Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฐานการเรียนรู้ "ภูมิปัญญาท้องถิ่นปลูกพืชไร้ดินได้"

คู่มือฐานการเรียนรู้ "ภูมิปัญญาท้องถิ่นปลูกพืชไร้ดินได้"

Published by bbo_ chaleawkit, 2019-06-09 03:46:38

Description: คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การบูรณาการสะเต็มศึกษาสู่อาชีพ ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การบูรณาการสะเต็มศึกษาสู่อาชีพ ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสระแก้ว

Keywords: การปลูกพืชไร้ดิน

Search

Read the Text Version

สแกนเพอื่ อา่ น E-Book เดอื นรตั น์ เฉลยี วกจิ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร ์ เพอ่ื การศกึ ษาสระแกว้

ประกอบดวย แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นท่ี 4 เรอื่ ง ภมู ิปญญาทองถนิ่ ปลกู พืชไรด นิ ได จาํ นวน 3 ชว่ั โมง

แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู ่ี 4 เรื่อง ภมู ปิ ญญาทอ งถ่นิ ปลูกพชื ไรดนิ ได เวลา 3 ชวั่ โมง แนวคิด ป จ จุ บั น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ก า ร นํ า เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ด า น ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ เ รี ย ก ว า ก า ร ป ลู ก พื ช ไ ร ดิ น (Hydroponics) เขามาใชแกปญหาในการทําการเกษตรในกรณีที่พ้ืนที่ดินไมสามารถเพาะปลูกพืชไดในสภาพ ปกติ เชน ดินขาดความอุดมสมบูรณ ประสบปญหาภัยแลง น้ําทวม พื้นท่ีในการเพาะปลูกมีจํากัด เปนตน แตในการปลูกพืชไรดินมีตนทุนการผลิตสูง เนื่องมาจากวัสดุที่นํามาใชทําภาชนะปลูกมรี าคาแพง ดังนั้นจึงนํา การบูรณาการความรูใน 4 วิชาไดแก วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร ท่ีเรียกวา สะเตม็ ศึกษามาประยุกตใช โดยเนน การนําความรูไ ปใชแ กปญ หาหรอื ใชประโยชนในชวี ิตจริง จงึ หาวธิ ปี รบั ปรุง เปล่ยี นแปลงอปุ กรณ จากวสั ดุอปุ กรณทีม่ ีราคาแพง โดยการใชวัสดทุ ีม่ ีอยูใ นทองถนิ่ มาทดแทน โดยใชกระบอก ไมไ ผ เปนการนาํ สิง่ ท่มี ีอยูแลวในทอ งถิน่ มาใชใหเกดิ ประโยชน วัตถปุ ระสงค 1. อธิบายความรเู บอื้ งตนเกยี่ วกบั ปจจยั ทมี่ ีผลตอ การเจริญเติบโตของพืชไรด นิ 2. ออกแบบและสรา งภาชนะการปลกู พืชไรดิน โดยบูรณาการสะเตม็ ศึกษากับวัฒนธรรมทอ งถิน่ 3. เห็นความสาํ คญั ของภาชนะปลกู พชื ไรดนิ โดยบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษากบั วัฒนธรรมทองถ่ิน เนอ้ื หา 1. ความรูเบอื้ งตนเกีย่ วกบั ปจ จยั การเจริญเติบโตของพืชไรดนิ 1. น้าํ 1.2 ธาตอุ าหารและสารละลายธาตุอาหาร 1.3 ออกซิเจน 1.4 แสงแดด 1.5 สภาพแวดลอ ม 2. การออกแบบและปฏิบัติการ การปลกู ผกั แบบไรด นิ ใชปลูกจากวัสดทุ หี่ าไดง ายในทองถ่ิน 2.1 การออกแบบเชิงวิศวกรรม 2.1.1 การระบปุ ญหา 2.1.2 การคนหาแนวคดิ ท่เี กีย่ วของ 2.1.3 การวางแผนและพฒั นา 2.1.4 การทดสอบและการประเมนิ ผล 2.1.5 การนาํ เสนอผลลพั ธ 2.2 การปฏิบตั กิ าร การปลกู ผกั แบบไรดนิ ใชภาชนะในการปลกู จากวสั ดทุ ่หี าไดงาย ในทองถิน่ ตามการออกแบบเชิงวศิ วกรรม การปลูกผักแบบไรด นิ ใชภ าชนะปลูกจากวัสดทุ ่ีหาไดง ายในทองถิน่

ความเชอ่ื มโยงสะเต็มศึกษากบั การบูรณาการวฒั นธรรมทอ S : Science T : Technology E:E วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วศิ ว ความรู ประโยชนท่ีไดร บั กระบว ความรูเบือ้ งตน เก่ียวกับปจจัยการ 1. ไดชนดิ ของวัสดุท่ี ออกแบ เจรญิ เตบิ โตของ นาํ มาใชในการทาํ พชื ไรดิน ภาชนะปลูกพชื ไรดิน 1. การร 1. นํา้ รปู แบบใหม 2. การค 2. ธาตอุ าหารและ 2. วัสดทุ ี่นํามาปลกู เก่ยี วขอ สารละลายธาตุ พชื ไรด นิ ไดม าจาก 3. การว อาหาร ธรรมชาติ พฒั นา 3 ออกซเิ จน 4. การท 4. แสงแดด ประเมิน 5. สภาพแวดลอม 5. การน แผนผังความเชื่อมโยงสะเตม็ ศกึ ษากบั การบูรณาการวฒั นธรรมทอ

องถิ่นที่สอดคลองกบั เนื้อหา “ภมู ปิ ญญาทอ งถิ่นไรดินดวย Engineering M : Mathematics C : Culture วกรรมศาสตร คณติ ศาสตร วัฒนธรรมทองถ่นิ วนการ ความรู ตน กาํ เนดิ บบการผลติ 1. การวัดขนาดของ 1. การใชว ัสดุจาก ระบปุ ญหา รางไมไผ ธรรมชาตทิ ่ีหาไดง า ย คนหาแนวคดิ ท่ี 2. การตวงปรมิ าตร ในทองถน่ิ อง ของนํา้ และธาตุ 2. เพ่มิ คุณคา ใหกบั วางแผนและการ อาหาร วสั ดจุ ากธรรมชาติ 3. การคํานวณหา และเปน การสราง ทดสอบและการ ตน ทุน/กําไร อาชพี และสรา ง นผล รายไดใ หก ับผคู นใน นาํ เสนอผลลัพธ ทอ งถนิ่ องถ่นิ ทส่ี อดคลอ งกับเนอื้ หา “ภมู ิปญญาทองถิ่นไรดนิ ดว ยไฮโดรโปนิกส”

ขัน้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู ขน้ั ท่ี 1 กจิ กรรมการเรียนรปู ระสบการณทางวทิ ยาศาสตร (S : Science Experience Activity) ผูจัดกจิ กรรมทักทายและแนะนาํ ตนเองแกผรู ับบรกิ าร รวมท้งั ชแ้ี จงวัตถุประสงคข องฐานการเรยี นรู เร่อื ง ภูมิปญญาทอ งถน่ิ ปลูกพชื ไรดนิ ได ไดแก 1. ผจู ัดกิจกรรมทักทายและแนะนําตนเองกบั ผูร ับบรกิ าร รวมทง้ั ชี้แจงวัตถปุ ระสงคข องฐานการเรยี นรู ท่ี 4 เรือ่ ง ภูมปิ ญญาทองถิ่นปลูกพืชไรดนิ ได ไดแ ก (1) อธบิ ายการปลูกพชื ไรด ิน โดยใชภ าชนะในการปลกู จากวสั ดทุ หี่ าไดงา ยในทอ งถิน่ (2) ออกแบบและปฏิบัตกิ ารปลกู พืชไรดนิ โดยใชภาชนะในการปลกู จากวสั ดุทีห่ าไดง า ยในทองถิน่ (3) เหน็ ความสําคัญของการนําวสั ดใุ นทอ งถ่ินมาใชใ หเ กิดประโยชน หลงั จากน้นั ผจู ัดกิจกรรมเกร่นิ วา กิจกรรมการเรียนรู เรือ่ ง ภมู ิปญ ญาทองถิน่ ปลกู พืชไรด นิ ได เปนการ เรียนรูสะเต็มศึกษาที่บูรณาการกับทองถ่ิน ซ่ึงสะเต็มศึกษาเปนการบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร ท่ีผรู ับบริการไดลงมือปฏิบัติเรียนรูการทํางาน และใชความคิดในดานตางๆ เพื่อแกปญหาทเ่ี ปนประโยชนตอการดําเนินชีวิตและการประอาชีพผานประสบการณในการทํากิจกรรมในคร้ัง น้ี ซง่ึ กิจกรรมดงั กลาวจะเปน การ บรู ณาการวฒั นธรรมทอ งถิ่นเขา ไปดวย ซ่ึงวฒั นธรรมเปนทกุ ทกุ อยางทม่ี นุษย สรางขึ้น เพ่ือสรางเสริมการดํารงชีวิตท่ีดีขึ้น มีการสืบทอดเปนมรดกไปสูคนรุนหลัง วัฒนธรรมจึงแสดงถึงขีด ความสามารถของมนษุ ย ทสี่ รา งองคความรใู หมๆ สาํ หรบั การปรบั ตวั แกป ญ หา พฒั นาวถิ กี ารดําเนนิ ชีวิต และ ตอบสนองความตองการของมนษุ ยทง้ั กายและใจ 2. ผจู ดั กจิ กรรมใหผ รู บั บรกิ ารทําแบบทดสอบกอนเรียน เรอ่ื ง ภูมิปญญาทองถ่ินปลกู พืชไรดนิ ได 3. ผจู ดั กิจกรรมซกั ถามประสบการณเ ดมิ ของผรู ับบริการเก่ยี วกับเร่ืองท่จี ะเรียนรู โดยสุมผรู ับบรกิ าร จํานวน 3 – 5 คน ตามความสมัครใจ ใหตอบคําถาม จาํ นวน 3 ประเด็น ดังน้ี ประเดน็ ที่ 1 “ทา นคดิ วา เราสามารถปลกู พืช โดยไมใ ชด นิ ไดห รอื ไม อยางไร” ประเดน็ ท่ี 2 “ทา นคดิ วา การปลูกพชื ไรดิน แตกตา งจากการปลกู พืชลงดินอยางไร” 4. ผูจ ัดกจิ กรรมและผรู บั บริการแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และสรปุ ผลการเรียนรูรวมกัน 5. ผูจัดกิจกรรมเช่ือมโยงประสบการณเดิมของผูรับบริการกับเนอื้ หาการเรยี นรู เรื่อง การปลูกพืชแบบ ไรด นิ โดยใชรางปลูกพชื จากวสั ดธุ รรมชาติในทองถิน่ โดยบรรยายเรอื่ ง การปลกู พืชแบบไรด ิน โดยใชภาชนะใน การปลูกพืชจากวัสดุธรรมชาติในทอ งถิน่ ตามใบความรูของผูจัดกจิ กรรม เรอ่ื ง ภมู ปิ ญญาทองถ่ินปลูกพชื ไรดิน ได ซึ่งมรี ายละเอยี ดหวั ขอ ของเนอื้ หาดงั นี้ 1. ความรเู บอ้ื งตนเกย่ี วกบั ปจจัยการเจริญเติบโตของพืชไรด ิน 1.1 น้าํ 1.2 ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร 1.3 ออกซเิ จน 1.4 แสงแดด

1.5 สภาพแวดลอ ม 2. การออกแบบและปฏบิ ัตกิ าร สรางภาชนะทีใ่ ชปลูกพืชโดยทําจากกระบอกไมไ ผ 2.1 การออกแบบเชงิ วิศวกรรม 2.1.1 การระบปุ ญหา 2.1.2 การคนหาแนวคดิ ทเี่ ก่ยี วของ 2.1.3 การวางแผนและพฒั นา 2.1.4 การทดสอบและการประเมินผล 2.1.5 การนาํ เสนอผลลพั ธ 2.2 การปฏบิ ัติการ การปลูกผักแบบไรดนิ สรา งภาชนะในการปลูกพืชจากราง กระบอกไมไ ผ ตามการออกแบบเชิงวศิ วกรรม การปลกู ผักแบบไรด ิน ใชภ าชนะปลกู จากวัสดทุ ่ีหาไดง า ยใน ทองถนิ่ 2. การผสมผสานภูมปิ ญ ญาทอ งถนิ่ ใชก ระบอกไมไ ผใ นการทํารางใชป ลูกพชื หลังจากนั้นผูจัดกิจกรรมเช่ือมโยงสะเต็มศึกษากับการบูรณาการวัฒนธรรมทองถิ่นที่ สอดคลอ งกบั เนอ้ื หาท่ีจะเรยี นรู ตามใบความรูข องผูจัดกิจกรรม เร่ือง ภูมิปญญาทองถ่ินปลูกพืชไรดินได จาก แผน ผังความเชื่อมโยงสะเต็มศึกษากับการบูรณาการวัฒนธรรมทองถ่ินท่ีสอดคลองกับเนื้อหา “ภมู ิปญญาทองถิ่นปลูกพชื ไรด นิ ได” ดังน้ี 4.1 Science (วทิ ยาศาสตร) ความรู ความรูเบือ้ งตน เกี่ยวกับปจจยั การเจริญเติบโตของพืชไรด ิน 1. นาํ้ 2. ธาตอุ าหารและสารละลายธาตุอาหาร 3 ออกซเิ จน 4. แสงแดด 5. สภาพแวดลอ ม 4.2 Technology (เทคโนโลย)ี ประโยชนท ีไ่ ดร ับ 1. ไดช นิดของวสั ดุทนี่ าํ มาใชใ นการทําภาชนะปลกู พืชไรดินรปู แบบใหม 2. วัสดทุ นี่ าํ มาปลูกพืชไรดินไดม าจากธรรมชาติ 4.3 Engineering (วิศวกรรมศาสตร) กระบวนการออกแบบการผลติ 1) การระบปุ ญ หา 2) การคนหาแนวคดิ ที่เกย่ี วของ

3) การวางแผนและการพัฒนา 4) การทดสอบและการประเมินผล 5) การนาํ เสนอผลลพั ธ 4.4 Mathematics (คณติ ศาสตร) ความรู 1. การวัดขนาดของรางไมไ ผ 2. การตวงปริมาตรของน้ํา และธาตุอาหาร 3. การคาํ นวณหา ตนทุน/กาํ ไร 4.5 Culture (วัฒนธรรมทองถนิ่ ) ความรู 1. การใชวัสดจุ ากธรรมชาติทหี่ าไดงายในทอ งถ่นิ 2. เพิ่มคุณคาใหกับวัสดุจากธรรมชาติและเปนการสรางอาชีพและสรางรายไดใหกับผูคนใน ทอ งถิ่น 5. ผจู ัดกิจกรรมแจกใบความรูสาํ หรับผูร บั บรกิ าร เร่ือง ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ปลกู พชื ไรด ินได ใหผ รู บั บรกิ าร ศึกษา หลงั จากนั้น ผจู ัดกิจกรรมและผูรบั บรกิ ารแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และสรปุ ผลการเรยี นรรู วมกนั ขน้ั ตอนท่ี 2 กจิ กรรมการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรท ่ีทา ทาย (C : Challenge Learning Activity) 1. ผูจัดกิจกรรมเชื่อมโยงเน้ือหาในข้ันตอนที่ 1 เร่ือง ภูมิปญญาทองถิ่นปลูกพืชไรดินได โดยให ผรู บั บริการชมคลิปวดิ ีโอเร่อื ง ไฮโดรโปนกิ สดวยรางไมไ ผ โรงเรยี นบานบางจาก จากอนิ เตอรเนต็ จาํ นวน 2.18 นาที หลงั จากน้ันผูจดั กจิ กรรมเสนอสถานการณใ นชวี ติ จริงทีเ่ ก่ียวขอ ง ดงั ตัวอยาง ป จ จุ บั น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ก า ร นํ า เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ด า น ก า ร เ ก ษ ต ร ท่ี เ รี ย ก ว า ก า ร ป ลู ก พื ช ไ ร ดิ น (Hydroponics) เขามาใชแกปญหาในการทําการเกษตรในกรณีท่ีพื้นที่ดินไมส ามารถเพาะปลูกพืชไดในสภาพ ปกติ เชน ดินขาดความอุดมสมบูรณ ประสบปญหาภัยแลง น้ําทวม พื้นที่ในการเพาะปลูกมีจํากัด เปนตน แตในการปลูกพืชไรดินมีตนทุนการผลิตสูง เนื่องมาจากวัสดุที่นํามาใชทําภาชนะปลูกมีราคาแพง จึงหาวิธี ปรับปรุงเปล่ยี นแปลงอุปกรณ จากวสั ดอุ ุปกรณทีม่ ีราคาแพง โดยการใชว ัสดทุ ี่มอี ยใู นทองถ่นิ มาทดแทน โดยใช กระบอกไมไ ผ เปน การนาํ สิ่งทมี่ ีอยแู ลวในทองถน่ิ มาใชใ หเ กดิ ประโยชน ผจู ัดกิจกรรมตั้งประเด็นคําถามใหผ รู บั บริการวา 1. “หากพ้ืนท่ีเรามีลักษณะแหงแลง พ้ืนดินขาดความอุดมสมบูรณ หากเปนเชนน้ีเราจะสามารถ ปลกู พชื โดยไมใชด ินไดหรือไม” 2. “การปลกู พืชโดยไมใ ชด ิน(ไฮโดรโปนิกส) วัสดุทใ่ี ชม รี าคาสูง เราสามารถประดิษฐอ ปุ กรณท่ีหาได งา ยในทองถ่นิ เชน กระบอกไมไ ผ มาใชแ ทนรางปลกู พชื ไดหรอื ไม”

หลังจากน้ันผูจัดกิจกรรมอธิบายและสาธิต การทํารางปลูกพืชจากกระบอกไมไผ ตามใบความรู สําหรับผจู ัดกจิ กรรมเรอื่ ง ภูมิปญญาทอ งถิ่นปลกู พชื ไรดนิ ได พรอมท้งั ใหผ รู ับบริการรว มปฏิบตั ใิ นการสาธติ ของ ผูจดั กจิ กรรมดว ย 2. ใหผูรับบริการตั้งประเด็นขอสงสัยหรือส่ิงที่อยากรูในกระบวนการหรอื หลักการที่เก่ียวของจาก การสาธติ ของผจู ัดกิจกรรม รวมไปถึงการนําไปใชใ นชีวติ จรงิ 3. ผูจ ัดกิจกรรมและผรู ับบริการแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและสรปุ ผลการเรยี นรรู ว มกัน ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรมการสรุปผลกา รนําวิทยา ศาส ตรไปใชในชี วิตป ระจํา วัน (I : Implementation Conclusion Activity) 1. แบงผูรับบริการออกเปนกลุม ๆ ละ 6-8 คน ให ออกแบบและปฏิบัติการ โดยการวางแผนและ ดําเนินการเก่ียวกับการปลูกพืชไรดิน โดยบูรณาการสะเต็มศึกษาในการใชกระบอกไมไผในทองถ่ิน ตามใบ กจิ กรรมของผูรบั บริการ เรื่อง ภมู ปิ ญญาทอ งถ่นิ ปลกู พชื ไรด ินได ทั้งนี้ ผูจัดกิจกรรมเตรียมวัสดุอุปกรณใหกับผูรับบริการในการออกแบบและปฏิบัติการ โดยบูรณาการ สะเต็มศกึ ษาในการใชก ระบอกไมไ ผใ นทองถิ่น 2. ผรู บั บริการนําเสนอผลงานการออกแบบและปฏิบัติการทดลอง 3. ใหผรู ับบรกิ ารตอบคาํ ถามจากประสบการณท ่ไี ดเรียนรผู านกจิ กรรมครงั้ นี้ ประเด็นที่ 1 “ทานจะนําความรู เร่ือง ภูมิปญญาทองถ่ินปลูกพืชไรดินได ไปประยุกตใชใน การแกปญ หาหรอื ใชป ระโยชนใ นชีวติ จรงิ ไดอยางไร” ประเด็นท่ี 2 รางปลูกพืชไรด ินจากกระบอกไมไผท ท่ี า นทํามีลักษณะอยา งไร ประเดน็ ท่ี 3 นอกจากกระบอกไมไ ผแ ลวสามารถนําวสั ดชุ นดิ ใดมาปลูกพืชไรด ินไดอ กี บา ง นไดค วามรใู นดา นวทิ ยาศาสตรใ นกิจกรรม ไขเ ค็มละมนุ หอมกลน่ิ สมุนไพรไทย บา งหรือไม อยา งไร ประเดน็ ท่ี 4 ทานไดค วามรูในดานคณิตศาสตรในกิจกรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ินปลูกพืชไรดินได บา งหรือไม อยา งไร 4. ผูจดั กิจกรรมและผรู บั บรกิ ารแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและสรุปผลการเรยี นรรู ว มกัน ตาม PowerPoint การสรปุ ผลการเรียนรูเรอื่ ง ภูมิปญ ญาทอ งถิ่นปลูกพชื ไรด ินได 5. ใหผูรบั บริการทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น เร่อื ง ภูมปิ ญญาทองถิ่นปลูกพชื ไรด ินได 6. ใหผ ูร บั บรกิ ารทาํ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ท่ีมีตอ กจิ กรรมการเรียนรเู รอื่ ง ภมู ิปญ ญาทอ งถ่ินปลูก พชื ไรด ินได สื่อ วสั ดุอปุ กรณ และแหลง การเรียนรู 1. แบบทดสอบกอนเรยี น เรอื่ ง ภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ ปลกู พชื ไรด ินได 2. ใบความรูข องผูจัดกจิ กรรม เรือ่ ง ภูมิปญญาทองถิน่ ปลูกพืชไรด ินได 3. ใบความรูของผูจัดกิจกรรม เรอ่ื ง ภูมปิ ญญาทองถิ่นปลกู พืชไรดินได แผนผงั กระบวนการและ

เนือ้ หา สะเต็มศกึ ษาบูรณาการวัฒนธรรมทอ งถน่ิ 4. ใบความรูสําหรับผรู บั บรกิ าร เรอื่ ง ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ปลูกพชื ไรดินได 5. คลปิ วิดโี อเรอ่ื ง ปลูกสลดั ไฮโดรโปนกิ สในรางไมไ ผ 6. ใบความรูสําหรับผูจัดกิจกรรมเร่ือง ภมู ปิ ญญาทองถน่ิ ปลกู พชื ไรดินได 7. ใบกิจกรรมของผูรบั บริการเร่อื ง ภมู ิปญ ญาทอ งถิ่นปลูกพชื ไรดนิ ได 8. วัสดุอุปกรณใหกับผูรับบริการในการออกแบบและปฏิบัติการปลูกพืชแบบไมใชดิน โดยใชวัสดุที่หา ไดง า ยในทองถิ่น 9. PowerPoint เร่อื งการสรปุ ผลการเรียนรเู ร่ือง ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ินปลูกพชื ไรด นิ ได 10. แบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ปลูกพชื ไรดินได 11. แบบประเมนิ ความพึงพอใจที่มีตอกจิ กรรมการเรียนรู เรื่อง ภมู ิปญ ญาทอ งถนิ่ ปลกู พืชไรดนิ ได การวัดและประเมินผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการมีสว นรวม ความตงั้ ใจ และความสนใจของผรู บั บรกิ าร 2. ผลการทดสอบกอนและหลงั เรยี น 3. ผลการออกแบบและสรางสรรคน วัตกรรมและสิ่งท่ตี องการพัฒนา/ช้นิ งาน/ผลงาน 4. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ ที่มีตอการจัดกจิ กรรมการเรียนรู เรือ่ ง ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ปลูกพืชไร ดินได

บนั ทึกผลหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู ผลการใชแ ผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู 1. จาํ นวนเน้ือหากับจาํ นวนเวลา เหมาะสม ไมเ หมาะสม ระบเุ หตผุ ล ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. การเรียงลําดบั เนอื้ หากับความเขา ใจของผูรับบริการ เหมาะสม ไมเหมาะสม ระบุเหตผุ ล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3. การนาํ เขา สูบทเรียนกับเนอ้ื หาแตละหวั ขอ เหมาะสม ไมเหมาะสม ระบุเหตผุ ล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 4. วิธีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูก บั เนือ้ หาในแตละขอ เหมาะสม ไมเหมาะสม ระบเุ หตุผล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 5. การประเมินผลกบั วตั ถปุ ระสงคใ นแตละเน้ือหา เหมาะสม ไมเ หมาะสม ระบุเหตุผล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ผลการเรียนรขู องผูรบั บริการ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรูข องผูจัดกจิ กรรม ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

ขอ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... แบบทดสอบกอนเรยี น เร่ือง ภมู ิปญ ญาทอ งถ่ินปลกู พชื ไรดนิ ได 1. ขอใดไมใ ชปจ จยั ของการเจรญิ เติบโตของตน พชื ก. แสง ข. อากาศ ค. น้ํา ง. พน้ื ท่ี 2. ปจ จยั ในการดํารงชวี ิตขอใดท่ีพืชขาดไมไ ด ก. ดนิ น้ํา แสงแดด ข. ดิน น้ํา อากาศ ค. ดนิ แสงแดด อากาศ ง. นา้ํ อากาศ แสงแดด 3. การปลูกพืชไรดนิ ควรวางรางปลกู ตน พืชไวในบริเวณที่มีแสงแดดสอ งถงึ เพือ่ อะไร ก. ใหพ ชื ดูดธาตุอาหารไดดี ข. ใหพืชหายใจไดสะดวก ค. ใหพ ชื รูสึกสดชื่น ง. ใชพ ืชสรางอาหารได 4. พืชจะไมมีการเจรญิ เติบโตถาขาดสวนใด ก. ราก ข. ลาํ ตน ค. กิ่ง ง. ดอก 5. แรธาตุที่สําคญั กับอยา งยงิ่ สาํ หรบั พชื 3 ชนดิ คือขอ ใด ก. ออกซเิ จน ฟอสฟอรสั ไฮโดรเจน

ข. ออกซิเจน โพแทสเซยี ม ไนโตรเจน ค. ไฮโดรเจน ฟอสฟอรัส ไนโตรเจน ง. ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม 6. ขอ ใดเปนความหมายของการปลูกพืชไรดิน ก. การปลูกพืชแบบเกษตรทฤษฎีใหม ข. การปลกู พชื แบบเกษตรอนิ ทรีย ค. การปลูกพชื แบบไมใ ชดิน ง. การปลกู พืชหมุนเวียน 7. ใดตอไปนเ้ี ปนขอ ดใี นการปลูกพืชไรด ิน ก. ใหผ ลผลิตท่ีสะอาด ถกู อนามัย ปลอดภัยจากสารพิษ ข. ใชแ รงงานในการดูแลนอ ย ค. เหมาะสําหรับปลกู ในสถานที่ท่ีมีพืน้ ผวิ ดนิ สาํ หรับปลกู พืชนอ ย ง. ถกู ทกุ ขอ 8. ขอ ใดตอไปนี้เปนขอจํากดั ของการปลูกพชื ไรดิน ก. ตองมคี วามรคู วามเขา ใจในการปลกู ข. ประหยัดคา ใชจ ายในคร้งั แรก ค. ใหผลผลติ ท่เี รว็ กวา การปลูกพืชในดนิ ง. ไมมขี อใดถูก 9. เพราะเหตุใดพวกเราจงึ ตอ งเรียนรูเรอื่ ง การปลกู พืชไรด ิน ก. เพอ่ื นําไปปลกู ผกั กนิ เองทบี่ า น ข. เพอ่ื ใหรถู ึงเทคโนโลยีทางเลือกในการทาํ การเกษตร ค. เพอ่ื นาํ ความรทู ่ีไดไ ปสอบเรียนตอ ง. ถูกเฉพาะขอ ก และ ค 10. การปลกู พืชไรดนิ โดยวิธีการ Hydroponics คือ ก. การปลกู พืชในดิน ข. การปลกู พืชในอากาศ ค. การปลูกพชื ในนาํ้ ทม่ี ธี าตอุ าหาร ง. การปลกู พชื โดยใชว ัสดุอนื่ แทนดนิ

ใบความรสู าํ หรับผูจดั กิจกรรม เรอื่ ง ภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ ปลูกพชื ไรดินได ปจ จยั ที่เกี่ยวขอ งกบั การเจริญเติบโตของการปลกู พชื ไรด นิ 1. ปจจัยทางดา นพนั ธกุ รรม ยีน (gene) เปนตัวกําหนดลักษณะการเจริญเติบโตของพืช ไมวาจะเปนสวนของราก ลาตน กิ่ง กาน ใบ ตลอดจนดอกและผล การสะสมมวลชวี ภาพไดม ากนอยเพยี งใดขน้ึ อยกู ับพนั ธกุ รรมของพืชเอง พนั ธพุ ืชท่จี ะ ใชกบั การปลูกพืชดวยวธิ ไี ฮโดรโปนกิ สโ ดยเฉพาะยงั ไมมหี รอื มีนอ ยมาก 2. ปจ จยั ทางดานสงิ่ แวดลอม 2.1 แสง ตามธรรมชาติพืชจะใชแสงอาทิตยเปนแหลงพลังงาน เพ่ือทําใหเกิดกระบวนการสังเคราะหแสงท่ีใบ หรือสวนที่มีสีเขียว โดยมีคลอโรฟลล (Chlorophyll) ซึ่งเปนรงควัตถุสีเขียวชนิดหน่ึงท่ีมีหนาที่เปนตัวรับแสง เพ่อื เปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) และน้ํา (H2O) เปนกลูโคส (C6H12O6) และกา ซออกซิเจน (O2) พชื ที่ ปลูกในบานหรือเรือนทดลอง อาจใชแสงสวางจากไฟฟาทดแทนแสงอาทิตยไดแตก็เปนการสิ้นเปลืองและไม สมบูรณ เมือ่ เปรยี บเทียบกับแสงธรรมชาติ 2.2 อากาศ พืชจําเปนตองใชกาซคารบ อนไดออกไซด (CO2) ท่ีมีอยูประมาณ 0.033 เปอรเซ็นต ในบรรยากาศใน การผลติ กลโู คส (C6H12O6) ซง่ึ เปน สารอินทรยี เ ริม่ ตน เหตุการณท ี่พชื จะขาดคารบ อนไดออกไซด เปน ไปไดยาก เน่ืองจากมีแหลงคารบอนไดออกไซดอยางเหลือเฟอ เชน การเผาไหมเช้ือเพลิงจากโรงงานและรถยนต ตลอดจนการผลิตไฟฟา เปนตน สวนกาซออกซิเจน (O2) พืชตองการเพื่อใชในกระบวนการหายใจ (Respiration) เพื่อเปล่ียนพลังงานแสงอาทิตยซึ่งถูกเก็บไวในรูปพลังงานเคมี ในรูปของน้ําตาลกลูโคสและ สามารถใหเปน พลังงานเพอื่ ใชในการขับเคลอ่ื นกระบวนการเมตาโบลิซึม (Metabolism) ตา งๆ การหายใจของ สวนเหนือดินของพืชมักไมมีปญหา เพราะในบรรยากาศมีออกซิเจนเปนองคประกอบอยูถึง 20 เปอรเซ็นต สําหรับรากพืชมักจะขาดออกซิเจน โดยเฉพาะการปลูกพืชไรดินดวยเทคนิคการปลูกดวยสารละลาย (Water Culture หรอื Liquid Culture) จําเปน ตอ งใหออกซิเจนในจาํ นวนท่ีเพียงพอตอ ความตองการของพืช การให ออกซเิ จนแกร ากพืชจะใหใ นรปู ของฟองอากาศทีแ่ ทรกอยูใ นสารละลายธาตอุ าหารพืช ซ่ึงใหโดยใชเ คร่อื งสบู ลม หรอื การใชระบบนาํ้ หมุนเวยี น 2.3 น้าํ คุณภาพนํ้าเปนเร่ืองสําคัญมากเรื่องหนึ่ง การปลูกพืชเพียงเล็กนอยเพ่ือการทดลองจะไมมีปญหาแต การปลูกเปนการคา จะตองพิจารณาเร่ืองของนํา้ กอนอื่น หากใชนํ้าคุณภาพไมดีท้ังองคประกอบทางเคมีและ ความสะอาด จะกอใหเ กดิ ความลมเหลว นา้ํ เปน ตวั ประกอบท่ีสําคญั โดยจะถูกนําไปใช 2 ทาง คือ 1. ใชเปนองคประกอบของพืช พืชมีนํ้าเปนองคประกอบประมาณ 90-95 เปอรเซ็นตโดยนาํ้ หนัก พืช ใชนา้ํ เพ่อื กอ ใหเกิดกจิ กรรมทมี่ ปี ระโยชน

2. ใชเปนตัวทําละลายธาตุอาหารพืชใหอยูในรูปไอออนหรือสารละลายธาตุอาหารพืชโมเลกุลเล็ก เพื่อใหรากดูดกินเขาไป ปกตินํ้าประปาถือวาใชได แตสําหรับการทดลอง มักใชนํ้ากล่ันหรือน้ําประปาท่ีทิ้งให คลอรีนหมดไป แหลงของนํ้าท่ีดีสุด สําหรับการปลูกพืชไรดินเชิงพาณิชย คือ น้ําฝนหรือนํ้าจากคลอง ชลประทาน วสั ดุปลกู ผกั แบบไฮโดรโปนกิ ส 2.4 วัสดปุ ลูก วสั ดปุ ลกู หมายถงึ วัตถุ (material) ตา งๆ ทีเ่ ลือกสรรมา เพื่อใชป ลกู พืชและทําใหตนพืชเจรญิ เติบโต ไดเปน ปกติ วสั ดุดังกลาวอาจเปนชนิดเดยี วกนั หรือหลายชนิดผสมกัน ชนิดของวสั ดปุ ลูกอาจเปน อนิ ทรยี วัตถุก็ ได โดยท่วั ไปวสั ดุปลูกจะมีบทบาทตอ การเจริญเติบโตและการใหผลผลิตพชื 4 ประการ ไดแก ก. คํ้าจนุ สวนของพชื ท่อี ยเู หนือวัสดุปลูกใหตงั้ ตรงอยไู ด ข. เก็บสํารองธาตอุ าหารพชื ค. กักเก็บนํา้ เพือ่ เปนประโยชนต อ พชื ง. แลกเปลี่ยนอากาศระหวางรากพชื กับบรรยากาศเหนอื วัสดปุ ลูก การปลกู พชื ไรด ินดวยเทคนคิ วัสดุปลกู (Substrate Culture) วสั ดุปลูกพืชนบั วา มีความสําคัญยิง่ วัสดุ ปลกู อาจจะเปน วัสดุอนินทรยี  (Inorganic media) เชน ทราย กรวด หินภูเขาไฟ เปอรไลท (Perlite) เวอรม คิ วิ ไลท (Vermiculite) และร็อกวูล (Rockwool) เปนตน หรือวัสดุอินทรีย (Organic media) เชน ขี้เลื่อย ขุย มะพราว เปลือกไมและแกลบ เปนตน วัสดุปลูกควรมีอนุภาคสม่ําเสมอ ราคาถูก ปราศจากพิษ และศัตรูพืช และเปนวัสดุที่หางายในทองถ่ินนน้ั ในญี่ปุนสวนใหญจะใชแกลบเปนวัสดุปลูก แตแกลบจะมีรูพรุนมากจึง ไม ดูดซบั นํ้า ควรเกบ็ ไวร ะยะหน่ึง หรอื ผสมกบั วัสดุอืน่ ที่กักเก็บน้ําได เชน ขุยมะพราว ความสามารถในการอุมนํ้า ของวัสดปุ ลกู เปน คณุ สมบัตอิ ยา งหนง่ึ ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช เพราะเก่ียวขอ งกับสัดสวนของอากาศ และน้ํา ในชองวางท่ีเหมาะสม วัสดุปลูกที่เปนของแข็ง สามารถจําแนกตามท่ีมาและแหลงกําเนิดของวัสดุได ดงั ตอไปนี้ 1. วสั ดปุ ลูกที่เปน อนนิ ทรยี ส าร เชน - วสั ดทุ ่เี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ เชน ทราย กอนกรวด หนิ ภเู ขาไฟ หนิ ซลี ท ฯลฯ

- วัสดทุ ่ีผา นขบวนการโดยใชความรอน ทําใหว สั ดุเหลา นี้ มคี ณุ สมบัติเปล่ยี นไปจากเดมิ เชน ดนิ เผา เม็ดดินเผา ท่ไี ดจ ากการเผาเมด็ ดินเหนียวทอี่ ุณหภมู ิสงู 1,100 องศาเซลเซยี ส ใยหนิ ท่ไี ดจากการหลอม หนิ ภเู ขาไฟท่ีทาใหเปน เสน ใยแลว ผสมดวยสารเลซนิ เปอรไลท ทไี่ ดจ ากทรายทมี่ ีตนกําเนิดจากภูเขาทอ่ี ุณหภูมิ สูง 1,200 องศาเซลเซียส เวอรมิคูไลท (vermiculite) ท่ีไดจากการเผาแรไมกา ที่อุณหภูมิสูง 800 องศาเซลเซยี ส เปนตน - วัสดุเหลือใชจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน เศษจากการทําอิฐมอญ เศษดินเผาจากโรงงาน เครอื่ งปนดนิ เผา 2. วัสดุปลูกที่เปนอินทรียสาร เชน วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ฟางขาว ขุยและเสนใย มะพรา ว แกลบและขเ้ี ถา เปลอื กถั่ว พที หรอื วสั ดเุ หลอื ใชจ ากโรงงานอุตสาหกรรม เชน ชานออย กากตะกอน จากโรงงานนํ้าตาล วสั ดเุ หลอื ใชจากโรงงานกระดาษ 3. วัสดุสังเคราะห เชน เม็ดโฟม แผน ฟองนํา้ และเสนใยพลาสติกลกั ษณะของวสั ดุปลูกที่ดี ภาพรวมใน การเลือกใชวัสดุปลูกใหคํานึงถึง คือ ตองสะอาด และทําความสะอาดงาย มีความแข็งแรง มีคุณสมบัติทาง กายภาพทดี่ ี เชน ไมท รดุ ตัวงาย ถายเทน้ําและอากาศไดดีมีคณุ สมบัตทิ ี่เหมาะสมทางเคมี เชน ระดบั ของความ เปน กรดดา ง ไมมีสารทําลายรากพชื เปน วัสดทุ ี่สามารถเพาะเมลด็ ไดทกุ ขนาดและทุกประเภท ควรเปน วสั ดุที่มี ราคาถูกทส่ี ามารถหาไดใ นทองถน่ิ และไมกอ ใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอ ม 2.5 สารละลายธาตุอาหารพชื ธาตุอาหารที่พืชตอ งการในการเจริญเติบโตและใหผลผลิต มีทง้ั หมด 16 ธาตุ ซึง่ 3 ธาตุ คือ คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ไดจ ากน้ําและอากาศ และอกี 13 ธาตุ ไดจ ากการดูดกนิ ผานทางราก ทงั้ 13 ธาตุแบง ออกเปน 2 กลุม ตามปริมาณท่ีพืชตองการ คือ ธาตุอาหารท่ีพืชตองการเปนปริมาณมากและธาตุอาหารทพี่ ชื ตอ งการเปนปริมาณนอย ก. ธาตอุ าหารทพี่ ชื ตอ งการเปน ปริมาณมาก (macronutrient elements) ไนโตรเจน (N) พืชสามารถดูดกินไนโตรเจนไดท้ังในรูปของแอมโมเนียมไอออน (NH4+)และไนเตรท ไอออน (NO3-) ซ่ึงไนโตรเจนสวนใหญในสารละลายธาตุอาหารพืชจะอยูในรูปไนเตรทไอออนเพราะถามี แอมโมเนียมไอออนมากจะเปนอันตรายตอพืชได สารเคมีที่ใหไนเตรทไอออน คือ แคลเซียมไอออน และ โปแตสเซียมไนเตรท นอกจากนี้ ยังอาจไดจากกรดดินประสิว (HNO3-) ท่ีใชในการปรับความเปนกรดดางของ สารละลายธาตุอาหารพืช ฟอสฟอรัส (P) ในการปลูกพืชไรดิน พืชตองการธาตุฟอสฟอรัสไมมากเทากับ ไนโตรเจน และโปแตสเซียม ประกอบกบั ไมม ีปญหาในเร่อื งความไมเปนประโยชนของฟอสฟอรัสเหมอื นในดิน พืชจึง ไ ดรับฟ อสฟ อรัสอยาง เพียง พ อ รู ปของ ฟ อสฟ อรั สที่ พื ชสาม าร ถดู ดกิ น ไ ด คื อ mono- hydrogenphosphate ion (HPO4-2) สวนจะอยูในรูปใดมากกวากันข้ึนอยูกับความเปนกรดดางของ สารละลายในขณะน้ัน โปแตสเซียม (K) รูปของโปแตสเซียมท่ีพืชดูดกินได คือ potassium ion (K+) โปแตสเซียมท่ีมีมาก เกินพอ จะไปรบกวนการดูดกินแคลเซียมและแมกนีเซียม สารเคมีท่ีใหโปแตสเซียม คือ potassuimnitrate และ potassium phosphate

แคลเซียม (Ca) รูปของแคลเซียมท่ีพืชดูดกินไดคือ calcium ion (Ca+2) แหลง Ca+2 ท่ีดีที่สุด คือ calcium nitrate เน่ืองจากละลายงาย ราคาไมแพงและยังใหธาตุไนโตรเจนดวย แคลเซียมที่มีมากใน สารละลายธาตุอาหารพืช จะไปรบกวนการดูดกินโปแตสเซียมและแมกนีเซียม ในน้ําตามธรรมชาติจะมี แคลเซยี มอยูปรมิ าณหนงึ่ การเตรยี มสารละลายธาตอุ าหารพืชจึงควรคดิ แคลเซียมในน้าํ ดวยจะไดไ มเ กิดปญหา ในการมแี คลเซยี มมากเกนิ ไป แมกนีเซียม (Mg) รูปของแมกนีเซียมท่ีพืชดูดกินไดคือ magnesium ion (Mg+2) สารเคมีท่ีให แมกนีเซียมคือ magnesium sulfate (MgSO4) ในน้ําธรรมชาติจะมีแมกนีเซียมอยูดวย ฉะน้ันในการเตรียม สารละลายธาตุอาหารพืชจึงควรคํานึงถึงดวย แมกนีเซียมท่ีมมี ากเกนิ พอในสารละลายจะไปรบกวนการดดู กิน ธาตุโปแตสเซยี มและแคลเซยี ม กํามะถนั (S) รปู ของกาํ มะถันทีพ่ ืชสามารถดูดกินได คือ sulfate ion (SO4-2) พบวาไมค อยมี ปญ หา การขาดกํามะถันในระบบการปลูกพืชไรดิน เพราะพืชตองการกํามะถันในปริมาณนอย และจะไดรับจาก สารเคมพี วกเกลอื ซลั เฟตของ K, Mg, Fe, Cu, Mn และ Zn เปนตน ข. ธาตุอาหารท่ีพชื ตอ งการเปนปริมาณนอยหรอื จลุ ธาตุ (micronutrient elements) โบรอน (B) การแสดงอาการขาดธาตุโบรอนของพืชพบเหน็ ไดยากเนื่องจากพชื ตองการในปริมาณนอ ย ซง่ึ ในน้ําธรรมชาติก็มีโบรอนอยดู ว ย สารเคมที ใี่ ห borate ion (BO3-3) ซึง่ พชื สามารถดูดกินได คือ boric acid (H3BO3) สังกะสี (Zn) รูปที่พืชสามารถดูดกินไดค อื zinc ion (Zn+2) ซง่ึ ไดจาก zinc sulfate (ZnSO4) หรือ zinc chloride (ZnCl2) ท อ ง แ ด ง ( Cu) สาร เคมีที่ให Copper ion (Cu+ 2 ) คือ copper sulfate (CuSO4 ) หรื อ copperchloride (CuCl2) เหล็ก (Fe) พืชดูดกินในรูป Fe+2 หรือ Fe+3 สารเคมีที่ใหธาตุเหล็กที่มีราคาถูกท่ีสุดคือ ferrous sulfate (FeSO4) ซ่งึ ละลายน้าํ ไดง า ย แตกจ็ ะตกเปน ตะกอนไดเรว็ จึงตอ งควบคุมสภาพความเปนกรดดางของ สารละลาย เพื่อหลีกเล่ียงปญหาเหลาน้ี โดยการใชเหล็กในรูปคีเลต (Fe-chelate) ซึ่งเปนสารเกิดจากการทาํ ปฏิกิริยาระหวางเหล็กและสารคีเลต ซ่ึงเปนสารประกอบอินทรีย เหล็กคีเลต เปนสารประกอบเชิงซอน สามารถคงตัวอยูในรูปสารละลายธาตุอาหารพืชและพืชดูดกินได เหล็กคีเลตที่นิยมใชกันอยูในรูปของ EDTA หรอื EDDHA แมงกานีส (Mn) มลี ักษณะเหมือนกับเหล็กคือ ความเปน ประโยชนของแมงกานีส จะถูก ควบคุมโดย ความเปนกรดดาง ถาสารละลายธาตุอาหารพืชมีลักษณะดาง ความเปนประโยชนของแมงกานีสจะลดลง manganese ion (Mn+2) ซึง่ เปนรูปที่พชื สามารถดดู กนิ ได จะไดจ ากสารเคมี manganese sulfate(MnSO4) หรือ manganese chloride (MnCl2) โมลิบดินัม (Mo) รูปที่พืชสามารถดูดกินไดคือ molybdate ion (MoO4-2) ซ่ึงไดจากสาร sodium molybdate หรอื ammonium molybdate

คลอรีน (Cl) ในน้ําจะมีคลอรีนในรูปของคลอไรด (chloride ion (Cl-) ซ่ึงเปนรูปท่ีพืชจะนําไปใช ประโยชนเจือปนอยูดวย จากการเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืชจะไดคลอไรดจากสารเคมี potassium chloride รวมท้งั จากจุลธาตุบางธาตุทอ่ี ยูในรูปของสารประกอบคลอไรด ถา สารละลายมี Cl- มากเกนิ พอ จะ ไปมผี ลยบั ยั้งการดูดกนิ anions ตวั อ่นื เชน nitrate (NO3-) และซลั เฟต (SO4-2) การควบคมุ ความเปน กรดดา ง (pH) และคาการนาไฟฟา (EC) ของสารละลายธาตอุ าหารพืช การรักษาหรอื ควบคุมความเปน กรดดา ง และคา การนําไฟฟาในสารละลายอาหารนี้ เพือ่ ใหพ ชื สามารถ ดดู ใชป ุยหรือสารอาหารพืชไดด ี และเพอ่ื ใหป ริมาณสารอาหารแกพ ชื ตามทต่ี องการ 1. การรกั ษาหรอื ควบคุม pH เน่อื งจากคา ความเปนกรดดางในสารละลายจะเปน คาทบี่ อกใหทราบถึงความสามารถของรากท่จี ะ ดูด ธาตุอาหารตา งๆ ทีอ่ ยใู นสารละลายธาตุอาหารพืชได ปกติแลวควรรกั ษาคาความเปนกรดดา งท่ี 5.8-7.0 เพราะ เปนคาหรอื ชวงทีธ่ าตุอาหารพชื ตา งๆ สามารถคงรูปในสารละลายที่พชื นําไปใชไดด ี คาความเปนกรดดางในสารละลายธาตุอาหารพืชเปลี่ยนแปลงไดหลายสาเหตุ เชน การเปลี่ยนแปลง เนือ่ งจากการที่รากพชื ดูดธาตุอาหารในสารละลายธาตอุ าหาร แลวพืชปลดปลอ ยไฮโดรเจน (H+) และไฮดรอก ไซด (OH-) จากรากสสู ารละลายธาตุอาหารพืชทาให pH เปลย่ี นแปลงไป เชน - ประจไุ ฟฟาลบ หรอื แอนไอออน (anions) เชน ไนเตรท (NO3-), ซัลเฟต (SO4- -), ฟอสเฟต (PO4- - -) แลวจะปลดปลอ ยไฮดรอกไซด (OH-) สสู ารละลายธาตอุ าหาร - ประจุไฟฟาบวก หรือแคตไอออน (cations) เชน แคลเซียม (Ca++), แมกนีเซียม (Mg++),โปแต สเซียม (K+), แอมโมเนยี ม (NH4+) แลวจะปลดปลอ ยไฮโดรเจน (H+) สูสารละลายธาตุอาหารปกติแลวธาตุอาหารใน สารละลายธาตอุ าหารพชื มีประจุไฟฟา บวกหรือแคตไอออนมากกวา คาของประจไุ ฟฟาลบหรือแอนไอออนแลว คา ความเปนกรดดางจะลดลง ในขณะทีก่ ารดดู กินแอนไอออนมากกวาแคตไอออนจะเพ่ิมความเปน กรดดางใน สารละลายธาตอุ าหารพืช สาํ หรับการใหธาตุอาหารบางชนิดที่พชื ตอ งการใชในปริมาณมาก คอื ธาตไุ นโตรเจน (Nitrogen, N) ซ่ึงมีการใหทั้ง 2 รูปแบบ คือ ในรูปแบบของประจุลบในสารอาหารในรูปของไนเตรส (NO3-) และในรปู แบบของประจบุ วกในสารอาหารในรูปของแอมโมเนียม (NH4+) นนั้ ตอ งพิจารณาถงึ อัตราสวนของ สารน้ี ใหดีเพราะจะมอี ิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของความเปนกรดดางและการใชประโยชนข องพืชมาก การปรับเพ่ือลดหรือเพ่ิมคาความเปนกรดดางน้ัน สามารถทําไดโดยเติมสารลงไปในสารละลายธาตุ อาหารพชื เชน 1.1 การปรับเพ่ือลดคาความเปน กรดดาง โดยการเติมสารใดสารหนงึ่ ตอไปนี ลงไปในสารละลาย ธาตุ อาหารพืช เชน Sulfuric acid (H2SO4) หรือ Nitric acid (HNO3) หรือ Hydrochloric acid (HCl) หรือ Acetic acid 1.2 การปรับเพื่อเพ่ิมคาความเปนกรดดาง ใหสูงข้ึน ทําโดยการเติมสารใดสารหนึ่งตอไปน้ี ลงไปใน สารละลายธาตุอาหารพืช เชน Potassium hydroxide (KOH) หรือ Sodium hydroxide (NaOH) หรือ Sodium bicarbonate หรือ Bicarbonate of soda (NaHCO3)

ลักษณะรากผกั ไฮโดรโปนกิ ส Hydroponics 2. การควบคมุ คาการนําไฟฟา (Electrical Conductivity) เน่ืองจากปุยท่ีละลายในนาที่คาของอิออน (ion) ท่ีสามารถใหกระแสไฟฟาท่ีมีหนวยเปนโมท (Mho) แตคาของการนํากระแสไฟฟาน้ี คอนขางนอยมาก จึงมีการวัดเปนคาที่มีหนวยเปนมิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm) อนั เปน คา ทีไ่ ดจ ากการวัดการนํากระแสไฟฟาจากพน้ื ที่หน่ึงคิวบกิ เซนติเมตรของสารอาหาร การวัดคาการนําไฟฟาจะทําใหเราทราบเพยี งคารวมของการนําไฟฟาของสารละลายธาตอุ าหารพชื (คือน้ํากับ ปยุ ที่เปนธาตอุ าหารพืชทั้งหมดในถังที่ใสสารอาหารทงั้ หมด) เทา น้ัน แตไ มทราบคา ของสดั สวนของธาตอุ าหาร ใดธาตอุ าหารหนึง่ ที่อยใู นถงั ทอี่ าจเปล่ยี นไปตามเวลาเนื่องจากพชื นา ไปใชหรือตกตะกอน ดังนั้นหลังจากมีการปรับคาการนําไฟฟาไปไดระยะหนึ่งแลวจึงควรเปล่ียนสารละลายในถังใหม เปนระยะๆ โดยเฉพาะประเทศทมี่ ีอากาศรอ นอยา งประเทศไทย ควรเปล่ียนสารละลายใหมเปนระยะๆ เชน ทุก 3 สปั ดาห ซึ่งการเปลยี่ นสารละลายธาตอุ าหารพืชแตละครง้ั กห็ มายถงึ การเสียคาใชจา ยเพ่มิ ขึ้น ปกตแิ ลวควรรกั ษาคาการ นําไฟฟาของสารอาหารระหวาง 2.0-4.0 มิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm) การเปล่ียนแปลงคาการนํา ไฟฟาของสารละลาย แมวาปกติแลวควรรักษาคาการนําไฟฟาของสารอาหารระหวาง 2.0-4.0 มิลลิโมท/ เ ซ น ติ เ ม ต ร ( milliMhos/ cm= mMhos/ cm) 1 ( mMho/ cm) = 1 Millisiemen/ cm ( mS/ cm) 1 Millisiemen/cm (mS/cm) = 650 ppm ของความเขม ขนของสารละลาย (salt) ปกติแลวความเขมขนของสารอาหารควรอยูใ นชวง 1,000-1,500 ppm เพ่ือใหแรงดันออสโมติกของ กระบวนการดดู ซึมธาตอุ าหารของรากพชื ไดส ะดวกคาการนาํ ไฟฟาจะแตกตางกันไปตามชนดิ ของพืช ระยะการ เติบโต และความเขม ของแสง เชน คาการนาํ ไฟฟา ทต่ี ่าํ คอื (1.5-2.0 mMho/cm) เหมาะสมตอ การปลกู แตงกวา คาการนําไฟฟาทีส่ งู คอื (2.5-3.5 mMho/cm) เหมาะสมตอการปลูกมะเขือเทศ คา การนําไฟฟา (1.8-2.0 mMho/cm) เหมาะสาํ หรับการปลกู ผกั และไมดอกไมป ระดับทั่วไป คาการนําไฟฟาจะแตกตางกันไปตามระยะการเจริญเติบโตและความแข็งแรงของตนพืช เพราะคา การนําไฟฟาที่สูงจะยบั ย้ังการเจรญิ เติบโตของพืช คาการนําไฟฟาที่ต่ําจะเหมาะสมตอการเจริญเติบโตทางลาํ

ตนกอนการใหผล (Vegetative growth) และสูงขึ้นเม่ือพืชใหผลผลิต (Reproductive growth) ดังน้ันการ ปลูกพืชท่ใี หผ ลผลิตเชน มะเขือเทศควรคา นงึ ถงึ ขอ นี้ ดวย นอกจากนี คาการนําไฟฟาน้ี จะแตกตางกันไปตามความเขมขนของแสง เชน กลาวคือถาแสงมีความ เขมขนมาก พืชตองการสารละลายท่ีมีความเขมขนนอยลง คือพืชจะดูดนามากกวาธาตุอาหาร การเปล่ียน สารละลายใหม เนื่องจากการวดั คา การนําไฟฟา จะทาํ ใหเราทราบเพยี งคารวมของการนาํ ไฟฟา ของสารอาหาร คือนํากับธาตุอาหารท้ังหมดในถังที่ใสสารละลายธาตุอาหารพืชเทานั้น แตไมทราบคาของสัดสวนของธาตุ อาหารแตละชนิดท่ีเปล่ียนไปตามเวลาท่ีให เน่ืองจากธาตุอาหารบางธาตุพืชนําไปใชนอยจึงเหลือสะสมใน สารอาหาร (เชน โซเดียมและคลอรนี ) ซ่งึ จะมผี ลทา ใหค วามเปน ประโยชนหรือองคประกอบของสารละลายตัว อน่ื ๆ เปลีย่ นแปลงไปหรือ ตกตะกอน ดังนน้ั จงึ ควรเปล่ยี นสารละลายในถังใหมเปนระยะๆ โดยเฉพาะประเทศทมี่ ีอากาศรอนอยางประเทศ ไทย ควรเปล่ียนสารละลายใหมเปนระยะ เชน ทุก 3 สัปดาหการรักษาหรือควบคุมคาความเปนกรดดาง และ คา การนาํ ไฟฟา ในสารละลายธาตอุ าหารพืชนี้ สามารถกระทําโดยใชแรงงานหรือใชร ะบบควบคุมแบบอัตโนมัติ กไ็ ด วิธกี ารปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส ปลกู พชื ไมใชดิน การปลกู พืชโดยไมใชด ิน จะมีการจัดการอยู 2 สวน ไดแก ในสว นของพชื และสวนของ สารละลายธาตุอาหาร การจัดการพืช ความสําเรจ็ ของ การผลิตอยูท ี่ความแขง็ แรงและความสมบูรณข องตน กลา เพราะจะทําใหพชื สามารถ เจริญเตบิ โตและตงั้ ตวั ไดเรว็ วธิ ีการเพาะกลามอี ยูด วยกันหลายวิธี เชน การเพาะกลาในถว ยเพาะแบบสําเร็จรปู โดยใช เพอรไลท และ เวอรม ิคไู ลท เปนวสั ดุทใ่ี ชเ พาะ, การเพาะกลาในแผน ฟองน้ํา สว นมากจะนิยมปลูกในรูป ของแผน โฟม และ การเพาะกลาในวัสดุปลกู ซง่ึ ใชวสั ดทุ ่ไี ดจ ากท้งั ในและตางประเทศ เชน เวอรมิคูไลท หนิ ฟอสเฟต เพอรไลท ขุยมะพรา ว แกลบ ขเ้ี ถา แกลบ หนิ กรวด ทราย เปน ตน ทงั้ นี้ ขึน้ อยูกบั ระบบท่ีใชปลูก การ จัดการดา นสารละลาย ในสารละลายธาตอุ าหารที่ใชปลกู พชื จําเปนตองมีการควบคุมคา pH และ EC ของสารละลายเพอื่ ให พืชสามารถดูดปยุ หรือสารละลายธาตอุ าหารไดด ี ตลอดจนตอ งมีการควบคมุ อุณหภมู ิและออกซเิ จนในสารละลาย ธาตุอาหาร การรักษาหรอื ควบคุมคา pH ของสารละลายธาตุอาหารพืช คา pH หมายถึง คาความเปน กรดเปน ดางของสารละลายธาตอุ าหารพชื สาเหตุที่ตองมกี ารควบคมุ pH เพื่อใหพ ชื สามารถดูดใชปุยหรอื สารอาหารไดดี เพราะคา ความเปน กรดเปน ดา งในสารละลายจะเปน คา ท่ี บอกใหท ราบถึงความสามารถของปุย ท่จี ะอยูในรูปทพ่ี ชื สามารถดูดธาตอุ าหารตางๆ ทม่ี อี ยใู นสารละลายธาตุ อาหารพืชได ถาคา pH สงู หรือตํ่าเกินไป อาจทําใหเกดิ การตกตะกอน หากสารละลายธาตอุ าหารพืชมีความ เปนกรดมากเกนิ สามารถปรับ โดยใชโพแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH)

โซเดียมไบคารบอเนต (NaHCO3) หรอื แอมโมเนียมไฮดรอก-ไซด (NH4OH) หากสารละลายธาตุอาหารมคี วาม เปน ดางมากเกนิ สามารถปรับโดยเติมกรดซัลฟรู กิ (H2SO4) กรดไนตรกิ (HNO3) กรดไฮโดรคลอริก (HCl) กรดฟอสฟอรกิ (H3PO4) หรือ กรดอซติ กิ (CH3COOH) เครอ่ื งมอื ที่ใชวัดคา ความเปนกรดเปนดา ง คอื pH meter กอนใชค วรปรบั เครอ่ื งมือใหม คี วาม เทยี่ งตรงกอ น โดยใชน า้ํ ยามาตรฐานหรือทเี่ รยี กวา “สารละลายบัฟเฟอรมาตรฐาน” (Buffer Solution) การควบคมุ คา EC ของสารละลายธาตอุ าหารพืช ชนดิ ของพืช ระยะการเตบิ โต ความเขม ของแสง และขนาดของถงั ทบ่ี รรจุสารอาหารพืช สภาพ ภูมิอากาศกม็ ีผลตอการเปล่ียนแปลงคา EC เนอ่ื งจาก โดยทวั่ ไปเมอ่ื พืชยงั เลก็ จะมคี วามตองการ EC ท่ีต่ํา และ จะเพมิ่ มากข้นึ เม่อื พชื มคี วามเจรญิ เตบิ โตทีม่ ากข้ึน และพชื แตละชนิดมคี วามตองการคา EC แตกตา งกนั เชน ผกั สลัด มคี วามตอ งการสารละลายธาตอุ าหารท่ีมีคา EC ระหวา ง 0.5 – 2.0 mS/cm แตงกวา มีความตอ งการสารละลายธาตอุ าหารท่ีมีคา EC ระหวาง 1.5 – 2.0 mS/cm ผกั และไมด อก มีความตอ งการสารละลายธาตอุ าหารทม่ี ีคา EC ระหวา ง 1.8 – 2.0 mS/cm มะเขือเทศ มคี วามตอ งการสารละลายธาตุอาหารท่ีมคี า EC ระหวา ง 2.5 – 3.5 mS/cm แคนตาลปู มคี วามตองการสารละลายธาตอุ าหารทมี่ ีคา EC ระหวาง 4 – 6 mS/cm เคร่ืองมอื ที่ใชวดั คาการนาํ ไฟฟา (Electrical Conductivity) เรยี กวา EC meter กอนใชควรปรับ ความเท่ยี งตรงเสยี กอ น โดยปรับทป่ี มุ ของเครือ่ งในสารละลายมาตรฐาน ซ่งึ คาทีว่ ดั ไดจะเปลี่ยนแปลงไปตาม อุณหภมู ขิ องสารละลาย กลาวคอื ยิ่งสารละลายมีอุณหภมู สิ ูงขนึ้ คา EC ก็จะสูงข้ึนตามดวย Hydroponics ธาตอุ าหาร ธาตอุ าหารพืช เปน สิ่งจําเปนสาํ หรับการเจรญิ เติบโตของพืช ประกอบดว ย 17 ธาตุ ไดแก คารบ อน, ไฮโดรเจน, ออกซิเจน, ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โปแตสเซยี ม, แคลเซยี ม, แมกนีเซียม, กํามะถนั , เหล็ก, แมงกานีส, สงั กะส,ี ทองแดง, โบรอน, โมลิบดีนัม, คลอรีน และนเิ กิล แบงเปน มหธาตุ 9 ธาตุ (macronutrient elements) หรือธาตุอาหารมหัพภาค คอื ธาตอุ าหารที่พชื ตองการในปริมาณมาก และขาด ไมได โดยมีความเขม ขนของธาตอุ าหารโดยนา้ํ หนักแหง เม่ือพชื เจริญเติบโตเต็มวยั สงู กวา 500 มิลลิกรัม/ กิโลกรมั ไดแ ก คารบอน, ไฮโดรเจน และออกซิเจน ซง่ึ ไดจากนํ้า และอากาศ สว นไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โปแตสเซยี ม, แคลเซียม, แมกนีเซียม และกาํ มะถัน พืชไดจากดนิ ในบางครง้ั มหธาตจุ ะกลาวถงึ เพียง 6 ธาตุ

ไมน บั รวมคารบ อน, ไฮโดรเจน และออกซเิ จน ท่ไี ดจ ากนํ้า และอากาศ ไดแก ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โปแตส เซียม, แคลเซียม, แมกนเี ซยี ม และกํามะถนั โดยแบงเปน 2 กลุม คอื 1. กลุม ธาตอุ าหารหลกั (primary nutrient elements) 3 คอื ธาตอุ าหารพืชทีต่ องการในปรมิ าณ มาก 3 ธาตุ ไดแ ก ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซยี ม 2. กลมุ ธาตุอาหารรอง (secondary nutrient elements) คือ ธาตุอาหารทพ่ี ืชตอ งการในปริมาณ นอยกวากวา กลุมแรก 3 ธาตุ ไดแ ก แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม และกาํ มะถนั จุลธาตุ 8 ธาตุ (micronutrient elements) คอื ธาตอุ าหารทพี่ ืชตอ งการในปรมิ าณนอย โดยที่มี ความเขม ขนของธาตอุ าหารโดยน้าํ หนกั แหง เมอื่ พืชเจริญเตบิ โตเตม็ วยั ต่าํ กวา 100 มิลลกิ รัม/กิโลกรมั ไดแก เหล็ก, แมงกานีส, สงั กะส,ี ทองแดง, โบรอน, โมลิบดีนัม, คลอรนี และนเิ กลิ สาํ หรบั ธาตุนิเกลิ เพง่ิ จะมกี าร รวมเขา เปนธาตทุ ่ี 8 โดยมีการศึกษา พบวา นิกเกิลเปน องคประกอบสาํ คญั ของเอนไซมยรู ีเอส ทท่ี ําหนา ที่ กระตุนปฏกิ ริ ิยาไฮโดรไลซสิ ยูเรยี ใหเปนแอมโมเนยี และคารบ อนไดออกไซด และทาหนาที่สําคญั ในการสรา ง สารประกอบอนิ ทรียไนโตรเจน นอกจากนน้ั พืชบางชนิดยังตอ งการธาตอุ าหารอ่ืนๆอกี เชน โคบอลท (CO), โซเดยี ม (Na), อะลูมิเนยี ม (Al), แวนาเดยี ม (Va), ซิลเิ นียม (Se), ซิลิกอน (Si) และอ่ืนๆ เรียกธาตุอาหารกลุม เหลา นี วา beneficial element ธาตุอาหารหลัก 1. ไนโตรเจน

ไนโตรเจนเปน องคป ระกอบของพชื ประมาณรอ ยละ 18 และปริมาณไนโตรเจนกวา รอยละ 80-85 ของไนโตรเจนทงั้ หมดทพี่ บในพชื จะเปนองคประกอบของโปรตีน รอยละ 10 เปน องคประกอบของกรด นวิ คลอี ิก และรอยละ 5 เปนองคประกอบของกรดอะมโิ นทล่ี ะลายได โดยทั่วไป ธาตไุ นโตรเจนในดินมกั ขาด มากกวาธาตุอน่ื โดยพชื นําไนโตรเจนทม่ี าใชผานการดดู ซมึ จากรากในดินในรูปของเกลือไนเตรท (NO3-) และ เกลอื แอมโมเนียม (NH4+) ธาตุไนโตรเจนในดนิ มกั สูญเสียไดง ายจากการชะลางในรปู ของเกลอื ไนเตรท หรือ เกดิ การระเหยของแอมโมเนยี ดังนนั้ หากตอ งการใหไนโตรเจนในดินทเี่ พยี งจงึ ตอ งใสธ าตุไนโตรเจนลงไปในดิน ในรูปของปุย นอกจากนี้ พืชยังไดร บั ไนโตรเจนจากการสลายตวั ของอินทรียวัตถุ และการแปรสภาพของ สารอนิ ทรยี โ ดยจุลนิ ทรียใ นดนิ รวมถงึ การไดร ับจากพชื บางชนดิ เชน พืชตระกลู ถ่ัว ทม่ี ีไรโซเบียมชวยตรึง ไนโตรเจนจากอากาศ ความตอ งการธาตไุ นโตรเจนของพชื ข้ึนกบั หลายปจจัย อาทิ ชนิดของพืช อายุของพืช และฤดูกาล หนา ท่ี และความสําคญั ตอ พชื 1. ทําใหพืชเจรญิ เตบิ โต และตง้ั ตัวไดเ ร็ว โดยเฉพาะในระยะแรกของการเจริญเติบโต 2. สง เสรมิ การเจริญเติบโตของใบ และลําตน ทําใหลําตน และใบมีสีเขยี วเขม 3. สงเสริมการสรางโปรตีนใหแกพชื 4. ควบคมุ การออกดอก และติดผลของพืช 5. เพม่ิ ผลผลติ ใหส งู ขึ้น โดยเฉพาะพืชท่ใี หใบ และลําตน 2. ฟอสฟอรสั ฟอสฟอรสั ในดินมกั มีปริมาณที่ไมเ พยี งพอกบั ความตอ งการของพืชเชนกนั เนื่องจากเปน ธาตุที่ถูกตรงึ หรือเปล่ียนเปนสารประกอบไดงาย สารเหลาน้ี มักละลายน้ําไดยาก ทําใหความเปนประโยชนข องฟอสฟอรสั ตอพืชลดลง ฟอสฟอรัสท่ีพบในพืชจะในรูปของฟอสเฟตไอออนที่พบมากในทอลําเลียงน้ํา เมล็ด ผล และใน เซลลพืช โดยทําหนาสําคัญเก่ียวกับการถายทอดพลังงาน เปนวัตถุดิบในกระบวนการสรางสารตางๆ และ ควบคุมระดบั ความเปนกรด-ดาง ของกระบวนการลาํ เลียงนา้ํ ในเซลล การนาํ ฟอสฟอรสั จากดินมาใช พชื จะดูด ฟอสฟอรัสในรูปอนุมูลไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (H2PO4-) และไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (HPO42-) ปริมาณสารทั้งสองชนิดจะมากหรือนอยขึ้นกับคาความเปนกรด-ดางของดิน ดินท่ีมีสภาพความเปนกรด ฟอสฟอรสั จะอยใู นรูป ไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน(H2PO4-) หากดินมีสภาพเปน ดาง ฟอสฟอรสั จะ อยใู นรูปไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (HPO42-) แตส ารเหลา น้ี ในดินมักถูกยดึ ดวยอนุภาคดนิ เหนียว ทําใหพ ืชไม สามารถนําไปใชไ ด รวมถงึ รวมตวั กบั ธาตุอน่ื ในดิน ทาํ ใหพชื ไมสามารถนํามาใชป ระโยชนไ ด เชน ในสภาพดินท่ี เปนเบส และเปนกรดจัดที่มแี รธาตุ และสารประกอบอืน่ มากฟอสเฟตจะรวมตัวกับไอออนประจุบวก และลบ ของธาตุ และสารประกอบเหลา นนั้ กลายเปน เกลือท่ไี มละลายนํ้าทําใหพ ืชนําไปใชไ ดน อ ย ดงั นน้ั ในสภาพดนิ ท่ี เปนกลาง พืชจะนําฟอสเฟตไอออนมาใชประโยชนไดดีกวา โดยทั่วไปพชื จะตองการฟอสฟอรสั ประมาณ 0.3- 0.5 เปอรเซ็นตโดยนํ้าหนักแหง เพื่อใหการเจริญเติบโตทางใบเปนปกติ แตหากไดรับในปริมาณสูงกวา 1 เปอรเ ซน็ ตโดยนาํ้ หนักแหงจะเกดิ ความเปนพษิ ตอพชื หนาที่ และความสาํ คัญตอพชื 1. สงเสริมการเจริญเติบโตของราก ท้ังรากแกว รากฝอย และรากแขนง โดยเฉพาะในระยะแรกของ การเจรญิ เตบิ โต

2. ชว ยเรงใหพ ชื แกเร็ว ชว ยการออกดอก การติดผล และการสรา งเมล็ด 3. ชว ยใหรากดดู โปแตสเซยี มจากดินมาใชเ ปนประโยชนไดม ากขน้ึ 4. ชวยเพิ่มความตา นทานตอโรคบางชนดิ ทาํ ใหผ ลผลิตมคี ุณภาพดี 5. ชวยใหลาํ ตนแขง็ แรง ไมล มงาย 6. ลดผลกระทบที่เกดิ จากพืชไดรบั ไนโตรเจนมากเกนิ ไป 3. โปแตสเซียม โดยทั่วไป โพแทสเซียมกระจายอยูดินช้ันบน และดินช้ันลางในปริมาณท่ีไมแตกตางกัน โพแทสเซียม เปนธาตุท่ีจําเปนสําหรับพืชเหมือนกับธาตุฟอสฟอรัส และธาตุไนโตรเจน พืชจะดูดโพแทสเซียมจากดินในรูป โพแทสเซียมไอออน โพแทสเซียมเปนธาตุท่ีละลายนําไดดี และพบมากในดินทั่วไป แตสวนใหญจะรวมตัวกบั ธาตุอ่ืนหรือถูกยึดในชั้นดินเหนียว ทําใหพืชนาไปใชไมได การเพิ่มปริมาณโพแทสเซียมในดินจะเกิดจากการ สลายตัวของหินเปนดินหรือปฏิกิริยาของจุลินทรียในดินท่ีพืชสามารถนําไปใชได โพแทสเซียมท่ีเปน องคป ระกอบของพชื พบมากในสวนยอดของตน ปลายราก ตาขา ง ใบออน ในใจกลางลาํ ตน และในทอลาํ เลียง อาหาร โดยทว่ั ไป ความตองการโพแทสเซยี มของพชื อยูในชว ง 2-5 เปอรเซ็นต โดยน้าํ หนักแหง บทบาทสําคัญ ของโพแทสเซยี ม คือ ชวยกระตนุ การทา งานของเอนไซม ชวยในกระบวนการสรา งแปง ชว ยใน กระบวนการสังเคราะหแสง ควบคุมศักยออสโมซีส ชว ยในการลาเลยี งสารอาหาร ชวยรกั ษาสมดลุ ระหวา งกรด และเบส หนาที่ และความสาํ คัญตอพืช 1. สง เสริมการเจรญิ เตบิ โตของราก ทาใหรากดูดนา และธาตุอาหารไดดขี นึ้ 2. จา เปนตอการสรางเนอ้ื ผลไม การสรา งแปงของผล และหวั จึงนยิ มใหป ยุ โพแทสเซยี มมากในระยะ เรงดอก ผล และหวั 3. ชวยใหพชื ตา นทานการเปล่ียนแปลงปรมิ าณแสง อณุ ภูมหิ รอื ความชืน้ 4. ชวยใหพืชตา นทานตอโรคตา งๆ 5. ชวยเพิม่ คุณภาพของพชื ผัก และผลไม ทาํ ใหพืชมีสสี ัน เพ่ิมขนาด และเพิ่มความหวาน 6. ชว ยปองกันผลกระทบจากที่พชื ไดร ับไนโตรเจน และฟอสฟอรัสมากเกินไป

ใบความรสู าํ หร เร่ือง แผนผังกระบวนการและเนื้อหา สะเต็มศึกษาบูรณาก ความเช่ือมโยงสะเต็มศกึ ษากบั การบรู ณาการวัฒนธรรมทอ S : Science T : Technology E:E วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศว ความรู ประโยชนท ไ่ี ดรับ กระบว ความรูเบอ้ื งตน เก่ียวกบั ปจจัยการ 1. ไดชนิดของวสั ดุที่ ออกแบ เจรญิ เติบโตของ นาํ มาใชใ นการทาํ พชื ไรดนิ ภาชนะปลกู พชื ไรดิน 1. การร 1. นํ้า รปู แบบใหม 2. การค 2. ธาตอุ าหารและ 2. วัสดุท่ีนํามาปลกู เกี่ยวขอ สารละลายธาตุ พชื ไรด นิ ไดมาจาก 3. การว อาหาร ธรรมชาติ พฒั นา 3 ออกซิเจน 4. การท 4. แสงแดด ประเมิน 5. สภาพแวดลอม 5. การน

รบั ผูจ ัดกิจกรรม การวัฒนธรรมทอ งถ่นิ “ภมู ิปญญาทอ งถ่ินปลูกพชื ไรดินได” องถนิ่ ที่สอดคลอ งกับเนือ้ หา “ภมู ิปญ ญาทอ งถ่ินปลูกพชื ไรด ินได” Engineering M : Mathematics C : Culture วกรรมศาสตร คณิตศาสตร วัฒนธรรมทองถิ่น วนการ ความรู ตน กาํ เนิด บบการผลิต 1. การวดั ขนาดของ 1. การใชว สั ดุจาก ระบุปญหา ธรรมชาติท่หี าไดงา ย คนหาแนวคดิ ท่ี รางไมไ ผ ในทองถ่ิน อง 2. เพมิ่ คณุ คาใหกับ วางแผนและการ 2. การตวงปรมิ าตร วัสดุจากธรรมชาติ ของนํ้า และธาตุ และเปน การสรา ง ทดสอบและการ อาชพี และสราง นผล อาหาร รายไดใหกบั ผูคนใน นาํ เสนอผลลัพธ 3. การคาํ นวณหา ทอ งถน่ิ ตนทุน/กาํ ไร

ใบความรสู ําหรบั ผรู บั บริการ เรือ่ ง ภูมิปญญาทอ งถ่นิ ปลูกพชื ไรดินได ความหมายของคําวา \"การปลกู พชื โดยไมใชด ิน\" คําวา การปลกู พืชโดยไมใ ชดิน มีช่ือเรยี กในภาษาไทยหลายชอ่ื เชน การปลกู พชื ไรด นิ การปลกู พืชใน น้ําทม่ี ธี าตอุ าหารพืช การปลกู พืชในสารอาหารพชื การปลูกพืชในวัสดุปลกู ท่ีไมใ ชดินท่ีมธี าตุอาหารพชื การ ปลูกพชื โดยใหรากพืชสมั ผสั สารอาหารโดยตรงท่ีไมม ดี ินเปน เครือ่ งปลูก เปนตน แตไ มว าจะเรยี กวา อะไรก็ตาม สามารถอธบิ ายได 2 ลกั ษณะ ตามระบบหรือวิธีการปลกู และความหมายของคําท่ีแปลมาจากภาษาองั กฤษ 2 คาํ คอื คาํ วา Soilless Culture และคําวา Hydroponic ปจจัยที่เก่ยี วขอ งกบั การเจริญเติบโตของการปลกู พชื ไรด ิน 1. ปจจัยทางดานพนั ธกุ รรม ยีน (gene) เปนตัวกําหนดลักษณะการเจริญเติบโตของพชื ไมวาจะเปนสวนของราก ลาตน กิ่ง กาน ใบ ตลอดจนดอกและผล การสะสมมวลชวี ภาพไดม ากนอ ยเพียงใดขน้ึ อยูก ับพนั ธุกรรมของพชื เอง พันธพุ ืชทีจ่ ะ ใชกับการปลกู พืชดวยวิธีไฮโดรโปนิกสโ ดยเฉพาะยังไมม ีหรือมนี อยมาก 2. ปจ จัยทางดา นสิง่ แวดลอม 2.1 แสง ตามธรรมชาติพืชจะใชแสงอาทิตยเปนแหลงพลังงาน เพ่ือทําใหเกิดกระบวนการสังเคราะหแสงที่ใบ หรือสวนท่ีมีสีเขียว โดยมีคลอโรฟลล (Chlorophyll) ซ่ึงเปนรงควัตถุสีเขียวชนิดหนึ่งท่ีมีหนาที่เปนตัวรับแสง เพ่ือเปลย่ี นกา ซคารบอนไดออกไซด (CO2) และนํา้ (H2O) เปน กลูโคส (C6H12O6) และกา ซออกซเิ จน (O2) พชื ท่ี ปลูกในบานหรือเรือนทดลอง อาจใชแสงสวางจากไฟฟาทดแทนแสงอาทิตยไดแตก็เปนการส้ินเปลืองและไม สมบูรณ เมื่อเปรยี บเทียบกับแสงธรรมชาติ 2.2 อากาศ พืชจําเปนตองใชกา ซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่มีอยูประมาณ 0.033 เปอรเซ็นต ในบรรยากาศใน การผลติ กลโู คส (C6H12O6) ซง่ึ เปนสารอนิ ทรียเ ริม่ ตน เหตุการณทีพ่ ืชจะขาดคารบอนไดออกไซด เปน ไปไดย าก เนื่องจากมีแหลงคารบอนไดออกไซดอยางเหลือเฟอ เชน การเผาไหมเชื้อเพลิงจากโรงงานและรถยนต ตลอดจนการผลิตไฟฟา เปนตน สวนกาซออกซิเจน (O2) พืชตองการเพื่อใชในกระบวนการหายใจ (Respiration) เพื่อเปล่ียนพลังงานแสงอาทิตยซ่ึงถูกเก็บไวในรูปพลังงานเคมี ในรูปของน้ําตาลกลูโคสและ สามารถใหเปนพลงั งานเพอ่ื ใชในการขบั เคล่ือนกระบวนการเมตาโบลิซมึ (Metabolism) ตา งๆ การหายใจของ สวนเหนือดินของพืชมักไมมีปญหา เพราะในบรรยากาศมีออกซิเจนเปนองคประกอบอยูถึง 20 เปอรเซ็นต สําหรับรากพืชมักจะขาดออกซิเจน โดยเฉพาะการปลูกพืชไรดินดวยเทคนิคการปลูกดวยสารละลาย (Water Culture หรอื Liquid Culture) จําเปน ตองใหออกซเิ จนในจํานวนที่เพียงพอตอ ความตองการของพืช การให

ออกซเิ จนแกร ากพชื จะใหใ นรูปของฟองอากาศทแ่ี ทรกอยใู นสารละลายธาตุอาหารพชื ซ่ึงใหโดยใชเ ครือ่ งสูบลม หรอื การใชร ะบบน้าํ หมุนเวยี น 2.3 นํ้า คุณภาพน้ําเปนเร่ืองสําคัญมากเร่ืองหน่ึง การปลูกพืชเพียงเล็กนอยเพื่อการทดลองจะไมมีปญหาแต การปลูกเปนการคา จะตองพิจารณาเร่ืองของนํ้ากอนอื่น หากใชนํ้าคุณภาพไมดีทั้งองคประกอบทางเคมีและ ความสะอาด จะกอใหเกดิ ความลม เหลว นาํ้ เปน ตวั ประกอบท่สี าํ คญั โดยจะถูกนาํ ไปใช 2 ทาง คือ 1. ใชเปนองคประกอบของพืช พืชมีนํ้าเปนองคประกอบประมาณ 90-95 เปอรเซ็นตโดยนา้ํ หนัก พืช ใชน ํา้ เพื่อกอใหเ กดิ กิจกรรมท่ีมีประโยชน 2. ใชเปนตัวทําละลายธาตุอาหารพืชใหอยูในรูปไอออนหรือสารละลายธาตุอาหารพืชโมเลกุลเล็ก เพ่ือใหรากดูดกินเขาไป ปกติน้ําประปาถือวาใชได แตสําหรับการทดลอง มักใชนํ้ากล่ันหรือนํ้าประปาท่ีทิ้งให คลอรีนหมดไป แหลงของนํ้าท่ีดีสุด สําหรับการปลูกพืชไรดินเชิงพาณิชย คือ น้ําฝนหรือน้ําจากคลอง ชลประทาน วสั ดปุ ลูกผกั แบบไฮโดรโปนิกส 2.4 วัสดปุ ลูก วสั ดปุ ลกู หมายถงึ วตั ถุ (material) ตา งๆ ทีเ่ ลือกสรรมา เพอื่ ใชป ลูกพืชและทําใหตนพืชเจรญิ เติบโต ไดเ ปนปกติ วสั ดดุ ังกลา วอาจเปนชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดผสมกนั ชนิดของวัสดปุ ลูกอาจเปน อินทรียวัตถุก็ ได โดยท่วั ไปวัสดุปลูกจะมีบทบาทตอการเจรญิ เตบิ โตและการใหผ ลผลิตพืช 4 ประการ ไดแ ก ก. คํา้ จุนสวนของพชื ทอ่ี ยูเหนอื วัสดปุ ลกู ใหต ง้ั ตรงอยูได ข. เก็บสาํ รองธาตอุ าหารพชื ค. กกั เก็บน้ําเพอื่ เปน ประโยชนต อ พชื ง. แลกเปล่ียนอากาศระหวางรากพชื กบั บรรยากาศเหนือวัสดุปลูก การปลูกพืชไรด ินดวยเทคนิควัสดุปลกู (Substrate Culture) วสั ดุปลกู พืชนับวา มีความสําคัญยง่ิ วัสดุ ปลูกอาจจะเปน วสั ดุอนินทรีย (Inorganic media) เชน ทราย กรวด หินภูเขาไฟ เปอรไ ลท (Perlite) เวอรม ิคิว ไลท (Vermiculite) และร็อกวูล (Rockwool) เปนตน หรือวัสดุอินทรีย (Organic media) เชน ขี้เลื่อย ขุย

มะพราว เปลือกไมและแกลบ เปนตน วัสดุปลูกควรมีอนุภาคสมํ่าเสมอ ราคาถูก ปราศจากพิษ และศัตรูพืช และเปนวัสดุที่หางายในทองถ่ินนนั้ ในญ่ีปุนสวนใหญจะใชแกลบเปนวัสดุปลูก แตแกลบจะมีรูพรุนมากจึง ไม ดูดซับน้ํา ควรเกบ็ ไวระยะหนึ่ง หรอื ผสมกับวสั ดอุ นื่ ทก่ี กั เก็บน้าํ ได เชน ขุยมะพรา ว ความสามารถในการอุมน้ํา ของวสั ดปุ ลูก เปน คณุ สมบัตอิ ยางหนง่ึ ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช เพราะเกี่ยวของกับสัดสว นของอากาศ และน้ํา ในชองวางที่เหมาะสม วัสดุปลูกที่เปนของแข็ง สามารถจําแนกตามท่ีมาและแหลงกําเนิดของวัสดุได ดงั ตอ ไปน้ี 1. วัสดปุ ลกู ท่ีเปน อนินทรยี สาร เชน - วัสดทุ เ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ เชน ทราย กอนกรวด หินภเู ขาไฟ หินซีลท ฯลฯ - วสั ดทุ ่ผี า นขบวนการโดยใชความรอน ทาํ ใหว ัสดุเหลา น้ี มีคณุ สมบตั ิเปลย่ี นไปจากเดมิ เชน ดินเผา เม็ดดินเผา ที่ไดจ ากการเผาเม็ดดนิ เหนียวทอ่ี ุณหภมู ิสงู 1,100 องศาเซลเซยี ส ใยหนิ ท่ไี ดจากการหลอม หินภเู ขาไฟท่ีทาใหเปนเสน ใยแลว ผสมดว ยสารเลซนิ เปอรไ ลท ท่ไี ดจ ากทรายท่ีมีตนกําเนดิ จากภูเขาท่อี ุณหภูมิ สูง 1,200 องศาเซลเซียส เวอรมิคูไลท (vermiculite) ท่ีไดจากการเผาแรไ มกาที่อุณหภมู ิสูง 800 องศาเซลเซียส เปน ตน - วัสดุเหลือใชจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน เศษจากการทําอิฐมอญ เศษดินเผาจากโรงงาน เครอื่ งปนดินเผา 2. วัสดุปลูกที่เปนอินทรียสาร เชน วัสดุท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เชน ฟางขาว ขุยและเสนใย มะพรา ว แกลบและขเ้ี ถา เปลือกถว่ั พที หรือวสั ดุเหลอื ใชจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน ชานออ ย กากตะกอน จากโรงงานนา้ํ ตาล วัสดเุ หลือใชจากโรงงานกระดาษ 3. วัสดสุ งั เคราะห เชน เม็ดโฟม แผน ฟองนํา้ และเสนใยพลาสติกลกั ษณะของวสั ดปุ ลูกท่ดี ี ภาพรวมใน การเลือกใชวัสดุปลูกใหคํานึงถึง คือ ตองสะอาด และทําความสะอาดงาย มีความแข็งแรง มีคุณสมบัติทาง กายภาพทดี่ ี เชน ไมท รุดตวั งา ย ถายเทนํา้ และอากาศไดดมี ีคุณสมบัติที่เหมาะสมทางเคมี เชน ระดับของความ เปน กรดดา ง ไมม สี ารทําลายรากพชื เปนวสั ดุท่สี ามารถเพาะเมลด็ ไดทุกขนาดและทกุ ประเภท ควรเปน วสั ดุที่มี ราคาถกู ที่สามารถหาไดใ นทอ งถิ่น และไมกอใหเกดิ ปญ หาตอ ส่ิงแวดลอ ม 2.5 สารละลายธาตอุ าหารพืช ธาตุอาหารท่ีพืชตอ งการในการเจรญิ เติบโตและใหผลผลิต มีทงั้ หมด 16 ธาตุ ซงึ่ 3 ธาตุ คือ คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ไดจากนํ้าและอากาศ และอีก 13 ธาตุ ไดจ ากการดดู กนิ ผานทางราก ทง้ั 13 ธาตุแบง ออกเปน 2 กลุม ตามปริมาณที่พืชตองการ คือ ธาตุอาหารท่ีพืชตองการเปนปรมิ าณมากและธาตุอาหารทีพ่ ชื ตอ งการเปนปริมาณนอ ย ธาตอุ าหารที่พืชตองการเปนปรมิ าณมาก (macronutrient elements) ไนโตรเจน (N) พืชสามารถดูดกินไนโตรเจนไดทั้งในรปู ของแอมโมเนียมไอออน (NH4+)และไนเตรท ไอออน (NO3-) ซ่ึงไนโตรเจนสวนใหญในสารละลายธาตุอาหารพืชจะอยูในรูปไนเตรทไอออนเพราะถามี แอมโมเนียมไอออนมากจะเปนอันตรายตอพืชได สารเคมีท่ีใหไนเตรทไอออน คือ แคลเซียมไอออน และ

โปแตสเซียมไนเตรท นอกจากน้ี ยังอาจไดจากกรดดินประสิว (HNO3-) ที่ใชในการปรับความเปนกรดดางของ สารละลายธาตุอาหารพืช ฟอสฟอรัส (P) ในการปลูกพืชไรดิน พืชตองการธาตุฟอสฟอรัสไมมากเทากับไนโตรเจน และโปแต สเซียม ประกอบกับไมมีปญหาในเร่ืองความไมเปนประโยชนของฟอสฟอรัสเหมือนในดิน พืชจึงไดรับ ฟอสฟอรัสอยางเพียงพอ รูปของฟอสฟอรัสท่ีพืชสามารถดูดกินไดคือ mono-hydrogenphosphate ion (HPO4-2) สวนจะอยใู นรูปใดมากกวากันขึน้ อยกู ับความเปน กรดดา งของสารละลายในขณะนนั้ โปแตสเซียม (K) รูปของโปแตสเซียมท่ีพืชดูดกินได คือ potassium ion (K+) โปแตสเซียมท่ีมีมาก เกินพอ จะไปรบกวนการดูดกินแคลเซียมและแมกนีเซียม สารเคมีท่ีใหโปแตสเซียม คือ potassuimnitrate และ potassium phosphate วิธีการปลกู ผักไฮโดรโปนิกส ปลกู พืชไมใ ชด นิ การปลูกพชื โดยไมใ ชดิน จะมีการจัดการอยู 2 สวน ไดแก ในสว นของพชื และสว นของ สารละลายธาตอุ าหาร การจดั การพืช ความสาํ เรจ็ ของ การผลิตอยทู ่ีความแข็งแรงและความสมบูรณของตนกลา เพราะจะทําใหพืชสามารถ เจรญิ เตบิ โตและตง้ั ตัวไดเรว็ วิธกี ารเพาะกลามีอยดู ว ยกนั หลายวิธี เชน การเพาะกลาในถว ยเพาะแบบสาํ เร็จรปู โดยใช เพอรไลท และ เวอรมคิ ไู ลท เปนวัสดทุ ี่ใชเพาะ, การเพาะกลาในแผนฟองน้ํา สว นมากจะนยิ มปลกู ในรูป ของแผน โฟม และ การเพาะกลาในวัสดุปลกู ซง่ึ ใชวสั ดุท่ไี ดจากท้งั ในและตา งประเทศ เชน เวอรม ิคูไลท หนิ ฟอสเฟต เพอรไ ลท ขุยมะพราว แกลบ ขเ้ี ถาแกลบ หนิ กรวด ทราย เปน ตน ทง้ั นี้ ข้นึ อยูกบั ระบบทใี่ ชปลกู การ จัดการดา นสารละลาย ในสารละลายธาตอุ าหารที่ใชป ลกู พืชจําเปนตอ งมีการควบคมุ คา pH และ EC ของสารละลายเพอื่ ให พชื สามารถดูดปุยหรอื สารละลายธาตอุ าหารไดด ี ตลอดจนตองมกี ารควบคุมอณุ หภมู ิและออกซิเจนในสารละลาย ธาตุอาหาร การรักษาหรือควบคุมคา pH ของสารละลายธาตอุ าหารพชื คา pH หมายถงึ คาความเปนกรดเปน ดา งของสารละลายธาตอุ าหารพชื สาเหตุที่ตองมกี ารควบคุม pH เพ่ือใหพ ืชสามารถดดู ใชป ุยหรอื สารอาหารไดด ี เพราะคา ความเปน กรดเปนดา งในสารละลายจะเปน คา ที่ บอกใหท ราบถงึ ความสามารถของปยุ ที่จะอยใู นรูปท่ีพชื สามารถดดู ธาตุอาหารตางๆ ทมี่ อี ยูในสารละลายธาตุ อาหารพชื ได ถา คา pH สูงหรอื ต่าํ เกนิ ไป อาจทาํ ใหเ กดิ การตกตะกอน หากสารละลายธาตุอาหารพชื มีความ เปนกรดมากเกิน สามารถปรบั โดยใชโ พแทสเซียมไฮดรอกไซด (KOH) โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) โซเดยี มไบคารบ อเนต (NaHCO3) หรือแอมโมเนยี มไฮดรอก-ไซด (NH4OH) หากสารละลายธาตอุ าหารมคี วาม เปน ดางมากเกิน สามารถปรบั โดยเติมกรดซัลฟูริก (H2SO4) กรดไนตริก (HNO3) กรดไฮโดรคลอรกิ (HCl) กรดฟอสฟอรกิ (H3PO4) หรือ กรดอซติ กิ (CH3COOH) เคร่อื งมอื ทใ่ี ชว ดั คาความเปนกรดเปนดาง คอื pH meter กอ นใชควรปรับเคร่อื งมอื ใหม คี วาม เทย่ี งตรงกอ น โดยใชน้ํายามาตรฐานหรอื ท่ีเรียกวา “สารละลายบัฟเฟอรมาตรฐาน” (Buffer Solution)

การควบคมุ คา EC ของสารละลายธาตอุ าหารพชื ชนดิ ของพืช ระยะการเตบิ โต ความเขม ของแสง และขนาดของถังทบ่ี รรจสุ ารอาหารพืช สภาพ ภมู ิอากาศก็มีผลตอการเปล่ียนแปลงคา EC เนือ่ งจาก โดยทัว่ ไปเมอ่ื พืชยงั เลก็ จะมคี วามตองการ EC ท่ตี ่ํา และ จะเพมิ่ มากขึ้นเมอ่ื พืชมีความเจรญิ เติบโตทมี่ ากข้นึ และพืชแตละชนดิ มีความตองการคา EC แตกตา งกนั เชน ผกั สลดั มีความตองการสารละลายธาตุอาหารทม่ี ีคา EC ระหวา ง 0.5 – 2.0 mS/cm แตงกวา มีความตอ งการสารละลายธาตอุ าหารที่มคี า EC ระหวา ง 1.5 – 2.0 mS/cm ผักและไมด อก มีความตองการสารละลายธาตอุ าหารทม่ี ีคา EC ระหวาง 1.8 – 2.0 mS/cm มะเขอื เทศ มคี วามตอ งการสารละลายธาตอุ าหารทมี่ คี า EC ระหวาง 2.5 – 3.5 mS/cm แคนตาลูป มคี วามตองการสารละลายธาตุอาหารทมี่ คี า EC ระหวาง 4 – 6 mS/cm เครื่องมอื ทใ่ี ชว ดั คา การนาํ ไฟฟา (Electrical Conductivity) เรยี กวา EC meter กอ นใชควรปรบั ความเทยี่ งตรงเสยี กอน โดยปรบั ท่ีปุมของเครื่องในสารละลายมาตรฐาน ซ่งึ คา ที่วดั ไดจ ะเปลี่ยนแปลงไปตาม อณุ หภมู ิของสารละลาย กลาวคือ ยง่ิ สารละลายมีอุณหภมู สิ ูงขนึ้ คา EC กจ็ ะสูงขึน้ ตามดว ย Hydroponics ธาตุอาหาร ธาตอุ าหารพืช เปน ส่ิงจาํ เปน สาํ หรบั การเจรญิ เติบโตของพชื ประกอบดว ย 17 ธาตุ ไดแก คารบอน, ไฮโดรเจน, ออกซเิ จน, ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โปแตสเซียม, แคลเซียม, แมกนเี ซยี ม, กาํ มะถัน, เหล็ก, แมงกานีส, สงั กะส,ี ทองแดง, โบรอน, โมลบิ ดีนมั , คลอรีน และนิเกลิ แบงเปน มหธาตุ 9 ธาตุ (macronutrient elements) หรือธาตุอาหารมหัพภาค คือ ธาตอุ าหารที่พืชตอ งการในปรมิ าณมาก และขาด ไมไ ด โดยมคี วามเขม ขน ของธาตุอาหารโดยนาํ้ หนักแหง เมอ่ื พืชเจริญเตบิ โตเตม็ วัยสูงกวา 500 มิลลิกรมั / กิโลกรมั ไดแก คารบอน, ไฮโดรเจน และออกซเิ จน ซึง่ ไดจ ากนํ้า และอากาศ สว นไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โปแตสเซียม, แคลเซยี ม, แมกนเี ซยี ม และกํามะถัน พชื ไดจ ากดนิ ในบางครง้ั มหธาตจุ ะกลาวถึงเพียง 6 ธาตุ ไมน ับรวมคารบ อน, ไฮโดรเจน และออกซิเจน ทไี่ ดจากนํ้า และอากาศ ไดแ ก ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส, โปแตส เซยี ม, แคลเซียม, แมกนีเซียม และกาํ มะถนั โดยแบง เปน 2 กลมุ คอื 1. กลุมธาตอุ าหารหลัก (primary nutrient elements) 3 คือ ธาตุอาหารพืชทีต่ องการในปริมาณ มาก 3 ธาตุ ไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซยี ม

2. กลมุ ธาตอุ าหารรอง (secondary nutrient elements) คือ ธาตุอาหารทพ่ี ืชตอ งการในปริมาณ นอ ยกวา กวากลุมแรก 3 ธาตุ ไดแก แคลเซียม แมกนีเซยี ม และกํามะถัน จลุ ธาตุ 8 ธาตุ (micronutrient elements) คือ ธาตุอาหารทพ่ี ืชตองการในปรมิ าณนอ ย โดยท่ีมี ความเขมขนของธาตุอาหารโดยนาํ้ หนักแหง เมอ่ื พชื เจรญิ เติบโตเตม็ วยั ตาํ่ กวา 100 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรมั ไดแก เหล็ก, แมงกานีส, สงั กะส,ี ทองแดง, โบรอน, โมลิบดนี ัม, คลอรนี และนเิ กลิ สําหรบั ธาตนุ ิเกิล เพง่ิ จะมกี าร รวมเขาเปนธาตทุ ี่ 8 โดยมกี ารศึกษา พบวา นิกเกิลเปน องคป ระกอบสาํ คญั ของเอนไซมยูรเี อส ทท่ี ําหนาท่ี กระตนุ ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรไลซสิ ยูเรียใหเ ปนแอมโมเนีย และคารบอนไดออกไซด และทา หนาที่สําคญั ในการสราง สารประกอบอินทรียไนโตรเจน นอกจากนน้ั พชื บางชนดิ ยงั ตอ งการธาตุอาหารอนื่ ๆอีก เชน โคบอลท (CO), โซเดยี ม (Na), อะลูมเิ นยี ม (Al), แวนาเดยี ม (Va), ซิลเิ นยี ม (Se), ซิลกิ อน (Si) และอน่ื ๆ เรยี กธาตอุ าหารกลมุ เหลา นี วา beneficial element ธาตุอาหารหลกั 1. ไนโตรเจน ไนโตรเจนเปนองคประกอบของพืชประมาณรอ ยละ 18 และปรมิ าณไนโตรเจนกวารอ ยละ 80-85 ของไนโตรเจนทงั้ หมดทพี่ บในพชื จะเปน องคประกอบของโปรตีน รอ ยละ 10 เปน องคประกอบของกรด นิวคลอี ิก และรอ ยละ 5 เปน องคป ระกอบของกรดอะมิโนท่ลี ะลายได โดยทว่ั ไป ธาตไุ นโตรเจนในดินมักขาด มากกวาธาตอุ นื่ โดยพืชนาํ ไนโตรเจนทม่ี าใชผานการดดู ซึมจากรากในดนิ ในรูปของเกลอื ไนเตรท (NO3-) และ

เกลือแอมโมเนยี ม (NH4+) ธาตุไนโตรเจนในดนิ มกั สูญเสยี ไดง า ยจากการชะลา งในรปู ของเกลอื ไนเตรท หรอื เกดิ การระเหยของแอมโมเนีย ดงั นน้ั หากตองการใหไ นโตรเจนในดนิ ที่เพยี งจึงตอ งใสธาตุไนโตรเจนลงไปในดิน ในรูปของปุย นอกจากน้ี พืชยงั ไดร บั ไนโตรเจนจากการสลายตวั ของอินทรียวัตถุ และการแปรสภาพของ สารอินทรยี โ ดยจุลนิ ทรยี ในดิน รวมถึงการไดรบั จากพืชบางชนิด เชน พชื ตระกลู ถ่วั ที่มไี รโซเบียมชวยตรงึ ไนโตรเจนจากอากาศ ความตอ งการธาตุไนโตรเจนของพืชขน้ึ กบั หลายปจจัย อาทิ ชนิดของพชื อายขุ องพืช และฤดกู าล หนา ท่ี และความสาํ คญั ตอพชื 1. ทาํ ใหพ ืชเจริญเตบิ โต และตงั้ ตัวไดเ ร็ว โดยเฉพาะในระยะแรกของการเจรญิ เติบโต 2. สง เสรมิ การเจรญิ เติบโตของใบ และลาํ ตน ทําใหล ําตน และใบมีสีเขียวเขม 3. สง เสรมิ การสรา งโปรตีนใหแ กพ ืช 4. ควบคมุ การออกดอก และติดผลของพืช 5. เพ่มิ ผลผลิตใหส งู ข้นึ โดยเฉพาะพชื ทใี่ หใบ และลาํ ตน 2. ฟอสฟอรสั ฟอสฟอรัสในดินมักมีปรมิ าณท่ไี มเพยี งพอกบั ความตอ งการของพืชเชน กนั เน่อื งจากเปนธาตุที่ถกู ตรึง หรือเปล่ียนเปนสารประกอบไดง าย สารเหลาน้ี มักละลายนํ้าไดยาก ทําใหความเปนประโยชนของฟอสฟอรสั ตอพืชลดลง ฟอสฟอรัสที่พบในพืชจะในรูปของฟอสเฟตไอออนที่พบมากในทอลําเลียงนํ้า เมล็ด ผล และใน เซลลพืช โดยทําหนาสําคัญเกี่ยวกับการถายทอดพลังงาน เปนวัตถุดิบในกระบวนการสรางสารตางๆ และ ควบคุมระดับความเปนกรด-ดาง ของกระบวนการลําเลียงน้ําในเซลล การนาํ ฟอสฟอรสั จากดินมาใช พืชจะดูด ฟอสฟอรัสในรูปอนุมูลไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (H2PO4-) และไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (HPO42-) ปริมาณสารทั้งสองชนิดจะมากหรือนอยข้ึนกับคาความเปนกรด-ดางของดิน ดินท่ีมีสภาพความเปนกรด ฟอสฟอรสั จะอยูใ นรูป ไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน(H2PO4-) หากดนิ มีสภาพเปน ดา ง ฟอสฟอรัสจะ อยูในรูปไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน (HPO42-) แตสารเหลา นี้ ในดนิ มักถูกยดึ ดวยอนุภาคดินเหนยี ว ทําใหพืชไม สามารถนาํ ไปใชไ ด รวมถงึ รวมตวั กบั ธาตุอื่นในดนิ ทําใหพ ืชไมส ามารถนาํ มาใชประโยชนได เชน ในสภาพดินที่ เปนเบส และเปนกรดจัดที่มีแรธาตุ และสารประกอบอ่ืนมากฟอสเฟตจะรวมตัวกับไอออนประจุบวก และลบ ของธาตุ และสารประกอบเหลานนั้ กลายเปน เกลอื ทไ่ี มละลายนาํ้ ทาํ ใหพ ชื นําไปใชไดนอ ย ดังนัน้ ในสภาพดินท่ี เปนกลาง พืชจะนําฟอสเฟตไอออนมาใชประโยชนไดด ีกวา โดยท่ัวไปพืชจะตองการฟอสฟอรัสประมาณ 0.3- 0.5 เปอรเซ็นตโดยนํ้าหนักแหง เพ่ือใหการเจริญเติบโตทางใบเปนปกติ แตหากไดรับในปริมาณสูงกวา 1 เปอรเ ซ็นตโ ดยนาํ้ หนักแหงจะเกดิ ความเปนพษิ ตอ พชื หนาที่ และความสําคญั ตอพืช 1. สงเสริมการเจริญเติบโตของราก ท้ังรากแกว รากฝอย และรากแขนง โดยเฉพาะในระยะแรกของ การเจริญเติบโต 2. ชว ยเรง ใหพ ืชแกเรว็ ชวยการออกดอก การติดผล และการสรา งเมล็ด 3. ชวยใหรากดดู โปแตสเซยี มจากดนิ มาใชเ ปน ประโยชนไดมากขน้ึ 4. ชวยเพมิ่ ความตานทานตอโรคบางชนดิ ทาํ ใหผลผลติ มีคุณภาพดี 5. ชวยใหลําตนแขง็ แรง ไมลมงาย

6. ลดผลกระทบท่เี กดิ จากพชื ไดร ับไนโตรเจนมากเกินไป 3. โปแตสเซียม โดยท่ัวไป โพแทสเซียมกระจายอยดู ินชั้นบน และดินช้ันลางในปริมาณท่ีไมแตกตางกัน โพแทสเซียม เปนธาตุท่ีจําเปนสําหรับพืชเหมือนกับธาตุฟอสฟอรัส และธาตุไนโตรเจน พืชจะดูดโพแทสเซียมจากดินในรูป โพแทสเซียมไอออน โพแทสเซียมเปนธาตุท่ีละลายนําไดดี และพบมากในดินท่ัวไป แตสวนใหญจะรวมตัวกบั ธาตุอ่ืนหรือถูกยึดในช้ันดินเหนียว ทําใหพืชนาไปใชไมได การเพ่ิมปริมาณโพแทสเซียมในดินจะเกิดจากการ สลายตัวของหินเปนดินหรือปฏิกิริยาของจุลินทรียในดินท่ีพืชสามารถนําไปใชได โพแทสเซียมที่เปน องคประกอบของพชื พบมากในสวนยอดของตน ปลายราก ตาขาง ใบออน ในใจกลางลาํ ตน และในทอลาํ เลียง อาหาร โดยท่วั ไป ความตองการโพแทสเซยี มของพืชอยใู นชว ง 2-5 เปอรเซน็ ต โดยนา้ํ หนกั แหง บทบาทสําคัญ ของโพแทสเซยี ม คือ ชวยกระตนุ การทา งานของเอนไซม ชว ยในกระบวนการสรางแปง ชวยใน กระบวนการสงั เคราะหแ สง ควบคุมศกั ยออสโมซีส ชวยในการลา เลียงสารอาหาร ชว ยรกั ษาสมดลุ ระหวา งกรด และเบส หนา ที่ และความสาํ คัญตอพชื 1. สงเสริมการเจริญเติบโตของราก ทาใหรากดูดนา และธาตอุ าหารไดดขี น้ึ 2. จาเปน ตอการสรางเนอื้ ผลไม การสรางแปงของผล และหวั จงึ นิยมใหป ุย โพแทสเซียมมากในระยะ เรงดอก ผล และหัว 3. ชว ยใหพืชตานทานการเปลย่ี นแปลงปรมิ าณแสง อุณภูมหิ รอื ความช้นื 4. ชวยใหพชื ตานทานตอโรคตา งๆ 5. ชว ยเพิม่ คณุ ภาพของพืช ผัก และผลไม ทําใหพชื มสี สี ัน เพม่ิ ขนาด และเพิ่มความหวาน 6. ชวยปอ งกนั ผลกระทบจากทีพ่ ชื ไดรบั ไนโตรเจน และฟอสฟอรสั มากเกนิ ไป

ใบความรูส ําหรบั ผูจัดกจิ กรรม เร่ือง ภูมิปญ ญาทองถน่ิ ปลูกพชื ไรดินได วัสดแุ ละอุปกรณ 1. รางปลกู พืชจากกระบอกไมไผ 2. ถว ยปลูก 3. วสั ดุปลกู 4. ปยุ A B 5. ปม น้ํา 6. เมล็ดผกั สลดั 7. เครอ่ื งวัดคา pH 8. เคร่ืองวดั คา EC 9. ถาดเพาะ 10. ถว ยตวง 11. ถงั ผสมปุย 12. ไมบรรทดั 13. ตลบั เมตร 14. สายวดั ตวั 15. ปากกาเคมี ขนั้ ตอนและวิธีการปลูกพชื ไรด นิ 1. เร่มิ จากการเพาะเมล็ดในฟองนา้ํ โดยนาํ ฟองนาํ้ มากดในนาํ้ ใหชุมนาํ้ 2. ใสเ มลด็ ผกั ท่ีตองการลงในฟองนํา้ ไมควรใสลึก ถา ลกึ มากเมลด็ จะเนา แลว ไมงอก 3. เก็บไวใ นท่ีมืด 3-7 วัน 4. นําเมลด็ ผักทไ่ี ดใสลงในถวยปลกู ใสหนิ เพอรไลท ลงในถวยปลูก 5. เตรียมแรธาตอุ าหาร โดยใชปุย 2 สูตร คือ ปยุ สูตร A และ B ลงในน้ําโดยใชอ ตั ราสว น ใชผสมนํ้า 5 มิลลลิ ิตร ตอ นา้ํ 1 ลิตร ใชนาํ้ 20 ลติ ร ใชป ุย ชนิดละ 100 มลิ ลิลิตร 6. ปลกู แบบนํ้าวน โดยใชป มดูดวนนา้ํ ใสปยุ A ลงไป 100 มลิ ลิลิตร จากนัน้ ท้ิงไว 30 นาที ใหใสป ุย B ตาม เพอื่ ปอ งการจับเปนกอนของปุยทงั้ 2 ชนิด 7. ใสต นพืชลงในรางปลูกพืช และดูแลไมใ หร ะดบั นา้ํ ในถงั นํ้านอยเกนิ ไป จะทาํ ใหพ ชื ไมไดรับนํ้า

ใบกจิ กรรม เรือ่ ง ภมู ิปญญาทองถ่ินปลูกพชื ไรด ินได วัตถุประสงค ออกแบบและสร้างภาชนะการปลกู พืชไร้ดนิ โดยบรู ณาการสะเต็มศกึ ษากบั วฒั นธรรมท้องถิ่น เน้ือหา 1. ความรเู บือ้ งตน เกยี่ วกับปจ จัยการเจริญเติบโตของพชื ไรด นิ 1.1 น้าํ 1.2 ธาตอุ าหารและสารละลายธาตอุ าหาร 1.3 ออกซิเจน 1.4 แสงแดด 1.5 สภาพแวดลอม 2. การออกแบบและปฏิบัตกิ าร การปลกู ผักแบบไรดิน ใชปลกู จากวัสดุที่หาไดง า ยในทองถ่นิ 2.1 การออกแบบเชิงวศิ วกรรม 2.1.1 การระบปุ ญหา 2.1.2 การคน หาแนวคิดที่เกีย่ วขอ ง 2.1.3 การวางแผนและพฒั นา 2.1.4 การทดสอบและการประเมินผล 2.1.5 การนาํ เสนอผลลพั ธ 2.2 การปฏบิ ัตกิ าร การปลูกผกั แบบไรด ิน ใชภาชนะในการปลูกจากวัสดุที่หาไดงายใน ทองถน่ิ ตามการออกแบบเชิงวศิ วกรรม การปลกู ผักแบบไรด ิน ใชภ าชนะปลูกจากวสั ดทุ ีห่ าไดง า ยใน ทองถนิ่ คําช้ีแจง รายละเอียด ภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ ปลูกพืชไรด ินได ใหทา นออกแบบและสรางรางปลกู พืชไรดนิ จากกระบอกไมไผ โดยดําเนนิ การตามขั้นตอนท่ีกําหนดให ดงั นี้ 1. การวางแผนและสรา งรางปลูกพืชไรด ินจากกระบอกไมไผจากอปุ กรณทเ่ี ตรยี มให โดยการบูรณา การสะเต็มศกึ ษาและวสั ดทุ อ งถิ่น 2. ปลกู ผกั ไฮโดรโปนกิ สโ ดยการบูรณาการสะเต็มศกึ ษาและวัสดุในทอ งถ่นิ 4. บันทึกผลการทดลองปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกสโ ดยการบูรณาการสะเต็มศึกษาและวัสดุในทอ งถิ่น 5. สรุปปญ หา/อุปสรรค ในการปลูกพืชไรดนิ โดยการบรู ณาการสะเต็มศึกษาและวสั ดใุ นทองถิ่น

วัสดุและอุปกรณ ทเี่ ตรยี มใหสําหรบั การออกแบบและปฏิบตั กิ ารปลูกพชื ไรด ิน ที่ รายการ 1. รางปลูกพชื จากกระบอกไมไ ผ 2. ถวยปลูก 3. วัสดุปลูก 4. ปยุ A B 5. ปมน้ํา 6. เมล็ดผักสลัด 7. เครือ่ งวดั คา pH 8. เครอ่ื งวดั คา EC 9. ถาดเพาะ 10. ถว ยตวง 11. ถงั ผสมปุย 12. ไมบ รรทดั 13. ตลบั เมตร 14. สายวดั ตวั 15. กระดาษบรุฟ 16. ปากกาเคมี จุดประสงคในการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รา งแบบแผนการสรา งรางปลกู พืชไรดินจากกระบอกไมไผ 1. การระบปุ ญ หา 2. การคน หาแนวคิดที่เกีย่ วขอ ง 3. การวางแผนและพฒั นา

4. การทดสอบและการประเมนิ ผล ผลการปฏิบัติงานในวันท่ดี ําเนินการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตารางบันทกึ ผล การปลกู พชื ไรดิน โดยใชรางปลูกจากกระบอกไมไผ จาํ นวนวันทป่ี ลกู ความสูงของตน (วดั จากโคนตน ) ความกวา งของใบ (วดั จากสว นทชี่ ิดลาํ ตน ) เซนตเิ มตร เซนติเมตร 5 วนั 10 วัน 15 วนั 20 วัน 25 วนั 5. การนําเสนอผลลพั ธ จากการทดลองการปลกู พชื ไรด นิ ……………………………………………………………………………………………………..….. ในวนั ทดี่ ําเนนิ การทดลองพบวา …………………………………….……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เม่อื เวลาผานไป………วนั พบวาตน พืชมคี วามสูง...............เซนตเิ มตร ใบของตนพืชกวาง...............เซนตเิ มตร เนอ่ื งจาก………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

สรุปปญหา/อุปสรรค ในการปลูกพชื ไรด ิน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง ภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ ปลกู พืชไรดนิ ได คาํ ชีแ้ จง 1. แบบทดสอบจานวน 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ใหเ ลอื กคาํ ตอบทถ่ี ูกทีส่ ดุ เพยี งขอ เดียว ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. ขอ ใดไมใชปจจัยของการเจริญเติบโตของตนพืช ก. แสง ข. อากาศ ค. น้ํา ง. พืน้ ที่ 2. ปจจยั ในการดํารงชวี ติ ขอ ใดท่ีพืชขาดไมไ ด ก. ดนิ นาํ้ แสงแดด ข. ดิน นาํ้ อากาศ ค. ดิน แสงแดด อากาศ ง. น้าํ อากาศ แสงแดด 3. การปลกู พืชไรดนิ ควรวางรางปลูกตนพชื ไวในบรเิ วณที่มแี สงแดดสอ งถงึ เพอ่ื อะไร ก. ใหพชื ดดู ธาตุอาหารไดด ี ข. ใหพ ชื หายใจไดสะดวก ค. ใหพืชรูสกึ สดชนื่ ง. ใชพืชสรา งอาหารได 4. พชื จะไมม ีการเจริญเติบโตถาขาดสวนใด ก. ราก

ข. ลาํ ตน ค. กง่ิ ง. ดอก 5. แรธาตทุ ่ีสําคัญกบั อยา งยิง่ สาํ หรับพืช 3 ชนิด คือขอใด ก. ออกซเิ จน ฟอสฟอรัส ไฮโดรเจน ข. ออกซิเจน โพแทสเซียม ไนโตรเจน ค. ไฮโดรเจน ฟอสฟอรัส ไนโตรเจน ง. ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม 6. ขอใดเปนความหมายของการปลูกพชื ไรด ิน ก. การปลูกพืชแบบเกษตรทฤษฎีใหม ข. การปลกู พืชแบบเกษตรอนิ ทรยี  ค. การปลูกพืชแบบไมใ ชดิน ง. การปลูกพชื หมนุ เวยี น 7. ใดตอไปนี้เปน ขอ ดใี นการปลูกพชื ไรด นิ ก. ใหผ ลผลติ ที่สะอาด ถกู อนามยั ปลอดภยั จากสารพิษ ข. ใชแรงงานในการดแู ลนอ ย ค. เหมาะสําหรับปลูกในสถานที่ที่มีพน้ื ผิวดนิ สําหรบั ปลกู พชื นอย ง. ถกู ทุกขอ 8. ขอ ใดตอ ไปนี้เปนขอจํากดั ของการปลูกพชื ไรดิน ก. ตอ งมคี วามรูความเขาใจในการปลกู ข. ประหยัดคาใชจายในคร้งั แรก ค. ใหผลผลิตที่เรว็ กวาการปลูกพืชในดนิ ง. ไมมขี อใดถกู 9. เพราะเหตใุ ดพวกเราจึงตองเรียนรูเร่ือง การปลูกพชื ไรดิน ก. เพอ่ื นําไปปลกู ผกั กนิ เองทบี่ า น ข. เพื่อใหรถู งึ เทคโนโลยีทางเลอื กในการทําการเกษตร ค. เพ่ือนําความรทู ี่ไดไ ปสอบเรียนตอ ง. ถูกเฉพาะขอ ก และ ค

10. การปลูกพชื ไรด นิ โดยวิธกี าร Hydroponics คือ ก. การปลกู พืชในดิน ข. การปลูกพืชในอากาศ ค. การปลกู พืชในนาํ้ ทีม่ ีธาตุอาหาร ง. การปลกู พชื โดยใชว ัสดุอ่นื แทนดิน

Power point สรปุ ผลการเรียนรู เรื่อง ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ปลูกพชื ไรดนิ ได











แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเขา รวมกจิ กรรม