Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการทำพัดสานจากไม้ไผ่

โครงการทำพัดสานจากไม้ไผ่

Published by 096 นิชาภา ลือวัฒนะ, 2021-02-05 17:03:07

Description: โครงการทำพัดสานจากไม้ไผ่

Search

Read the Text Version

ภูมปิ ญั ญาไทยการทาพดั สานจากไม้ไผ่ ผู้จดั ทา 1. นางสาว เจนจริ า รักนาค รหสั 63302010084 2. นางสาว ดลญา บญุ ชู รหสั 63302010092 3. นางสาว นิชาภา ลือวัฒนะ รหัส 63302010096 4. นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ รหสั 63302010102 5. นางสาว ยวุ ดี เอีย่ มสาอางค์ รหสั 63302010106 แผนกวิชา การบญั ชี เอกสารฉบับนีเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาคน้ ควา้ ประกอบการเรยี นรายวิชา 30000-1501 วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563



ภมู ปิ ญั ญาไทยการทาพดั สานจากไมไ้ ผ่ ผจู้ ัดทา 1. นางสาว เจนจริ า รกั นาค รหัส 63302010084 2. นางสาว ดลญา บญุ ชู รหสั 63302010092 3. นางสาว นิชาภา ลอื วัฒนะ รหัส 63302010096 4. นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ รหัส 63302010102 5. นางสาว ยวุ ดี เอี่ยมสาอางค์ รหัส 63302010106 แผนกวิชา การบัญชี เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวชิ า 30000-1501 วิทยาลยั เทคนิคลพบุรี สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

ก ชือ่ เรือ่ ง : ภมู ิปญั ญาไทยการทาพดั สานจากไม้ไผ่ ผู้จดั ทา : นางสาว เจนจริ า รักนาค ทปี่ รึกษา นางสาว ดลญา บญุ ชู ปกี ารศึกษา นางสาว นชิ าภา ลือวฒั นะ นางสาว ภรภัทร ผกากาญจน์ นางสาวยุวดี เอย่ี มสาอาง : อาจารย์ ศริ โิ สภา วศิ ิษฏ์วฒั นะ : 2/2563 บทคัดย่อ เร่ือง ภูมิปัญญาไทยการทาพัดสานจากไม้ไผ่ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือศึกษาเรียนรู้วิธีการทาพัดสาน และ ต้องการอนุรักษ์เผยแพร่พัดสานท่ีเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินให้คนได้รู้จักเพิ่มมากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใน ชุมชนมรี ายไดเ้ พียงพอกับรายจ่าย และเป็นการส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และทาให้เกิด กระบวนการเรียนรู้โดยการพ่ึงตนเอง รูปแบบของการศึกษาค้นคว้า ทางคณะผู้จัดทาได้ทาการลงพ้ืนท่ีสารวจ ในอาเภอบ้านแพรก และค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเพ่ิมเติม เพื่อให้ได้เน้ือหาท่ีมีประโยชน์ต่อผู้ท่ีต้องการ ศกึ ษา ผลของการศึกษาพบวา่ ไดเ้ รยี นรู้วธิ ีการทาพัดสานเพิม่ มากขนึ้ ร้จู กั รปู ร่างรปู ทรงของพัดสานจากเดิมท่ีไม่ ค่อยรูจ้ กั และนาพัดสานมาใช้ได้จริงหรือนาไปทาเป็นรายได้เสริมของนักเรียนนักศึกษาและผู้ว่างงาน สามารถ นาไปเผยแพร่ให้คนรุ่นหลงั ต่อได้

ข กิตติกรรมประกาศ โครงการนส้ี าเรจ็ ลลุ ่วงไดด้ ้วยความกรณุ าจากอาจารย์ศริ โิ สภา วศิ ษิ ฏว์ ฒั นะ อาจารยท์ ป่ี รึกษาวชิ าชีวิต กับสังคมไทย ท่ีได้ให้คาเสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนการแก้ไขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนโครงการเล่ม นี้เสรจ็ สมบรู ณ์ ผู้ศกึ ษาขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูง ขอขอบพระคุณ คุณพ่อคุณแม่และผปู้ กครองท่ีใหค้ าปรกึ ษาให้เรอ่ื งต่าง ๆ รวมท้ังเปน็ กาลังใจทีด่ ีเสมอ มาและสดุ ท้ายขอขอบคุณเพ่ือน ๆ ท่ีช่วยใหค้ าแนะนาดี ๆ เกย่ี วกบั การเลือกคา การใช้คาที่เหมาะสมและให้ คาแนะนาอ่นื ๆ เกยี่ วกับโครงการเลม่ น้ี นางสาว เจนจริ า รักนาค นางสาว ดลญา บุญชู นางสาว นชิ าภา ลือวัฒนะ นางสาว ภรภัทร ผกากาญจน์ นางสาวยวุ ดี เอย่ี มสาอาง

สารบญั ค เรือ่ ง หนา้ บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข คานา ค สารบญั ง สารบัญ (ต่อ) จ สารบญั ตาราง ฉ สารบัญภาพ ช บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ความเปน็ มา 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1 1.3 ขอบเขตการวจิ ัย 1 1.4 ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ บทท่ี 2 ทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้อง 2 2.1 พดั สาน 2 2.2 วธิ กี ารทาพดั สาน 3 2.3 การสานพัด 3 2.4 การตดั แบบพัดสาน 3 2.5 การเยบ็ พดั สาน 3 2.6 การใสด่ ้ามพัด บทท่ี 3 วิธีการศึกษาค้นควา้ 4 3.1 ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 4 3.2 วัสดอุ ุปกรณใ์ นการทาพัดจากไมไ้ ผ่ บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า 5 4.1 ผลท่ีได้รับจากการศึกษาคน้ คว้า บทท่ี 5 สรุปผลอภปิ ายและข้อเสนอแนะ 6 5.1 สรุปผลการทดลอง 6 5.2 ข้อเสนอแนะ 7 บรรณานกุ รม 8 - 12 ประวัตผิ ู้ศึกษา

สารบญั ภาพ ง เรอื่ ง หน้า ภาพที่ 3.1 3

1 บทที่ 1 บทนา 1.ความเป็นมา สภาพทั่วไปหรือปญั หาท่ีมีสว่ นสนบั สนุนให้รเิ รม่ิ ทาโครงการ เน่อื งจากสังคมในปัจจุบันมี ไม้ไผ่เหลือใช้ และถกู ทิง้ อยเู่ ป็นจานวนมาก และมกั จะถกู มองข้ามอยเู่ สมอ จงึ มีการนยิ มนาไม้ไผ่มาแปรรูป นั่นคือ การนาเอา วัตถุดิบจากธรรมชาติ นามาผ่านกระบวนการต่าง ๆ เปล่ียนเเปลงสภาพ เช่น ตัด จักร ย้อมสี ตากแดด เพื่อ เป็นการนามาแปรรูปได้ง่ายและสวยงามมากข้ึน และเก็บรักษาได้นาน และเน่ืองจากสภาวะเศรษฐกิจไม่ดี จึง ชว่ ยทาให้เพิ่มรายได้เสรมิ ใหก้ บั ตนเอง พัดสาน ถือเป็นของใช้สาหรับโบกเตาไฟของคนไทยในสมัยก่อน หรือใช้สาหรับโบกร่างกายให้หาย คลายจากความร้อนได้ สามารถที่จะนาติดตัวไปไหนมาไหนได้อย่างสะดวก สาเหตุเกิดจากคนในชุมชน ประกอบอาชีพทาพัดสาน ผจู้ ดั ทาจงึ เกิดความคดิ อยากศึกษาการทาพัดสานที่ทามาจากไม้ไผ่ เพราะเป็นการนา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มาใช้ และอุปกรณ์หาได้ตามท้องถ่ิน และช่วยให้คนในชุมชน มรี ายไดเ้ สรมิ สรุปถึงความจาเป็นที่ต้องทาโครงการ เพ่ือศึกษาข้ันตอนการทาพัดสานจากไม้ไผ่ และรวมไปถึงการท่ี จะสามารถถา่ ยทอดเผยแพรใ่ ห้คนภายนอกหรือคนท่ีมคี วามสนใจในเร่อื งการทาพัดสานจากไม้ไผ่ จากโครงการ เรอื่ งนี้ 2.วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่อื ศกึ ษาเรยี นรวู้ ธิ ีทาพดั สาน 2.2 เพ่อื อนรุ กั ษเ์ ผยแพร่พัดสานที่เปน็ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ใหค้ นไดร้ ู้จักเพมิ่ ขนึ้ 2.3 เพอื่ สง่ เสริมให้ประชาชนในชมุ ชนมรี ายไดเ้ พียงพอกับรายจ่าย 2.4 เพอื่ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 2.5 เพ่ือทาให้เกดิ กระบวนการเรียนรู้ โดยการพ่ึงตนเอง 3.ขอบเขต 3.1 สถานที่ อ.บ้านแพรก จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 3.2 ระยะเวลา วันท่ี 4 มกราคม 3.3 ตัวแปรหรือประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3.1 ประชากร คอื กลุม่ แม่บา้ น อ.บา้ นแพรก จ.พระนครศรีอยธุ ยา 3.2 กล่มุ ตัวอย่าง คอื กลุ่มแม่บ้าน อ.บา้ นแพรก จ.พระนครศรอี ยุธยา 4.ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ ไดเ้ รียนรวู้ ิธีการทาพัดสานเพิ่มมากขน้ึ รู้จักรูปรา่ งรปู ทรงของพัดสานมากขน้ึ จากเดิมท่ีไม่คอ่ ยรูจ้ กั และ นาพัดสานมาใช้งานได้จริงหรือนาไปทาเป็นรายไดเ้ สรมิ ของนักเรยี นนกั ศึกษาหรือผ้วู า่ งงาน สามารถนาไป เผยแพร่ให้คนรุน่ หลงั ต่อได้

2 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกย่ี วข้อง ในการศกึ ษาเร่อื ง พัดสาน ผ้จู ดั ทาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎแี ละหลักการต่าง ๆจากเอกสารที่เก่ียวข้อง ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1.พัดสาน เป็นของใชส้ าหรบั โบกเตาไฟของคนไทยในสมัยก่อน หรอื ใชส้ าหรบั โบกร่างกายให้หายคลายจากความ ร้อนได้ สามารถที่จะนาติดตัวไปไหนมาไหนได้อย่างสะดวก วัสดุท่ีใช้สานพัดเป็นผลผลิตจากพืชพรรณ ธรรมชาติในท้องถ่นิ คือ ไม้ไผ่ การสานพัด ผู้สานนิยมสานเป็นรูปลักษณะต่าง ๆ มุ่งเน้นประโยชน์การใช้งาน มี การปรับปรุงพัฒนารูปแบบให้มีความสวยงามประณีต เช่น พัดสานห้าเหล่ียมเหมาะสาหรับโบกพัดเตาไฟ พัด ยกลายดอกเป็นลวดลายตา่ ง ๆ พัดละเอียดรปู ใบโพธิ์หรอื รปู หัวใจ และรูปตาลปัตร พดั สานบ้านแพรกเป็นงาน หัตถกรรมพื้นบา้ นอันทรงคุณค่าทเี่ กดิ จากภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น อาเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชาว อาเภอบ้านแพรก ริเร่ิมการสานพัดมาเป็นเวลานับ ๔0 ปี มีการประยุกต์ปรับปรุงรูปแบบตลอดเวลา การสาน พัดเป็นอาชีพที่เสริมรายได้ดีภายในครัวเรือน ชาวบ้านจะสานพัดในช่วงว่างเว้นจากการทานา เป็นสินค้า พื้นเมืองท่ีสาคัญอย่างหน่ึงของชาวบ้านแพรก พัดสานจึงกลายมาเป็นงานหัตถกรรมพ้ืนบ้านที่มีช่ือเสียง และ ได้รับการยกย่องให้เป็นเอกลักษณ์ของชาวอาเภอบ้านแพรก ดังปรากฏในคาท่ีว่า หลวงพ่อเขียว หลวงพ่อขาว หลวงพ่อเภาคู่บ้าน พัดสานคู่เมือง พิพิธภัณฑ์ลือเล่ือง รุ่งเรืองเกษตรกรรม เลิศล้าหัตถศิลป์ ดินแดนถิ่นลิเก บา้ นเกดิ ของหอมหวล นาคศริ ิ ราชาลเิ กแห่งเมอื งไทย 2.2.วิธีการทาพัดสาน คัดเลือกไม้ ข้ันตอนแรกคือการเลือกไม้ไผ่ท่ีจะนาทาสานพัด ไม้ไผ่นิยมมาจักตอกสานพัดคือไม้สีสุก การคดั เลอื กไม้จะต้องเปน็ ไม้ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปเรียกว่า ไม้มันปลากด เน้ือไม้จะขาวเป็นมัน เม่ือนาไปย้อมสี สีจะเป็นเงาสดใส ไม้ที่นิยมนามาสานพัดคือ ไม้อ่อน เพราะไม้อ่อนมอดจะกิน เม่ือแห้งเส้นตอกจะแตกเพราะ เนื้อไม้หดตวั สาหรบั ไมแ่ ก่ของเน้อื ไม้จะเป็นสีนา้ ตาล เมื่อย้อมสีสีจะไม้สด และเน้ือไม้ท่ีแก่จะกรอบแตกหักง่าย ไม้ท่ีเป็นตามดเนื้อไม้จะดา ผู้สานจะคัดเลือกไม้ท่ีมีลาสมบูรณ์ปล้องยาว ปลายลาหรือกด้วยยอดไม่ด้วนเพราะ ไมท้ ี่ยอดหรอื ปลายลาด้วนเนือ้ ไมจ้ ะหลาบไมส่ มบูรณ์ การจักตอก นาไม้ที่คัดเลือกได้มาตัดเป็นท่อนด้วย เลื่อยคมละเอียด ถ้าเป็นพัดเล็กใช้ปล้องยาวประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร และพัดใหญ่ใช้ปล้องยาวประมาณ 30 – 50 เซนติเมตร นามาจักตอกเอาข้อไมอ้ อกให้หมด การจักตอกทาพัดละเอียด เส้นตอกจะมีขนาดเล็กเป็น พิเศษ มีความกว้างประมาณ 3 – 4 มิลลิเมตร ถ้าเป็นพัดธรรมดาหรือพัดหยาบขนาดเส้นตอกจะใหญ่ การจัก ตอกจะต้องนาผิวและข้ีไม้ออกให้หมด ลอกตอกด้วยมีดตอก ลักษณะของมีดตอกเป็นมีดท่ีมีส่วนปลายแหลม คมด้ามยาว เวลาจักตอก ผู้จักจะใช้มีดแนบลาตัว เพื่อบังคับให้เส้นตอกมีความบางเสมอกันตลอดทั้งเส้น การ จกั ตอกนยิ มจักครั้งละมาก ๆ นาตอกท่ีจักไปผึ่งลมหรือแดดให้แห้งก่อนนาไปยอมสี การย้อมสี การย้อมสีต้อง

3 ย้อมลงภาชนะท่เี ตรียมไว้ และย้อมคร้ังละมาก ๆ เป็นการประหยัดสี สลับสีตามต้องการ วิธีการย้อมต้องย้อม ลงในน้าเดือด จุ่มเส้นตอกให้ทั่วตลอดท้ังเส้นเม่ือย้อมแล้วนาตอกที่ย้อมไปล้างในน้าเย็น เป็นการล้างสีท่ีไม่ติด เนอื้ ไม้ออกก่อน จะเหลอื เฉพาะสีทต่ี ดิ เนอื้ ไม่เท่าน้นั นาไปผ่ึงลมหรือแดดใหแ้ ห้งกอ่ นนาไปสาน 2.3.การสานพัด การสานพัดนิยมสานเป็นลวดลายต่าง ๆ ลายที่เป็นลายพ้ืนฐานของการสานพัดคือลายสองและลาย สาม การสานพดั ผู้สานจะใชค้ วามชานาญและความสามารถพิเศษในการสานยกดอกลวดลาย ปรับปรุงรูปแบบ ประยุกต์ลวดลายให้มีความสวยงามประณีต ใช้เฉพาะลายพ้ืนฐานเท่านั้น เช่น สานยกดอกเป็นลายเครือวัลย์ ลายดอกพิกุล ลายดอกเก้า ลายดอกจันทน์ ลายตราหมากรุก เป็นต้น ลักษณะเด่นของพัดสานบ้านแพรก คอื การประยกุ ตร์ ปู แบบใหม้ คี วามสวยงามประณีต เช่น สานเป็นตัวหนังสอื ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สานเป็น ลายรูป 12ราศี รปู เจดยี ์ 3 องค์ วดั พระศรีสรรเพชร รูปพระเจ้าอู่ทอง รูปนกคู่ สานประยุกต์ลวดลายแบบตาม โอกาสและสถานท่ีท่ตี ้องการ 2.4.การตดั แบบพดั สาน เมื่อสานเป็นแผงตามต้องการ จะนาแบบหรือแม่พิมพ์ที่สร้างไว้เป็นรูปใบโพธ์ิ วางทาบลงบนแผนพัดท่ี สานไว้ ใชด้ นิ สอช่างไมข้ ีดตามรอยขอบของแมพ่ ิมพ์ใช้กรรไกรชนดิ ตดั สงั กะสตี ัดตามรอยดินสอทีข่ ีดไว้ 2.5.การเย็บพัดสาน นาพัดสานที่ตัดตามแม่พิมพ์มาเย็บขอบพัดด้วยดิ้นเงิน ดิ้นทอง หรือลูกไม้สีต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมความ สวยงามให้แก่พัดสาน การเย็บในสมัยก่อนใช้เย็บด้วยมือ สมัยปัจจุบันนิยมใช้เคร่ืองจักรเย็บผ้าเย็บเพราะ สะดวกและลวดเร็วกว่าการเย็บด้วยมอื 2.6.การใสด่ า้ มพดั สาน นาด้ามที่เหลาแล้วมาเจาะด้วยสว่านมือจานวน 2 รู นาตัวใบพัดมาประกอบด้ามโดยใช้ตะปูหัวกลมตอกลงลง ตามทเ่ี จาะไว้ แลว้ พับปลายตะปทู ้ังสอง ยึดติดให้แนน่ เพ่ือให้พดั สานมีความคงทนและสวยงาม ใช้น้ามันชักเงา ทาเคลอื บพดั ท้ังด้ามและดา้ นหลงั ของตัวพัดกจ็ ะได้พดั สานที่ความสวยงามตามต้องการ

4 บทที่ 3 วธิ กี ารศึกษาคน้ คว้า 3.1 ขัน้ ตอนการดาเนินงาน 3.1.1 ค้นหาเร่ืองท่ีจะศึกษา ทางกลุ่มมีการปรึกษาสมาชิกในกลุ่ม โดยมีการตกลงว่าต้องการศึกษา เก่ียวกับการสานพัดจากไมไ้ ผ่ 3.1.2 หาแหลง่ เรียนรกู้ ารสานพดั จากไมไ้ ผ่ ในอาเภอบา้ นแพรก จังหวดั พระนครศรีอยุธยา เพื่อสารวจ เบ่อื งต้นเก่ียวกับการสานพัดจากไม้ไผ่ และค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมขั้นตอนการทาพัดสานจากอินเทอร์เน็ตและใน หนังสอื ว่าพดั สานมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร สามารถหารายไดจ้ ากทางใดได้บา้ ง 3.2.1 นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุปและอภิบายผล เพ่ือประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่รวบรวมมา ไดแ้ ล้วนามาแปลความหมายและหาเหตผุ ล สรุปผลออกมาเป็นเล่มโครงการ 3.2 วัสดุอุปกรณ์ในการทาพดั สานจากไม้ไผ่ 1.มดี จกั ตอก 2.สีย้อมผา้ 3.เตาถา่ น 4.แบบพมิ พร์ ูปพัด 5.เปก๊ ตอกเย็บพัด 6.ดา้ ย ค้อน เลื่อย สวา่ นเจาะดา้ มพัด 7.กะละมงั แปรงทาสี ภาพที่ 3.1 สานพัด

5 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาคน้ คว้า 1.ไดเ้ รยี นรวู้ ธิ ีการทาพัดสานเพม่ิ มากข้ึน 2.ทาภูมิปัญญาการทาพัดสานเป็นทรี่ ูจ้ กั มากขนึ้ ไดร้ ับการส่งเสรมิ และอนรุ ักษส์ ู่คนรุ่นต่อไป 3.ทาใหผ้ ศู้ กึ ษาไดเ้ ขา้ มามีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูและสบื สานภมู ปิ ญั ญาในท้องถ่ิน 4.ไดเ้ รยี นรู้ความสาคัญ รู้จกั วิถชี วี ิต รู้ถึงคณุ ค่าของประวตั ิศาสตรใ์ นทอ้ งถ่ินอนั จะสร้างความภมู ใิ จและจิตสานึก ในการรักษา ประเพณีและภมู ิปัญญาของท้องถ่ินสืบไป

6 บทท่ี 5 สรุปอภิบายผลและขอ้ เสนอแนะ โครงการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ อาเภอบ้านแพรก จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ผู้ดาเนนิ โครงการมสี รปุ ผลการดาเนินงานโครงการและขอ้ เสนอแนะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 5.1 สรุปผลการดาเนินการ 5.2 ข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ ในปจั จุบนั พัดสานจากไม้ไผห่ รือเคร่ืองสานอ่ืน ๆจะมีอยู่น้อย แต่ก็ยังคงมีอยู่ท่ัวไป ทุกภาคใน ประเทศ นอกเหนือจากประโยชน์ใช้สอยแล้ว การสานพัดด้วยไม้ไผ่ยังสะท้อนวัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ดังน้ันควรให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษาเก่ียวกับงานจักรสานและรักษา เอกลักษณ์วฒั นธรรมในดา้ นการจกั รสานผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ไวส้ ืบต่อไป 5.2 ข้อเสนอแนะ 1.การเพ่ิมความคงทนและความสวยงาม 2.การเพิ่มความหนาแน่น ความประณีต 3.ควรประปรุงในด้านการเก็บรายละเอยี ด เช่น การเกบ็ ปลายฟาง การดงึ เชือกฟางใหแ้ น่น 4.เพ่ิมชอ่ งทางการศกึ ษาคน้ คว้าลงในอินเทอร์เน็ต

7 บรรณานกุ รม แหลง่ ข้อมลู 1.https://suttinai.wordpress. 2. https://sites.google.com

8 ประวตั ิผู้จัดทา ชื่อเรอ่ื ง พัดสานจากไมไ้ ผ่ 1. นางสาว เจนจิรา รกั นาค ประวัตสิ ่วนตวั เกดิ วนั ที่ 7 สิงหาคม 2544 ทอี่ ยู่ 54/1 หมู่ 7 ต.โพธิ์เก้าต้น อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี 15000 ประวตั ิการศกึ ษา จบ ป.6 โรงเรียนเมืองใหมช่ ลอราษฎรร์ งั สฤษฏ์ ปี 2557 จบ ม.3 โรงเรยี นเมืองใหม่ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์ ปี 2560 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบุรี ปี 2563 กาลังศึกษาอยู่ในระดบั ช้นั ปวส. วทิ ยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี 2563 - ปจั จุบนั

9 2. นางสาว ดลญา บุญชู ประวตั ิส่วนตวั เกดิ วันท่ี 22 พฤศจิกายน 2544 ทอ่ี ยู่ 224 หมู่ 5 ต.หนองเตา่ อ.บา้ นหม่ี จ.ลพบรุ ี 15110 ประวตั ิการศึกษา จบช้นั ป.6 โรงเรยี นรตั นศึกษา ปี พ.ศ.2557 จบชนั้ ม.3 โรงเรียนบา้ นหม่วี ทิ ยา ปี พ.ศ.2560 จบ ปวช.3 วิทยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ี ปี พ.ศ.2563 กาลงั ศึกษาอยใู่ นระดบั ชั้น ปวส. วิทยาลัยเทคนิคลพบรุ ี ปี 2563 - ปัจจุบัน

10 3.นางสาว นิชาภา ลอื วัฒนะ ประวัติส่วนตวั เกิดวันท่ี 12 ตลุ าคม 2544 ทอ่ี ยู่ 45 หมู่ 1 ต.คลองน้อย อ.บา้ นแพรก จ.พระนครศรีอยธุ ยา ประวัติการศึกษา จบ ป.6 โรงเรียนเกตุพิชยั วทิ ยา ปี 2557 จบ ม.3 โรงเรียนวนิ ติ ศึกษาในพระราชปู ถัมภฯ์ ปี 2560 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี ปี 2563 กาลงั ศึกษาอยใู่ นระดบั ช้ัน ปวส. วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี 2563 - ปจั จุบัน

11 4.นางสาว ภรภทั ร ผกากาญจน์ ประวัตสิ ่วนตัว เกดิ วนั ท่ี 13 มกราคม 2544 ท่อี ยู่ 106 หมู่ 7 ต.บ้านเบกิ อ.ท่าวุง้ จ.ลพบุรี 15150 ประวัตกิ ารศกึ ษา จบ ป.6 โรงเรยี นบา้ นมว่ งอย่ปู ระยงค์ ณ บา้ นเบิก ปี 2557 จบ ม.3 โรงเรยี นวินติ ศึกษาในพระราชูปถัมภฯ์ ปี 2560 จบ ปวช. 3 วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี ปี 2563 กาลงั ศึกษาอยู่ในระดับชั้น ปวส. วิทยาลัยเทคนิคลพบรุ ี ปี 2563 - ปจั จุบัน

12 5.นางสาว ยุวดี เอี่ยมสาอาง ประวตั ิส่วนตัว เกิดวนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2544 ท่อี ย่ปู ัจจุบัน 41/4 ม.1 ต.หนองมว่ ง อ.หนองม่วง จ.ลพบรุ ี ประวัตกิ ารศกึ ษา จบ ป.6 โรงเรียนแก้วประทานพรวิทยา ปี 2557 จบ ม.3 โรงเรียนพระนารายณ์ ปี 2560 จบ ปวช. 3 วิทยาลยั เทคนคิ ลพบุรี ปี 2563 กาลังศกึ ษาอยู่ในระดับชน้ั ปวส. วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ี ปี 2563 - ปัจจุบนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook