานวน ๒๐๐ คน ๖.๒ เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ๖.๒.๑ ประชาชนมีนิสยั รักการอา่ นเพ่มิ มากข้ึน ๖.๒.๒ ให้บริการกิจกรรมห้องสมุดแกป่ ระชาชน ๖.๒.๓ ประชาชนได้รับความรู้และ/หรอื ประสบการณใ์ นการเข้ารว่ มโครงการ

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) โครงการ Mobile library วิถีไทยแลนด์ยุค ๔.๐ ๗. ผลการดาเนนิ งาน ๒๗๔ ๓๕๐ ๗.๑ การใช้จ่ายงบประมาณ (ความก้าวหน้า ๒๐๐ ๓๐๐ ๒๕๐ ของการใช้จ่ายงบประมาณท่ีงาน/โครงการได้รับการ ๒๐๐ จดั สรร) ๑๕๐ ๑๐๐ รับจัดสรร ใชจ้ ่าย คงเหลือ คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๐ ๐ ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ๗.๒ ผลผลติ ของการดาเนินงาน/โครงการเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ (เปรยี บเทยี บกับเปา้ หมายของ งาน/โครงการทีก่ าหนดไว้ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ (คน) (คน) บรรลุ ไม่บรรลุ ๒๐๐ ๒๗๔ √-

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) รายละเอยี ดโครงการ ท่ี โครงการ วนั /เดอื น/ปี สถานทดี่ าเนนิ งาน เปา้ หมาย ผลการ มคี วามร/ู้ การบรรลุ (คน) ดาเนินงาน ประสบการณ์ วัตถุประสงค์ ที่ดาเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ ๒๐๐ ๒๗๔ (คน) √- ๑ โครงการ Mobile library วิถไี ทย ธ.ค.๖๒ พืน้ ทอี่ าเภอสวา่ ง ๒๗๔ แลนดย์ คุ ๔.๐ - อารมณ์ ส.ค.๖๓ ๗.๓ ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ ตัวชว้ี ดั ผลผลิต (Output) รอ้ ยละ 80 ประชาชนได้รบั ความรู้และ/หรือประสบการณ์ในการเข้ารว่ มโครงการ ตัวชว้ี ัดผลลพั ธ์ (Outcome) ร้อยละ 80 ประชาชนได้รับการบรกิ ารกจิ กรรมห้องสมุด รอ้ ยละ 80 ประชาชนมีนิสัยรกั การอา่ นเพ่มิ มากขน้ึ

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๗.๔ ภาพการดาเนนิ งานโครงการ Mobile library วถิ ีไทยแลนดย์ คุ ๔.๐

สรปุ ผลการโครงการ ๑. ช่อื โครงงาน/โครงการ โครงการความลบั ใต้ต้นไม้ ๒. สอดคล้องนโยบาย / จุดเนน้ การดาเนนิ งาน ของสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ๓.๕ พฒั นานวัตกรรมการศึกษาเพอื่ ประโยชน์ตอ่ การจดั การศกึ ษาและกล่มุ เปูาหมาย ขอ้ ๒) สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏบิ ตั งิ าน การบริหารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้ ภารกิจต่อเนื่อง 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย ข้อ 2) จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรูเ้ พอ่ื ปลูกฝงั นิสัยรกั การอ่าน และพฒั นาความสามารถในการอา่ นและศกั ยภาพการเรียนรู้ ของประชาชนทกุ กลุ่มเปูาหมาย ข้อ ๓) สง่ เสริมใหม้ ีการสรา้ งบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมทเี่ ออ้ื ตอ่ การอ่านให้เกิดข้นึ ในสังคมไทยโดยสนบั สนุนการพัฒนาแหลง่ การเรียนรใู้ หเ้ กดิ ข้ึนอยา่ งกวา้ งขวางและทั่วถงึ เช่น พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนทกุ แห่งใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรู้ตลอดชวี ติ ของชุมชน สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น การสรา้ งเครอื ขา่ ยส่งเสริมการอา่ น จดั หน่วยบริการเคลอ่ื นท่ีพรอ้ มอุปกรณ์เพ่อื จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านและการเรียนร้ทู ี่ หลากหลายใหบ้ ริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีตา่ งๆ อยา่ งท่ัวถงึ สม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสรา้ งความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณเ์ พื่อสนบั สนนุ การอ่าน และการ จัดกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย

สรุปผลการโครงการ(ตอ่ ) ๓. สอดคล้องกบั มาตรฐานและตัวบ่งช้ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๑.๑ ผู้รบั บริการมีความรู้ หรอื ทกั ษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ หรือ กจิ กรรมการศึกษา ตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี ๒ คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๒ ผจู้ ดั กิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒.๓ ส่อื หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ตอ่ การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๒.๔ ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย

สรุปผลการโครงการ(ตอ่ ) ๔. หลกั การและเหตุผล “นวัตกรรม” มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปล่ียนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ นวัตกรรม จึง หมายถึงการนาส่ิงใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพ่ิมเติมจากวิธีการที่ทาอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning innovation) หมายถึง ส่ิงใหม่ท่ีนามาใช้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีจุดเน้นที่การจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การอ่านจั ดเป็นพื้นฐานที่สาคัญของ การเรยี นรูแ้ ละการพัฒนาสติปัญญาของคนในสังคมไทย การอ่านทาให้เกดิ การพัฒนาด้านสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและค่านิยมต่าง ๆ รวมทั้งชว่ ยในการเปลี่ยนแปลงการดาเนินชวี ิตโดยพัฒนาไปสูส่ งิ่ ท่ดี ีทส่ี ุดของชีวิต การอา่ นจงึ มีความสาคญั ตอ่ ชีวติ มนุษยอ์ ย่างยิ่ง การสร้างนิสัยรกั การอ่านให้แกเ่ ดก็ และเยาวชนเปน็ เรื่องสาคัญ เพราะการอา่ นเป็นทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับการศึกษาหาความรู้ควบคู่กับทักษะอื่น การอ่าน เป็นพ้ืนฐานที่สาคัญของการเรียนรู้และการพัฒนาสติปัญญาของคนในสังคม การอ่านทาให้เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและค่านิยมต่าง ๆ รวมทั้งช่วยในการเปล่ียนแปลงการดาเนินชีวิตพัฒนาไปสู่ส่ิงที่ดีท่ีสุดของชีวิต การอ่านจึงมีความสาคัญต่อเ ด็กและเยาวชน เป็นอย่างย่ิง ปัจจุบันการอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรม ที่ไม่แพร่หลาย การอ่านหนังสือที่ดีและมีสาระย่ิงน้อยลงไปสาเหตุมีอยู่หล ายประการ นบั ตงั้ แตก่ ารขาดแคลนหนังสอื ท่ีดี และตรงกับความสนใจ การขาดแรงจงู ใจและแรงกระตุ้นให้เห็นความสาคัญของการอ่าน ตลอดจนนิสัยรักการอ่านทั้ง ในและนอกสถานที่ ดังนน้ั การอ่านหนังสือจนเกดิ เป็นนสิ ยั จาเป็นต้องมีการปลูกฝังและชกั ชวนใหเ้ กิดความสนใจ ห้องสมุดประชาชนอาเภอสว่างอารมณ์ตระหนักถึงความสาคัญในการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ จึงได้จัดโครงการความลับใต้ต้นไม้ โดยมี วัตถุประสงค์ เพ่ือปลูกฝังให้ประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน เพิ่มมากขึ้น ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ “น่ังที่ไหน อ่านท่ีนั่น” และได้รับความรู้และ/หรือ ประสบการณใ์ นการเข้าร่วมโครงการ

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๕. วัตถปุ ระสงค์ ๕.๑ เพื่อปลูกฝงั ใหป้ ระชาชนมีนิสยั รกั การอ่านเพิ่มมากข้ึน ๕.๒ เพ่อื ให้ประชาชนใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ “น่ังทไี่ หน อ่านท่นี นั่ ” ๕.๓ เพอื่ ใหป้ ระชาชนได้รบั ความรู้และ/หรือประสบการณใ์ นการเข้ารว่ มโครงการ ๖. เปา้ หมาย ๖.๑ เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ประชาชนทว่ั ไป จานวน 3๐๐ คน ๖.๒ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ ๖.๒.๑ ประชาชนมนี สิ ัยรักการอา่ นเพมิ่ มากขึน้ ๖.๒.๒ ประชาชนใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ “นัง่ ทไี่ หน อา่ นทน่ี ั่น” ๖.๒.๓ ประชาชนไดร้ บั ความรแู้ ละ/หรือประสบการณ์ในการเข้ารว่ มโครงการ

สรุปผลการโครงการ(ตอ่ ) ๗. ผลการดาเนนิ งาน โครงการความลับใต้ต้นไม้ 350 ๗.๑ การใช้จ่ายงบประมาณ (ความก้าวหน้า 300 300 305 250 ของการใช้จ่ายงบประมาณท่ีงาน/โครงการได้รับการ 200 จดั สรร) 150 100 รบั จัดสรร ใชจ้ ่าย คงเหลอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 0 0 0 ๐.๐๐ 0 เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ๗.๒ ผลผลิตของการดาเนนิ งาน/โครงการเชิง เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ (เปรียบเทียบกับเปา้ หมายของ งาน/โครงการทกี่ าหนดไว้ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลุวัตถุประสงค์ (คน) (คน) บรรลุ ไมบ่ รรลุ 3๐๐ ๓๐๕ √-

สรุปผลการโครงการ(ตอ่ ) รายละเอียดโครงการ ท่ี โครงการ วนั /เดอื น/ปี สถานที่ดาเนนิ งาน เป้าหมาย ผลการ มีความร/ู้ การบรรลุ (คน) ดาเนินงาน ประสบการณ์ วัตถปุ ระสงค์ ท่ีดาเนินงาน บรรลุ ไม่บรรลุ ๓๐๐ 305 (คน) √- ๑ โครงการความลับใต้ต้นไม้ พ.ย.๖๒ หอ้ งสมดุ ประชาชน 305 - อาเภอสว่างอารมณ์ ส.ค.๖๓ ๗.๓ ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ ตวั ช้ีวดั ผลผลติ (Output) รอ้ ยละ 80 ประชาชนไดร้ ับความรู้และ/หรอื ประสบการณ์ในการเขา้ ร่วมโครงการ ตวั ชีว้ ัดผลลัพธ์ (Outcome) ร้อยละ 80 ประชาชนใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ “น่ังท่ไี หน อ่านทน่ี ่นั ” ร้อยละ 80 ประชาชนมีนิสยั รักการอ่านเพ่มิ มากข้ึน

สรปุ ผลการโครงการ(ตอ่ ) ๗.๔ ภาพการดาเนนิ งานโครงการความลบั ใต้ตน้ ไม้

สรปุ ผลการโครงการ ๑. ชอ่ื โครงงาน/โครงการ โครงการระบายสีภาพสวยด้วยสองมือเรา ๒. สอดคล้องนโยบาย / จุดเน้นการดาเนนิ งาน ของสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภารกิจตอ่ เน่ือง 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอ้ 2) จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนร้เู พอ่ื ปลูกฝังนิสยั รกั การอ่าน และพฒั นาความสามารถในการอ่านและศกั ยภาพการเรยี นรู้ ของประชาชนทกุ กล่มุ เปูาหมาย ๓. สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอ มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ๑.๑ ผรู้ บั บริการมีความรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานท่ี ๒ คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ๒.๑ การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ๒.๒ ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒.๓ สือ่ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเี่ อือ้ ต่อการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒.๔ ผรู้ ับบริการมคี วามพงึ พอใจตอ่ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook