Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้

ใบความรู้

Published by 945sce00454, 2021-10-01 04:18:24

Description: ใบความรู้

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เร่ือง แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) นับว่าเป็นเวลานานกว่าทศวรรษแล้วท่ีนักดาราศาสตร์ได้มีการค้นพบแถบไคเปอร์ ซ่ึงแถบไคเปอร์ เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะ และอยู่บริเวณขอบรอบนอกเลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ประกอบด้วย วัตถุจ้าพวกดาวเคราะห์น้อยที่มีน้าแข็งมากคล้ายหัวดาวหาง ปัจจุบันนักดาราศาสตร์ได้พบวัตถุแถบไคเปอร์ มาแล้วกว่า 700 ดวง และพบว่าขอบเขตของแถบไคเปอร์ด้านนอกอยู่ท่ีประมาณ 50 หน่วยดาราศาสตร์จาก ดวงอาทติ ย์ พ้นขอบเขตนไี ปแทบไมม่ ีวัตถุแถบไคเปอร์อยูเ่ ลยหรอื ถ้ามกี ็ขนาดเลก็ มากกว่า 200 กโิ ลเมตร ภาพท่ี 1 แสดงแถบไคเปอร์ (Kuiper belt) ทีม่ า https://commons.wikimedia.org/wiki/File:NASA- PathsOfSpaceProbesThroughTheKuiperBelt-20190105.jpg แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) หมายถึง บริเวณที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ท่ีด้านนอก ระบบสรุ ยิ ะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีกอ้ นวตั ถแุ ขง็ เปน็ น้าแข็งขนาดเล็กจ้านวนมากโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ในแถบไคเปอร์นีมีวัตถุน้าแข็งปนหินอย่างน้อย 100,000 ดวง โดยมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้าแข็ง ซ่ึงดวงจันทร์ของดาวเสาร์และดาวเนปจูนบางดวงก็มา จากแถบไคเปอร์มีแนวคิดว่าขอบนอกของเมฆออร์ตเป็นตัวระบุขอบเขตของระบบสุริยะ และเช่ือกันว่าก้อน น้าแขง็ เหลา่ นี เป็นแหลง่ ก้าเนิดของดาวหางคาบสนั โดยชื่อแถบไคเปอรน์ ี ได้ตังเพื่อเป็นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไค เปอร์ (Gerard Peter Kuiper) ผู้ค้นพบ

ภาพท่ี 2 เจอรารด์ ไคเปอร์ (Gerard Peter Kuiper) ทมี่ า https://en.wikipedia.org/wiki/File:GerardKuiper.jpg , Miraceti วตั ถใุ นแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects) เปน็ วตั ถุท่หี นาวเย็นเช่นเดียวกับดาวหาง แต่มีวงโคจร อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครังจึงเรียกว่า Trans Neptune Objects แถบไคเปอร์นีจะอยู่ในระนาบ ของสุริยะวิถีโดยมีองค์ประกอบหลักเป็นหินปนน้าแข็ง และมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ถัดจากดาวเนปจูน ออกไป วงโคจรของวัตถุในแถบไคเปอร์เอียงท้ามุมเป็นระนาบเดียวกันสุริยวิถีเพียงเล็กน้อย โดยมีระยะห่าง จากดวงอาทิตย์ 40 – 500 AU (AU ย่อมาจาก Astronomical Unit หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับ ระยะทางระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์ หรือ 150 ล้านกิโลเมตร) ดาวพลูโตและดาวเคราะห์แคระซึ่งถูกค้นพบ ใหม่เป็นวัตถุในแถบคอยเปอร์ เช่น เอริส เซดนา วารูนา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุประเภทนีแล้วมากกว่า 35,000 ดวง อาจสรุปได้ว่าในปัจจุบันนันมีการก้าหนดทฤษฎีเรื่องวงแหวนหรือแถบวัตถุน้าแข็งไคเปอร์ และได้รับ การยนื ยันวา่ มจี รงิ เนือ่ งจากมีการคน้ พบวัตถุน้าแข็งจ้านวนมากมาย และดวงแรกที่ค้นพบคือ 1992 QB1 พบ เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ.1992 หรือปี พ.ศ.2535 มีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ราว 37-59 หน่วยดาราศาสตร์ มี การคน้ พบวตั ถุนา้ แข็งไคเปอร์เพิม่ ขนึ ทุกปี นบั ถงึ เดอื นเมษายน พ.ศ.2545 ค้นพบวัตถุดังกล่าว จ้านวนมากกว่า 500 ดวงแล้ว เช่ือว่ามีวัตถุน้าแข็งขนาดใหญ่กว่า 100 กิโลเมตร อยู่ในแถบวงแหวน ไคเปอร์อย่างน้อย ประมาณ 35,000 ดวง และยังมีขนาดเล็ก ๆ อีกจ้านวนมากมาย วัตถุก้อนใหญ่ ที่สุดท่ีพบในวงแหวนแถบนีคือ 2000 WR106 มขี นาดราว 900 กิโลเมตรนน่ั เอง

อ้างอิง https://tuemaster.com/blog/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%B 8%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%96%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%84 %E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-kuiper-belt-objects- %E0%B8%AA%E0%B8%B8/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook