Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช โดย อาจารย์ ประดิษฐ์

ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช โดย อาจารย์ ประดิษฐ์

Published by toeymeepanya, 2021-03-23 04:14:03

Description: ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช โดย อาจารย์ ประดิษฐ์

Search

Read the Text Version

ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช (Psychiatric Emergency) โดย ประดิษฐ์ ชยั ชนะ โรงพยาบาลสวนปรงุ เชียงใหม่ 1

ภาวะฉุกเฉินทางจติ เวช ความหมาย เป็นภาวะท่มี คี วามผดิ ปกตอิ ยา่ งรุนแรงของอารมณ์ (mood) ความคดิ (thought) หรอื พฤตกิ รรม (Behavior) ซ่ึงจาเป็นตอ้ ง ไดร้ บั การดูแลรกั ษาโดยรบี ด่วน ปญั หาทางจติ เวชท่พี บมกั จะถกู กระตนุ้ ดว้ ย เหตกุ ารณ์ หรอื จากผูป้ ่วยไม่สามารถจดั การกบั ปญั หาได้ มีลกั ษณะต่างจาก ภาวะจติ เวชทวั่ ไปใน 3 ลกั ษณะไดแ้ ก่ 1.คาดเดาไม่ได้ (unpredictable) 2.ไม่ร่วมมือ (un co -operation) 3.มภี าวะอนั ตราย (being to threatening condition) 2

ภาวะฉุกเฉินทางจติ เวช  มี สองลกั ษณะได้แก่  1.การฆ่าตัวตาย (Suicide)  2.การมพี ฤติกรรมก้าวร้าว (Aggressive Behavior) 3

การจดั การภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช (management inpsychiatricemergencies) 1.การทราบถงึ พฤติกรรมหรือความคดิ ผดิ ปกติ (Recognition of abnormal behavior or thought) 2.การควบคุมผู้ป่ วยและสถานการณ์ (Stabilization of the patient & the situation) 3.การระมดั ระวงั ภาวะฉุกเฉินทางกาย (Alertness for medical emergencies) 4.การสัมภาษณ์ (Interview) 5.การตรวจร่างกาย (physical examination) 6.การทดสอบ (Testing) 7.การจดั การหรือการให้การปรึกษาในกรณที จี่ าเป็ น (disposition or consultation if needed) 8.การรับไว้รักษาในโรงพยาบาล หรือการให้กลบั (Admission or discharge) 4

การทราบถงึ พฤติกรรมหรือความคดิ ผดิ ปกติ (Recognitionofabnormal behavioror thought)  ทมี ผ้ดู ูแลต้องประเมนิ สภาพทว่ั ไปและพฤติกรรม (general appearance & behavior)  ประเมนิ อารมณ์แสดง (affect)  ประเมนิ การ (speech)  ประเมนิ เนื้อหาความคดิ (content of thought)  ประเมนิ การหมกมุ่น (preoccupation)  ประเมนิ การรู้สภาพแวดล้อม (disorientation) 5

การควบคุมผู้ป่ วยและสถานการณ์ (Stabilizationof thepatient& thesituation) ความเสย่ี งต่อการทารา้ ยตวั เองทนั ที (Dagadakis CS, 1993) 1.ประวตั พิ ยายามทารา้ ยตวั เอง 2.พดู ว่าตนเองคดิ ท่จี ะฆ่าตวั ตายและหรอื ตง้ั ใจจะทารา้ ยตนเอง 3.ประสาทหลอนสงั่ ใหท้ ารา้ ยตวั เอง 4.ไม่สามารถดูแลตนเองเพอ่ื สนองความตอ้ งการขน้ั พ้นื ฐาน และหรอื สบั สน 5.รูส้ กึ ส้นิ หวงั 6.การใช้ และหรอื การสูญเสยี ในการทาหนา้ ท่อี นั มาจากการใชส้ รุ า/สารเพตดิ 6

การควบคุมผู้ป่ วยและสถานการณ์ (Stabilizationof thepatient& thesituation) ความเส่ียงต่อการทาร้ายผู้อื่นทนั ที (Dagadakis CS, 1993) 1.ประวตั มิ พี ฤตกิ รรมรุนแรงต่อผู้อื่นในระยะเวลาไม่นานมานี้ 2.คุกคามข่มขู่ผู้อื่นในระยะเวลาไม่นานมานี้ 3.แสดงออกความโกรธอย่างรุนแรงเช่น เสียงดงั กาหมดั คาพดู และสีหน้าเตม็ ไปด้วยความโกรธแค้น 4.มีร่องรอยของการทะเลาะววิ าท เช่นแผลทห่ี น้า รอยฟกช้า 5.มปี ระวตั พิ ฤตกิ รรมรุนแรงในอดตี 6.เส่ือมเสียหน้าทจ่ี ากการใช้สุรา/สารเสพตดิ 7.การสับสน 8.บุคลกิ ภาพต่อต้าน (Antisocial personality disorder) 9.อาการโรคจิตโดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั การหวาดระแวง 7

การระมัดระวงั ภาวะฉุกเฉินทางกาย (Alertness for medical emergencies)  โรคทางกายบางอย่างทาให้เกดิ อาการทางจติ ได้ ได้แก่  Hyperglycemia  Meningitis  Hypertensive encephalopathy  Drug overdose 8

การสัมภาษณ์ (Interview)  ในกรณี ผป.ให้ความร่วมมือดแี ละมีเวลามากพอกส็ ามารถทา ได้เหมือนการตรวจทางจิตเวชทว่ั ไป แต่ส่วนมากมกั ต้องให้ การดูแลภายใต้ข้อมูลทจ่ี ากดั หลงั การสัมภาษณ์แล้วควรจะ สรุปถงึ ระดบั ความเป็ นอนั ตรายของ ผป.ได้ หลกั ในการ สัมภาษณ์ ใช้ Mental status examination 9

การตรวจร่ างกาย (physical examination)  เป็ นหน้าทขี่ องแพทย์ในการตรวจร่างกาย  Vital signs  Neurological examination  ประวตั ิโรคทางกาย 10

การทดสอบ (Testing)  การตรวจข้นั พืน้ ฐานทางห้องปฏิบัติการ CBC Electrolyte, Blood glucose, BUN, Cr, LFT  CT scan , Skull x-Ray  แบบประเมนิ ทางจติ เวช ภาวะ suicide / Aggressive 11

การจัดการหรือการให้การปรึกษาในกรณที ี่จาเป็ น(dispositionor consultationif needed)  การจดั การ การเจรจาต่อรอง และการให้การปรึกษา ทาได้ขนึ้ อยู่กบั สถานการณ์น้ันๆ หรืออาจส่งต่อ  การผูกมดั (Restraint)  การให้ยาสงบประสาท (Chemical restraint)  การใช้ห้องแยก (Seclusion) 12

การรับไว้รักษาในโรงพยาบาล หรือการให้กลบั (Admissionor discharge)  การรับไว้รักษาในโรงพยาบาล การส่งต่อ หรือการให้ กลบั ขนึ้ อยู่กบั แพทย์ผู้ทาการรักษา 13

ภาวะฉุกเฉินทางจติ เวช  สรุปมี สองลกั ษณะได้แก่  1.การฆ่าตัวตาย (Suicide)  2.การมีพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggressive Behavior) 14

การมีพฤตกิ รรมก้าวร้าว(AggressiveBehavior)  ความหมาย เป็ นการแสดงออกทางด้านความคดิ คาพูดและการกระทาทร่ี ุนแรงขาดความยบั ย้งั ชั่งใจ ไม่เป็ นมติ ร คุกคามและรุกรานผู้อ่ืน เพื่อระบายความ โกรธ ความคบั ข้องใจ หรือปกปิ ดความกลวั ทาให้ เสี่ยงต่อการเกดิ อนั ตรายต่อตนเอง บุคคลอื่น และ ส่ิงแวดล้อมรอบตวั 15

ระดบั การมีพฤตกิ รรมก้าวร้าว(AggressiveBehavior)  1. ระดบั น้อย (MILD ANGER) สีหน้าบงึ้ ตงึ โกรธ แววตาไม่เป็ นมติ ร แสดงท่าทางไม่พอใจ พดู โต้ตอบด้วยนาเสียงห้วน ขนึ้ เสียง  2. ระดบั ปานกลาง (MODERATE AGGRESSIVE) ส่งเสียงดงั กระแทก หรือกระทาด้วยความรุนแรง เอะอะ วางอานาจ ขู่ตะคอก  3. ระดบั รุนแรง (SEVERE VIOLENCE) ขาดสติ ขาดความยบั ย้งั ชั่งใจ ชกต่อย ทุบตที าร้ายผู้อ่ืน ทาลายข้าวของ 16

การมีพฤตกิ รรมก้าวร้าว (AggressiveBehavior)  ส่ิงสาคญั ในการประเมนิ ผู้ป่ วยทมี่ ีพฤติกรรมก้าวร้าว คือความ ปลอดภัยของผู้รักษา และบุคลากรทมี การดูแล ถ้ามอี าวุธควรปลด อาวุธก่อน ห้องตรวจต้องไม่มีวสั ดุอุปกรณ์ทจ่ี ะใช้เป็ นอาวุธ กรณมี ี ความจาเป็ นต้องควบคุมต้องใช้ทมี ช่วยในการผกู มัด และจะยกเลกิ ต่อเม่ือแน่ใจว่าผู้ป่ วยสามารถควบคุมตัวเองได้แล้ว 17

การจัดการดูแลผู้ป่ วยทมี่ ีพฤตกิ รรมก้าวร้าว  1.การผูกมดั (Physical restraint)  2.การใช้ห้องแยก (Seclusion)  3.การใช้ยาควบคุมผู้ป่ วย (Chemical restraint)  4.การแก้ปัญหา (Problem solving) เช่นการแทรกแซง วกิ ฤตการณ์ (crisis intervention)  5.การรับรักษาในโรงพยาบาล (Admission)  6. การส่งต่อโรงพยาบาลระดบั ตตยิ ภูมิ (refer) 18

การให้ผู้ป่ วยอยู่ห้องแยกและการผูกมัด (Seclusion& Physicalrestraint)  1.เพื่อป้องกนั การทาร้ายตนเองหรือผู้อื่น (หลงั ใช้วธิ ีอ่ืนไม่ได้ผล)  2.เพ่ือป้องกนั ผู้ป่ วยรบกวนแผนการรักษา หรือไปทาลาย สิ่งของ  3.อาจใช้เป็ นส่วนหนึ่งของพฤตกิ รรมบาบัด 19

ข้ันตอนการผูกมดั (Lion& Soloff,1984)  1.หนึ่งในทมี ผู้รักษาจะเป็ นหัวหน้าทมี คอยสั่งการในการผูกมดั  2.เตรียมบุคลากรในทมี ทจี่ ะผูกมดั อย่างน้อย 4 คน  3.จัดเตรียมพืน้ ทแี่ ละสภาพแวดล้อมในการผูกมดั ให้พร้อม  4.ขออนุญาตจากญาตผิ ู้ป่ วยก่อน แล้วบอกถงึ วตั ถุประสงค์และเหตุผลใน การผูกมัดต่อญาติ  5.นัดแนะทมี ในการเข้าจบั /ควบคุมตวั ผู้ป่ วย  6. บอกถงึ วตั ถุประสงค์และเหตุผลในการผูกมัดต่อผู้ป่ วย  7.ผูกมดั ผู้ป่ วยด้วยอุปกรณ์ โดยอาจใช้ยาร่วมด้วย 20

21

22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook