Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา ศศ.ม. 2565

คู่มือนักศึกษา ศศ.ม. 2565

Published by si_pathongko, 2022-06-30 03:44:37

Description: คู่มือนักศึกษา ศศ.ม. 2565

Search

Read the Text Version

มหาวิทยาลัยมหิดล 2565 วิทยาลัยราชสุดา คู่มือนักศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

คำนำ คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ประจาปีการศึกษา 2565 ฉบับน้ี งานบริการการศึกษาได้ จัดทาข้ึน เพ่ือเป็นข้อมูลให้นักศึกษาได้ทราบ เข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ของวิทยาลยั ราชสดุ า รายละเอยี ดของหลกั สูตร คณาจารยป์ ระจาวิทยาลัยราชสุดา อาจารย์ ประจาหลกั สูตร รวมท้งั ไดท้ ราบขนั้ ตอนการใช้ระบบลงทะเบียนเรียนและระเบียบข้อบังคับ ต่างๆ ของมหาวิทยาลัยมหดิ ล ดังนั้น ขอให้นักศึกษาทุกคนศึกษารายละเอียดในคู่มือฉบับนี้ให้เข้าใจและปฏิบัติให้ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของหลักสูตรและมหาวิทยาลัย เพ่ือให้ประสบความสาเร็จ ตามที่ม่งุ หวัง งานบริการการศึกษา วทิ ยาลยั ราชสุดา ปกี ารศกึ ษา 2565 

สำรบัญ เร่อื ง หน้ำ ประวัตคิ วามเป็นมาโดยสรปุ ของวิทยาลยั ราชสดุ า 1 ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ ค่านยิ มและเป้าประสงคห์ ลักของวทิ ยาลยั ราชสดุ า 4 ผบู้ ริหารวทิ ยาลยั ราชสดุ า มหาวิทยาลยั มหิดล 6 อาจารยป์ ระจาภาควชิ าฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 8 อาจารย์ประจาภาควชิ าหูหนวกศกึ ษา 11 อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 15 รายละเอยี ดของหลักสตู ร 18 ภำคผนวก 40 1. ประมาณการคา่ ใช้จา่ ยตลอดหลักสตู ร 2. ข้นั ตอนการทาวิทยานิพนธ/์ สารนิพนธ์ และการสอบวทิ ยานิพนธ/์ สารนิพนธ์ 3. ระเบยี บการใชห้ อ้ งสมดุ ของสานกั หอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 4. ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั มหดิ ล ว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2563 5. ประกาศมหาวทิ ยาลัยมหิดล เรื่อง อตั ราค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรบั นักศึกษา ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา วิทยาลยั ราชสุดา มหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ. 2565 6. ประกาศ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล เรอื่ ง มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษของนกั ศกึ ษา หลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑติ หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรขั้นสงู ที่เข้าศกึ ษาตงั้ แต่ปีการศกึ ษา 2563 เป็นตน้ ไป พ.ศ.2562

ประวตั คิ วามเปน็ มาโดยสรปุ ของวทิ ยาลัยราชสดุ า สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชดาริให้จัดต้ังสถาบันการศึกษาท่ีให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาสมรรถภาพความพร้อม ทางการศึกษา และจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2532 โดยโปรดเกล้าฯ ให้อดีต อธิการบดี ดร.ณัฐ ภมรประวัติ และศาสตราจารย์เกียรติคุณพูนพิศ อมาตยกุล เข้าเฝูารับพระราชทาน พระราชดารทิ ีเ่ ชยี งใหม่ เม่อื วันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2534 พระราชทานสร้อยพระนาม “ราชสุดา” ให้เป็นนาม ของมลู นิธิและวิทยาลัย เมื่อวันท่ี 28 พฤษภาคม 2534 และได้ถือวา่ วนั นเี้ ปน็ วันก่อกาเนดิ วิทยาลยั ราชสดุ า พ.ศ. 2534 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังมูลนิธิราชสุดา และทรงเป็นองค์ประธานมูลนิธิ โดยมีนายเกษม สุวรรณกุล เป็นรองประธาน อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และศาสตราจารย์ เกียรติคุณพูนพิศ อมาตยกุล เป็นกรรมการและเลขานุการมูลนิธิ มหาวิทยาลัยมหิดลมอบเงิน 2 แสนบาท เปน็ เงินเปดิ บญั ชปี ฐมฤกษ์ พ.ศ. 2535 เป็นโครงการจัดต้ังศูนย์พัฒนาและวิจัยผู้พิการทางกายภาพ สังกัดสานักงาน อธิการบดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2536 เป็นวิทยาลัยราชสุดา (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันท่ี 25 มีนาคม 2536) สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดาเนินทรง วางศิลาฤกษ์อาคารอานวยการ เมื่อวันท่ี 6 เมษายน 2536 เร่ิมโครงการก่อสร้างอาคารวิทยาลัยราชสุดา ระยะที่ 1 พ.ศ. 2537 บัณฑิตวิทยาลัย ให้ใช้สถานที่บริเวณ ชั้น 3 อาคารคณะสังคมศาสตร์และ มนษุ ยศาสตร์ เป็นสานักงานชว่ั คราว พ.ศ. 2538 สมเด็จฯ องค์ประธานมูลนิธิราชสุดา โปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิฯ ซ้ืออาคารพาณิชย์ 5 คหู าและตบแต่งเรยี บรอ้ ย พระราชทานให้เปน็ สานกั งานมลู นธิ ิฯ วิทยาลยั ราชสุดาย้ายสานกั งานช่ัวคราวมา อย่ทู ม่ี ูลนิธิราชสดุ าถงึ พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2539 การก่อสร้างอาคารอานวยการวิทยาลัยราชสุดา แล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม 2539 โครงการระยะท่ี 2 สร้างหอพักนักศึกษาชาย หญิง และหอพักเจ้าหน้าที่รวม 3 หลัง กาหนดแล้วเสร็จ เดอื นกรกฎาคม 2542 เรมิ่ งานบรกิ ารวิชาการ และหลักสูตรระยะสนั้ พ.ศ. 2540 หลักสูตร “ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคน พิการ” เริม่ เปดิ สอนเดอื นมิถุนายน 2540 โดยเปดิ สอนเฉพาะแขนงวิชาการให้บริการปรึกษาและแนะแนวใน งานบรกิ ารฟ้นื ฟูสมรรถภาพคนพกิ าร เตรยี มการสรา้ งหลักสูตรปริญญาตรีและตา่ กว่าปริญญาตรสี าหรับ คนหหู นวก พ.ศ. 2541 เปดิ สอนหลักสตู ร“ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชางานบริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ คนพิการ” เพ่ิมอีก 1 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ โดยย้าย

-2- มาจัดการเรยี นการสอนท่ีอาคารอานวยการวิทยาลัยราชสุดาแห่งใหม่ เม่ือวันท่ี 13 มีนาคม 2541 และในปี น้หี ลักสตู ร “ประกาศนียบัตรสาขาวิชาการสอนภาษามือไทย” เร่ิมเปิดการเรียนการสอน สมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินมายังวิทยาลัยราชสุดา และทรงเปน็ องค์ประธานเปดิ หลักสตู รดงั กล่าว เมอื่ วนั ท่ี 12 มิถุนายน 2541 พ.ศ. 2543 เปิดสอนหลักสูตร “ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา และหลักสูตร ประกาศนียบัตรสาขาวิชาลา่ ม (ภาษามือไทย)” พ.ศ. 2544 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดอาคารวิทยาลัยราชสุดา เม่อื วันท่ี 24 ธนั วาคม 2544 พ.ศ. 2545 ปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ โดยเปล่ียนช่ือแขนงวิชาการให้บริการปรึกษาและแนะแนวในงานบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ เป็น “แขนงวิชาการใหค้ าปรกึ ษาในงานบรกิ ารฟื้นฟสู มรรถภาพคนพิการ” พ.ศ. 2546 ปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ คนพิการ แขนงวิชาเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ และเพิ่มแขนงวิชาใหม่อีก 1 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาบริการสนับสนุนทางวิชาการสาหรับคนตาบอดหรือสายตาเลือนราง และได้มีการปรับปรุง หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าหูหนวกศึกษาด้วย พ.ศ. 2547 เปิดสอนหลักสูตร “ประกาศนียบัตรบัณฑิตล่าม สาขาวิชาภาษามือไทย” โดย เป็นหลักสูตรความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยราชสุดา กับสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2552 ปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ คนพิการ โดยเปล่ียนชื่อสาขาวิชาใหม่ เป็น “สาขาวิชาวิทยาการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (ภาคปกติและ ภาคพิเศษ)” โดยเร่ิมใช้กบั นักศกึ ษารุ่นปกี ารศึกษา 2552 เป็นต้นไป พ.ศ. 2552 ปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา (4 ปี) เป็น “หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาล่ามภาษามือไทย” และเป็นหลักสูตรแรกของวิทยาลัยราชสุดาที่ ดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2552 โดยเร่ิมใช้กับนักศึกษารุ่นปีการศึกษา 2553 เป็น ต้นไป พ.ศ. 2553 เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ คนพกิ าร (ภาคพิเศษ) พ.ศ. 2555 ปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ คนพิการ (ภาคพิเศษ) ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และเปล่ียนช่ือเรียก “แขนง วิชา” เป็น “วชิ าเอก” โดยเริม่ ใช้กับนักศึกษารุน่ ปี พ.ศ. 2555 เป็นตน้ ไป พ.ศ. 2557 เปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาใหม่จานวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรศึกษา ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการศกึ ษาสาหรับบคุ คลทม่ี คี วามต้องการพเิ ศษ (หลกั สูตรภาคพเิ ศษ) พ.ศ. 2557 ปรับปรุงหลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าหหู นวกศกึ ษา (หลักสตู ร 5 ปี) ให้ เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2552

-3- พ.ศ. 2558 เปดิ หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศึกษาใหม่จานวน 1 หลกั สูตร คือ หลักสูตรปรัชญา ดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ (ภาคพิเศษ) พ.ศ. 2560 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบของหลักสูตร โดยดาเนินการตามแนวทาง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ของมหาวิทยาลัยมหิดล คือ Excellence in outcome – based education for globally – competent graduates และให้มีความสอดคล้องกับเกณฑ์พัฒนาคุณภาพหลักสูตร AUN-QA (ASEAN University Network Quality Assurance) พ.ศ. 2561 หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการศึกษาสาหรับบคุ คลทมี่ ีความ ต้องการพเิ ศษ (ภาคพเิ ศษ) ดาเนินการปรับปรงุ หลักสูตรตามวงรอบของหลักสตู ร โดยดาเนินการตามแนวทาง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ของมหาวิทยาลัยมหิดล คอื Excellence in outcome – based education for globally – competent graduates และใหม้ คี วามสอดคล้องกับเกณฑ์พัฒนาคุณภาพหลักสูตร AUN-QA (ASEAN University Network Quality Assurance) พ.ศ. 2562 ปรบั ปรงุ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา (5 ปี) ตามวงรอบ โดยปรับปรุงให้มี 2 วิชาเอก ได้แก่ วิชาเอกการออกแบบเชิงพาณิชย์ และวิชาเอกล่ามภาษามือไทย และมี ระยะเวลาศกึ ษาตลอดหลักสูตร 4 ปี เร่มิ ใชก้ บั นกั ศึกษารนุ่ ปีการศกึ ษา 2562 เปน็ ตน้ ไป พ.ศ. 2562 ปรบั ปรุงหลักสูตรปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ (ภาคพิเศษ) ตามวงรอบ โดยมีการปรับจานวนหน่วยกิตและเนื้อหารายวิชาให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น เริ่มใช้กับ นักศกึ ษารนุ่ ปีการศกึ ษา 2562 เป็นต้นไป พ.ศ. 2562 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ได้รับการตรวจประเมิน AUN-QA และมีผลผ่านการประเมินดังกล่าวเป็นหลักสูตร แรกของวิทยาลัย พ.ศ. 2563 เปดิ หลกั สูตรใหม่ระดับปริญญาตรี 1 หลักสตู ร คอื หลกั สตู รศึกษาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาของคนหหู นวก ซึ่งเป็นหลกั สตู รวชิ าชพี ครู โดยจะเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2564 พ.ศ. 2565 ปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ คนพิการ โดยเปลี่ยนช่ือสาขาวชิ าใหม่ เป็น “สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ภาคปกติและภาค พิเศษ)” โดยเริม่ ใช้กบั นกั ศึกษารุน่ ปีการศึกษา 2565 เป็นต้นไป 

-4- ปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ คา่ นิยม และเปา้ ประสงค์หลักของวิทยาลยั ราชสดุ า ปรัชญา การพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพกิ ารคืองานของเรา วสิ ัยทัศน์ วทิ ยาลัยราชสุดาเป็นสถาบันชน้ั นาดา้ นการศึกษา การวจิ ัย การบริการวิชาการ และศนู ย์กลาง เครอื ข่าย เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการในประชาคมอาเซียน พนั ธกจิ 1. ผลิตผลงานวิจยั และนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ตอ่ งานดา้ นคนพิการและสงั คม 2. ผลติ บณั ฑิตที่มีคุณภาพมาตรฐาน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ เป็นที่ ยอมรับในสังคม 3. ใหบ้ ริการวิชาการเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพกิ ารที่ได้มาตรฐานตอบสนองความต้องการของสังคม 4. บรหิ ารจัดการโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลเป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้และรับผิดชอบต่อสังคม บุคลากร มคี ุณภาพมีความสุข และทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม อนรุ ักษพ์ ลังงานและส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือความยั่งยนื ค่านิยม (RSMU) R : มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตอ่ คนพิการ (Responsibility) S : มใี จบรกิ าร (Service mind) M : เป็นต้นแบบในการคิดสร้างทางเลือกและส่งิ ใหม่ (Mastery) U : มีเอกภาพและการมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกองค์กร (Unity)

-5- เป้ าประสงค์หลกั 1. สร้างองค์ความรู้ เพ่ือพฒั นานวตั กรรมจากงานวจิ ัย ให้เปน็ ทย่ี อมรบั ในระดับสากลและเป็น ประโยชน์ตอ่ งานด้านคนพิการและสังคม 2. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ใฝุรู้ มสี มรรถนะในการประกอบอาชีพ และเป็นทย่ี อมรับของสงั คม 3. ใหบ้ ริการวชิ าการท่มี มี าตรฐาน ตอบสนองความตอ้ งการของสงั คม และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คน พกิ าร ตลอดจนสามารถเปน็ แบบอย่างไร 4. บรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ บคุ ลากรมคี ุณภาพและมคี วามสขุ 5. ทานบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรม อนรุ ักษ์พลงั งานและส่งิ แวดล้อม เพื่อความย่ังยนื 

 ม เพื่อความ -6- ยงั่ ยืน ผูบ้ รหิ ารวทิ ยาลยั ราชสดุ า มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ศ.เกยี รตคิ ณุ นพ.พูนพิศ อมาตยกลุ ดารงตาแหนง่ : 26 กันยายน 2536 - 25 กันยายน 2540 รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลอง บุญญานนั ต์ ดารงตาแหน่ง : 26 กันยายน 2540 - 30 กันยายน 2541 ดร. จิตประภา ศรีออ่ น ดารงตาแหนง่ : 1 ตุลาคม 2541 - 30 กันยายน 2549 รศ.ดร.สมุ าลี ดีจงกจิ ดารงตาแหน่ง : 1 ตลุ าคม 2549 - 15 ธันวาคม 2550 ผศ.ดร. พมิ พา ขจรธรรม ดารงตาแหนง่ : 24 เมษายน 2551 - 23 เมษายน 2555

-7- รศ.ดร. ทวี เช้อื สุวรรณทวี ดารงตาแหน่ง : 17 พฤษภาคม 2555 - 16 พฤษภาคม 2559 ผศ.ดร. พิมพา ขจรธรรม ดารงตาแหนง่ : 17 พฤษภาคม 2559 - 30 กนั ยายน 2560 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เออ้ื มพร มัชฌิมวงศ์ รักษาการแทนรองอธิการบดฝี ุายการคลงั รักษาการแทนคณบดวี ิทยาลัยราชสุดา มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ดารงตาแหนง่ : 1 ตุลาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561 รองศาสตราจารย์ ดร. นภเรณู สัจจรักษ์ ธรี ะฐติ ิ รกั ษาการแทนรองอธิการบดฝี ุายวเิ ทศสมั พนั ธแ์ ละสือ่ สารองค์กร รักษาการแทนคณบดวี ิทยาลัยราชสดุ า มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ดารงตาแหนง่ : 1 เมษายน 2561 - 31 พฤษภาคม 2561 แพทย์หญิงวัชรา ริ้วไพบูลย์ ดารงตาแหน่ง : 1 มิถนุ ายน 2561 – 31 พฤษภาคม 2565 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ เรอื อากาศโท ทนั ตแพทยช์ ัชชยั คุณาวิศรตุ รองอธกิ ารบดีฝุายกจิ การนกั ศึกษาและศิษย์เกา่ สมั พันธ์ รกั ษาการแทนคณบดวี ทิ ยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลยั มหิดล ดารงตาแหน่ง : 1 มิถุนายน 2565 – ปัจจบุ นั

-8- อาจารยป์ ระจาภาควิชาฟื้นฟสู มรรถภาพคนพกิ าร อาจารย์ ดร.ปารณยี ์ วิสุทธพิ ันธ์ุ หวั หน้าภาควิชาฟื้นฟู ปร.ด. (ประชากรศึกษา) สมรรถภาพคนพกิ าร ศษ.ม. (เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) ปบ. การสาธารณสขุ ชมุ ชน(พยาบาลและผดุงครรภ์) โทร. 02-8895315-9 # 1239 ศษ.บ. (สุขศกึ ษา) E-mail: [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร.ทวี เชื้อสุวรรณทวี โทร. 02-8895315-9 # 1302 สส.ด. (การบรหิ ารสงั คม) วท.ม. (สุขภาพจิต) วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ)์ E-mail: [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐนยี า โตรกั ษา โทร. 02-441-5272-4 Ph.D. (Management) โทร. 02-8895315-9 # 1301 M.I.B. (International Business) ศ.บ. (เศรษฐศาสตรบัณฑติ ) E-mail: [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร.อาดัม นีละไพจติ ร กศ.ด. (จติ วทิ ยาการใหค้ าปรึกษา) วท.ม. (จิตวทิ ยาการใหค้ าปรึกษา) กศ.บ. (การประถมศกึ ษา) E-mail: [email protected]

-9- โทร. 02-8895315-9 # 1241 อาจารย์ ดร.วรี ะแมน นยิ มพล ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยศี ึกษา) M.Ed. (Computer Access Technology) B.S. (Computer Science) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.สจุ ติ รา เขียวศรี โทร.02-8895315-9 # 1213 ค.ด. (เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา) ค.ม. (โสตทัศนศกึ ษา) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.ธรรม จตุนาม โทร. 02-8895315-9 # 1210 ปร.ด. (ประชากรศกึ ษา) โทร. 02-8895315-9 # 1240 ศศ.ม. (งานบรกิ ารฟื้นฟสู มรรถภาพคนพิการ) โทร. 02-8895315-9 # 1243 ค.บ. (ภาษาองั กฤษ) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.อิศวรา ศิริรงุ่ เรอื ง Ph.D. (Education) M.A. (Special Educational Needs) ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษธรุ กิจ) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.วรางคณา รชั ตะวรรณ กศ.ด. (จิตวทิ ยาการให้คาปรึกษา) ศษ.ม. (การแนะแนวและใหค้ าปรกึ ษา) ศษ.บ. (การประถมศกึ ษา) E-mail: [email protected]

- 10 - โทร. 02-8895315-9 # 1303 โทร. 02-8895315-9 อาจารย์ ดร.ปรญิ ญา สริ อิ ตั ตะกุล โทร. 02-8895315-9 # 1238 ศศ.ด. (จิตวทิ ยา) วท.ม (เทคโนโลยวี ิจัยการศึกษา) ศศ.บ. (จติ วทิ ยา) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.นรา ขาคม ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) ร.ส.ม.(พฒั นาแรงงานและสวัสดิการ) ศศ.บ. (ภาษาเยอรมัน) E-mail: [email protected] อาจารยอ์ รอนงค์ สงเจริญ วท.ม. (จิตวทิ ยาคลินกิ ) วท.บ. (จิตวิทยา) E-mail: [email protected] อาจารยอ์ ภิชาติ ธรรมมุลตรี โทร. 02-8895315-9 # 1212 ศษ.ม. (หลักสตู รและการนิเทศ) ผู้ชว่ ยอาจารย์ ศษ.บ. (บรหิ ารการศึกษา) โทร. 02-8895315-9 # 1242 อ.บ. (ภาษาองั กฤษ) E-mail: [email protected] อาจารยส์ ุภชาญ ตรยั ตรึงศ์สกุล วศ.บ. (ไฟฟูา-อิเลค็ ทรอนิกส์) วศ.ม. (ไฟฟูา) E-mail: [email protected]

- 11 - อาจารยป์ ระจาภาควิชาหหู นวกศกึ ษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะรตั น์ นุชผอ่ งใส หวั หนา้ ภาควิชาหูหนวก Ph.D. in Medical Science (Neuropsychiatry) ศกึ ษา กศ.ม. (จติ วิทยาการแนะแนวและให้คาปรกึ ษา) โทร. 02-8895315-9 # 2220 ศษ.บ. (การประถมศึกษา) โทร. 02-8895315-9 # 2221 E-mail: [email protected] โทร. 02-8895315-9 # 2219 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธา เหลอื ลมยั โทร. 02-8895315-9 # 2222 ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศกึ ษา) วท.ม. (เทคโนโลยกี ารจดั การระบบสารสนเทศ) โทร. 02-8895315-9 # 2214 วท.บ. (เคม)ี E-mail: [email protected] ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อารี ภาวสุทธไิ พศิฐ ศษ.ด. (การศกึ ษาตลอดชีวิตและการพฒั นามนษุ ย์) นศ.ม. (ประชาสมั พันธ)์ ศศ.บ. (ศิลปะ) E-mail: [email protected] ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธรี ศกั ด์ิ ศรสี ุรกลุ ค.ด. (การศึกษานอกระบบโรงเรียน) ค.ม. (การศึกษานอกระบบโรงเรียน) วท.บ. (คณิตศาสตรป์ ระยุกต์) E-mail: [email protected] ผู้ชว่ ยศาสตรจารย์ ดร.เจนจิรา เจนจิตรวาณิช ปร.ด. (จิตวทิ ยาอตุ สาหกรรมและองค์การ) วท.ม. (จติ วทิ ยาชมุ ชน) ศศ.บ (จิตวทิ ยาและการแนะแนว) E-mail: [email protected]

- 12 - โทร. 02-8895315-9 # 2232 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์รานี เสง่ยี ม ศ.ม. (เครอ่ื งเคลอื บดินเผา) ศ.บ. (เครอ่ื งเคลือบดินเผา) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.สพุ ิน นายอง โทร. 02-8895315-9 # 2209 ค.ด. (อดุ มศึกษา) กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ) บธ.บ. (การจัดการงานกอ่ สรา้ ง) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.ปรเมศวร์ บุญยืน โทร. 02-8895315-9 # 2206 ค.ด. (เทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา) ค.ม. (โสตทัศนศกึ ษา) ค.บ. (มัธยมศึกษา) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.ปกรณ์กิตต์ ม่วงประสิทธ์ิ โทร. 02-8895315-9 # 2226 ปร.ด.(ผนู้ าทางการศึกษาและการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย)์ ค.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ค.บ. (อตุ สาหกรรมศลิ ป์) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร. สุนนั ทา ขลิบทอง โทร. 02-8895315-9 # 2229 Ph.D. (Early childhood inclusive education) Master of Education (Early childhood education) ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.อภญิ ญา ธาตสุ วุ รรณ์ โทร. 02-8895315-9 # 2207 ปร.ด. (วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีศกึ ษา) วท.บ. (วทิ ยาการคอมพวิ เตอร)์ E-mail: [email protected]

- 13 - อาจารย์พฤหัส ศภุ จรรยา M.SL. (Linguistics) E-mail: [email protected] อาจารยร์ าษฎร์ บุญญา M.SL. (Linguistics) E-mail: [email protected] อาจารยน์ ัทที ยูนิพันธ์ โทร. 02-8895315-9 # 2234 ศ.ม. (เครื่องเคลอื บดนิ เผา) ศ.บ. (เครอื่ งเคลือบดนิ เผา) E-mail: [email protected]

ผู้ชว่ ยอาจารย์ - 14 - อาจารย์ณฐั วิชญ์ ศุภสนิ ธุ์ โทร. 02-8895315-9 ศศ.ม. (ภาษาศาสตร)์ น.บ. (นติ ิศาสตร์) E-mail: [email protected] อาจารยก์ ลุ ยา ไทรงาม โทร. 02-8895315-9 # 2218 ศศ.ม. (ภาษาและวฒั นธรรมเพื่อการสอื่ สารและการ โทร. 02-8895315-9 # 2215 พัฒนา) อ.บ. (ภาษาไทย) E-mail: [email protected] อาจารยส์ ิรินทรา ฤทธเิ ดช กศ.ม. (ภาษาศาสตร์) ศศ.บ. (ภาษาไทย) E-mail: [email protected] อาจารย์พชร นลิ มณี โทร. 02-8895315-9 # 2233 ศล.ม. (การออกแบบผลติ ภัณฑ)์ สถ.บ. (เทคโนโลยสี ถาปตั ย์) E-mail: [email protected]

- 15 - อาจารย์ประจาหลกั สตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร (ภาคปกติและภาคพเิ ศษ) รองศาสตราจารย์ ดร.อาดัม นีละไพจติ ร รกั ษาการแทนประธานหลักสูตร กศ.ด. (จิตวทิ ยาการใหค้ าปรกึ ษา) โทร. 02-8895315-9 # 1301 วท.ม. (จิตวทิ ยาการใหค้ าปรกึ ษา) กศ.บ. (การประถมศึกษา) E-mail: [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐนียา โตรักษา โทร. 02-441-5272-4 Ph.D. (Management) M.I.B. (International Business) ศ.บ. (เศรษฐศาสตรบณั ฑติ ) E-mail: [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร.ทวี เชอื้ สวุ รรณทวี โทร. 02-8895315-9 # 1302 สส.ด. (การบรหิ ารสงั คม) วท.ม. (สขุ ภาพจติ ) วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ)์ E-mail: [email protected] ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กภ.วรินทร์ กฤตยาเกยี รณ โทร. 02-8895315-9 # ปร.ด. (ประสาทวทิ ยาศาสตร์) 1203/1305 วท.ม. (กายภาพบาบดั ) วท.บ. (กายภาพบาบัด) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.ปริญญา สริ อิ ตั ตะกุล โทร. 02-8895315-9 # 1303 ศศ.ด. (จิตวทิ ยา) วท.ม (เทคโนโลยีวิจยั การศึกษา) ศศ.บ. (จิตวิทยา) E-mail: [email protected] [email protected]

- 16 - โทร. 02-8895315-9 # 1239 โทร. 02-8895315-9 # 1243 อาจารย์ ดร.ปารณยี ์ วิสุทธิพันธ์ุ ปร.ด. (ประชากรศึกษา) ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศกึ ษา) ปบ. การสาธารณสุขชมุ ชน(พยาบาลและผดุงครรภ)์ ศษ.บ. (สขุ ศกึ ษา) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.วรางคณา รชั ตะวรรณ กศ.ด. (จิตวทิ ยาการใหค้ าปรึกษา) ศษ.ม. (การแนะแนวและให้คาปรกึ ษา) ศษ.บ. (การประถมศึกษา) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.วีระแมน นิยมพล โทร. 02-8895315-9 # 1241 ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยศี ึกษา) M.Ed. (Computer Access Technology) B.S. (Computer Science) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.สุจติ รา เขยี วศรี โทร.02-8895315-9 # 1213 ค.ด. (เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา) ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) E-mail: [email protected] อาจารย์ ดร.อิศวรา ศริ ิรงุ่ เรือง โทร. 02-8895315-9 # 1240 Ph.D. (Education) M.A. (Special Educational Needs) ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษธรุ กจิ ) E-mail: [email protected]

อาจารยป์ ระจา - 17 - อาจารยอ์ ภชิ าติ ธรรมมลุ ตรี โทร. 02-8895315-9 # 1212 ศศ.ม. (หลักสตู รและการนเิ ทศ) โทร. 02-8895315-9 # 1238 ศศ.บ. (บริหารการศึกษา) อ.บ. (ภาษาองั กฤษ) E-mail: [email protected] อาจารย์อรอนงค์ สงเจริญ วท.ม. (จิตวทิ ยาคลนิ ิก) วท.บ. (จติ วิทยา) E-mail: [email protected]

- 18 - หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (หลักสตู รภาคปกตแิ ละภาคพเิ ศษ) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๕ ชือ่ สถาบนั อุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหิดล วิทยาเขต/คณะ/ภาควชิ า วทิ ยาลยั ราชสดุ า ภาควิชาฟ้ืนฟสู มรรถภาพคนพิการ ขอ้ มูลท่ัวไป ๑. ชอ่ื หลักสตู ร ภาษาไทย : หลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Quality of Life Development for Persons with Disabilities ๒. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเตม็ : ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (การพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ) ชื่อย่อ : ศศ.ม. (การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ) ภาษาองั กฤษ ชือ่ เตม็ : Master of Arts (Quality of Life Development for Persons with Disabilities) ชื่อยอ่ : M.A. (Quality of Life Development for Persons with Disabilities) ๓. วชิ าเอก : ไมม่ ี ๔. จานวนหน่วยกิตทเ่ี รยี นตลอดหลกั สตู ร : ไม่น้อยกว่า ๓๖ หนว่ ยกิต ๕. รูปแบบของหลักสูตร ๕.๑ รปู แบบ : หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโท ๕.๒ ภาษาทใี่ ช้ : ภาษาไทย ๕.๓ การรบั เข้าศึกษา : รับทั้งนกั ศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามแนวปฏิบัติ ของบัณฑติ วทิ ยาลยั ๕.๔ ความร่วมมือกบั สถาบนั อืน่ : เปน็ หลกั สตู รของมหาวิทยาลยั มหิดลโดยเฉพาะ ๕.๕ การใหป้ รญิ ญาแกผ่ สู้ าเร็จการศึกษา : ให้ปรญิ ญาเพียงสาขาวิชาเดียว

- 19 - ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสูตร ๑. ปรชั ญา ความสาคญั และวัตถุประสงค์ของหลักสตู ร ๑.๑ ปรัชญา ความสาคญั ของหลักสตู ร มงุ่ ผลิตมหาบณั ฑิตทม่ี ีความรู้ความสามารถด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ มีการจัดการเรียน การสอนโดยบูรณาการองค์ความร้เู ชอ่ื มโยงจากศาสตร์ต่างๆ ที่เก่ียวข้องนาไปสู่ศาสตร์แบบ “สหวิทยาการเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ” มีทักษะในการวิจัยและการปฎิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับคนพิการ เป็นผู้นา ความก้าวหน้าทางวิชาการ ขับเคลื่อนให้สังคมเกิดความตระหนักด้านคนพิการและความพิการ โดยเน้น หลกั การสร้างสังคมท่ีทุกคนมีคุณค่า (Inclusive society) ลดความเหล่ือมล้า สร้างความเท่าเทียมกันในสังคม มุ่งเน้นการหล่อหลอมมหาบัณฑิตท่ีปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ บนพ้ืนฐานของการมีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ เคารพสทิ ธิ ความเทา่ เทยี มและศกั ดศ์ิ รขี องความเปน็ มนุษย์ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว มหาบัณฑิตจะมีคุณลักษณะตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา ดงั นี้ ๑.๒.๑ แสดงออกด้านคณุ ธรรม จริยธรรมตามมาตรฐานจรรยาบรรณทางวชิ าการ และวชิ าชพี ๑.๒.๒ อธบิ ายหลกั การและทฤษฎที ่ีเก่ียวข้องกับการพฒั นาคุณภาพชวิ ิตคนพิการ ๑.๒.๓ ประยุกต์องคค์ วามร้ตู ามหลกั วิชาการเพ่ือนาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ ๑.๒.๔ แสดงออกถึงทักษะการทางานร่วมกัน ไม่เลือกปฏิบัติโดยยึดหลักความเสมอภาค และ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนุษย์ ๑.๒.๕ ใช้เทคโนโลยี และสถิติตัวเลข ในการคัดเลือกข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนนาเสนอข้อมูล ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๑.๓ ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั ของหลกั สูตร ๑.๓.๑ PLO1 แสดงออกถงึ คุณธรรมและจริยธรรมในการทางานและวิชาชีพ ๑.๓.๒ PLO2 อธิบายหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ ๑.๓.๓ PLO3 สามารถประยุกต์องค์ความรู้ตามหลักวิชาการเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ ๑.๓.๔ PLO4 แสดงออกถึงการเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี เข้ากับผู้อื่นได้ดี และไม่เลือกปฏิบัติโดยยึดหลัก ความเสมอภาค และศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์ ๑.๓.๕ PLO5 สามารถใช้เทคโนโลยี และสถิติตัวเลข คัดเลือกข้อมูลได้อย่างถูกต้องตลอดจน นาเสนอไดอ้ ย่างเหมาะสม

- 20 - ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การและโครงสร้างของหลกั สูตร ๑. ระบบการจัดการศกึ ษา ๑.๑ ระบบ ใช้ระบบการจัดการศึกษาแบบหน่วยกิตระบบทวิภาค ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาค การศกึ ษา ปกติ ๑ ภาคการศกึ ษา มีระยะเวลาศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๕ สัปดาห์ ๑.๒ การจดั การศึกษาภาคฤดรู ้อน มภี าคฤดรู อ้ น จานวน ๘ สัปดาห์ ๑.๓ การเทยี บเคยี งหนว่ ยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี ๒. การดาเนนิ การหลักสตู ร ๒.๑ วัน-เวลาในการดาเนนิ การเรยี นการสอน หลกั สตู รภาคปกติ : จดั การเรียนการสอนในวันจันทร์-ศุกร์ หลักสตู รภาคพิเศษ : จัดการเรียนการสอนในวันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการ - ภาคการศกึ ษาตน้ เดอื น สงิ หาคม - ธนั วาคม - ภาคการศกึ ษาปลาย เดือน มกราคม - พฤษภาคม - ภาคฤดูรอ้ น เดอื น พฤษภาคม – กรกฎาคม ๒.๒ คุณสมบตั ิของผู้เขา้ ศกึ ษา ๒.๒.๑ สาหรบั ผู้มสี ิทธเ์ิ ขา้ ศึกษา แผน ก แบบ ก๒ (๑) สาเรจ็ การศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาที่ สานักงานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมรับรอง (๒) ไดแ้ ต้มระดับคะแนนเฉลย่ี สะสมไม่ตา่ กว่า ๒.๕๐ (๓) มผี ลคะแนนภาษาองั กฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑติ วทิ ยาลยั (๔) ผูท้ ีม่ คี ุณสมบตั ติ ่างจากทกี่ าหนดในข้อ ๒ และข้อ ๓ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับ การคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดลุ ยพินิจของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและคณบดบี ณั ฑติ วิทยาลัย ๒.๒.๒ สาหรับผูม้ สี ทิ ธิเ์ ข้าศกึ ษา แผน ข (๑) สาเร็จการศกึ ษาในหลักสตู รปริญญาตรีหรอื เทียบเท่าทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษา ทส่ี านกั งานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมรับรอง (๒) ไดแ้ ต้มระดับคะแนนเฉลย่ี สะสมไม่ตา่ กว่า ๒.๕๐ (๓) มีผลคะแนนภาษาองั กฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลยั (๔) มปี ระสบการณท์ างานเกี่ยวกบั คนพิการไม่น้อยกวา่ ๑ ปี (๕) ผู้ท่ีมีคุณสมบัติต่างจากท่ีกาหนดในข้อ ๒ ถึงข้อ ๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับ การคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดลุ ยพินิจของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและคณบดีบณั ฑิตวิทยาลยั

- 21 - ๓. หลกั สูตรและอาจารยผ์ ู้สอน ๓.๑ หลกั สตู ร ๓.๑.๑ จานวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร ไม่นอ้ ยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๓.๑.๒ โครงสรา้ งหลกั สตู ร จดั การศึกษาตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเรอื่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ หลักสตู รปริญญาโทแผน ก แบบ ก๒ และแผน ข ดังนี้ แผน ก แบบ ก๒ แผน ข (๑) หมวดวชิ าปรับพ้ืนฐาน ไมน่ ับหนว่ ยกติ ไม่นบั หนว่ ยกติ (๒) หมวดวชิ าบังคับ ๑๘ หน่วยกิต ๑๘ หน่วยกิต (๓) หมวดวชิ าเลือก ไม่น้อยกวา่ ๖ หน่วยกิต ๑๒ หน่วยกติ (๔) วิทยานพิ นธ์ ๑๒ หน่วยกติ - (๕) สารนิพนธ์ - ๖ หนว่ ยกิต รวมไมน่ ้อยกวา่ ๓๖ หนว่ ยกติ ๓๖ หน่วยกิต *หมายเหตุ หากนักศึกษาไม่มีความรู้พื้นฐานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา ปรบั พืน้ ฐานโดยไม่นับหนว่ ยกิต (Audit) ๓.๑.๓ รายวชิ าในหลกั สูตร (๑) หมวดวชิ าปรับฟืน้ ฐาน (ไมน่ ับหน่วยกติ ) หนว่ ยกิต(บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๐๐ จติ วิทยาว่าดว้ ยความพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 500 Psychology of Disabilities (๒) หมวดวิชาแกน (๑๘ หนว่ ยกติ ) หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๐๑ หลักการและแนวคดิ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ ๓(๓-๐-๖) RSQD 501 Principles and Concepts of Quality of Life Development รสคพ ๕๐๒ RSQD 502 for Persons with Disabilities รสคพ ๕๐๓ วธิ วี ทิ ยาการวิจัยเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร ๓(๓-๐-๖) RSQD 503 Research Methodology in Quality of Life Development for Persons with Disabilities การจัดการระบบด้านความพิการ ๓(๓-๐-๖) Disability Systems Management

- 22 - รสคพ ๕๐๔ การปรกึ ษาดา้ นการฟน้ื ฟูสมรรถภาพ ๓(๓-๐-๖) RSQD 504 Rehabilitation Counseling ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๐๕ หลักการและการปฏบิ ตั ดิ ้านเทคโนโลยสี ่งิ อานวยความสะดวก ๒(๒-๐-๔) RSQD 505 Assistive Technology Principles and Practice รสคพ ๕๐๖ สมั มนาดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ ๒(๑-๓-๒) RSQD 506 Seminar on Quality of Life Development for Persons with Disabilities รสคพ ๕๐๗ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการ RSQD 507 Practicum on Quality of Life Development for Persons with Disabilities (๓) หมวดวชิ าเลอื ก แผน ก แบบ ก๒ ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกิต แผน ข ไมน่ ้อยกว่า ๑๒ หน่วยกติ หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๑๐ ทฤษฎีและเทคนิคการปรึกษา ๒(๒-๐-๔) RSQD 510 รสคพ ๕๑๑ Counseling Theories and Techniques RSQD 511 รสคพ ๕๑๒ การปรึกษาแบบกลุ่ม ๒(๒-๐-๔) RSQD 512 รสคพ ๕๑๓ Group Counseling RSQD 513 รสคพ ๕๑๔ การพฒั นาดา้ นอาชีพสาหรับคนพกิ าร ๒(๒-๐-๔) RSQD 514 รสคพ ๕๒๐ Vocational Development for Persons with Disabilities RSQD 520 รสคพ ๕๒๑ การปรบั ตัวทางจติ สังคมต่อความเจบ็ ปวุ ยเร้อื รังและความพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 521 รสคพ ๕๓๐ Psychosocial Adaptation to Chronic Illness and Disability RSQD 530 รสคพ ๕๓๑ การปรกึ ษาครอบครัว ๒(๒-๐-๔) RSQD 531 รสคพ ๕๓๒ Family Counseling RSQD 532 ความพิการและการหลอมรวมทางสังคม ๒(๒-๐-๔) Disability and Societal Inclusion จริยธรรม กฎหมายและนโยบายสาธารณะด้านความพิการ ๒(๒-๐-๔) Ethics, Law and Public Policy on Disability การประเมินบริการเทคโนโลยสี ง่ิ อานวยความสะดวก ๒(๒-๐-๔) Assistive Technology Assessment Services การเขา้ ถงึ สาหรับทุกคน ๒(๒-๐-๔) Accessibility for All โมบายแอพพลิเคชัน่ และเวบ็ ท่เี ขา้ ถึงได้ ๒(๒-๐-๔) Mobile Application and Web Accessibility

- 23 - รสคพ ๕๔๐ การฟนื้ ฟสู มรรถภาพคนพกิ ารทางการเห็น ๒(๒-๐-๔) RSQD 540 Rehabilitation of Persons with Visual Impairment ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๔๑ การทาความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว ๒(๒-๐-๔) RSQD 541 Orientation and Mobility ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๔๒ เทคโนโลยสี าหรับคนพิการทางการเห็น ๒(๒-๐-๔) RSQD 542 Technologies for Persons with Visual Impairment ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๔๓ อกั ษรเบรลล์และการประยุกต์ ๒(๒-๐-๔) RSQD 543 Braille and Application ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๔๔ กลวิธกี ารสอนสาหรบั คนพิการทางการเห็น RSQD 544 Teaching Strategies for Persons with Visual Impairment รสคพ ๕๔๕ การผลติ สอ่ื สาหรบั คนพกิ ารทางการเหน็ RSQD 545 Media Production for Persons with Visual Impairment รสคพ ๕๔๖ การบริการสาหรบั คนสายตาเลือนราง RSQD 546 Services for Low Vision Persons รสคพ ๕๔๗ การเข้าถงึ ข้อมลู ขา่ วสารสาหรับคนพิการทางการรับรู้ทางประสาทสัมผสั RSQD 547 Information Accessibility for Persons with Sensory Impairment ๔) วิทยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก แบบ ก๒) หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๖๙๘ วิทยานพิ นธ์ ๑๒(๐-๓๖-๐) RSQD 698 Thesis (๕) สารนิพนธ์ (สาหรับหลกั สตู รปริญญาโท แผน ข) หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง) รสคพ ๖๙๗ สารนพิ นธ์ ๖(๐-๑๘-๐) RSQD 697 Thematic Paper

- 24 - ๓.๑.๔ โครงการวจิ ยั ของหลกั สูตร (วทิ ยานิพนธ)์ แนวทางการทาวิจยั ของหลักสูตรมีดงั น้ี (๑) การวจิ ยั และพัฒนา ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร (๒) การสร้างองค์ความรูใ้ หม่ด้านการพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการ (๓) การประยุกต์องค์ความรู้ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการท่ีเหมาะสมกับบริบท สังคมไทย ๓.๑.๕ โครงการศึกษาอสิ ระของหลกั สตู ร (สารนิพนธ์) (๑) ปัญหา อุปสรรค ความต้องการของคนพกิ ารและครอบครวั (๒) ระบบกลไกการบริการและบริหารด้านการพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพกิ าร (๓) การประยกุ ต์องค์ความรดู้ ้านการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ (๔) เครอ่ื งมือ แบบวัด แบบทดสอบ อุปกรณ์และการปรับใช้ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการ ๓.๑.๖ ความหมายของรหสั วิชา ตัวอักษร ๔ หลักมคี วามหมาย ดงั น้ี ตวั อักษร ๒ หลักแรก เปน็ อักษรย่อของวิทยาลัยท่รี บั ผดิ ชอบจัดการเรียนการสอน รส) RS) หมายถงึ วทิ ยาลยั ราชสุดา ตวั อักษร ๒ หลักต่อมา เป็นอกั ษรย่อของสาขาวิชาท่รี บั ผิดชอบจดั การเรียนการสอน คพ) QD) หมายถึง สาขาวชิ าการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ ตวั เลข ๓ หลัก คอื ๕XX และ ๖XX แสดงวิชาเรยี นในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา

- 25 - ๓.๑.๗ แผนการศึกษา ชั้นปี แผน ก แบบ ก ๒ แผน ข ภาคฤดูร้อน ภาคฤดรู อ้ น ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๐๐ จติ วทิ ยาวา่ ดว้ ยความพิการ ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๐๐ จิตวิทยาวา่ ด้วยความพกิ าร รายวิชาปรบั พน้ื ฐานลงทะเบียนเรยี นแบบไมน่ ับหนว่ ยกติ รายวชิ าปรบั พืน้ ฐานลงทะเบียนเรยี นแบบไมน่ บั หน่วยกติ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ รสคพ ๕๐๑ หลกั การและแนวคดิ ๓(๓-๐-๖) รสคพ ๕๐๑ หลักการและแนวคดิ ๓(๓-๐-๖) การพฒั นาคุณภาพ การพฒั นาคุณภาพ ชีวิตคนพกิ าร ชวี ิตคนพิการ รสคพ ๕๐๒ วิธวี ทิ ยาการวจิ ัยเพอ่ื ๓(๓-๐-๖) รสคพ ๕๐๒ วิธีวิทยาการวจิ ัยเพอ่ื ๓(๓-๐-๖) การพฒั นาคณุ ภาพ การพัฒนาคุณภาพ ชีวติ คนพกิ าร ชวี ิตคนพกิ าร รสคพ ๕๐๓ การจัดการระบบดา้ น ๓(๓-๐-๖) รสคพ ๕๐๓ การ ดั การระบบด้าน ๓(๓-๐-๖) ความพิการ ความพิการ รสคพ ๕๐๔ การปรกึ ษาดา้ นการ ๓(๓-๐-๖) รสคพ ๕๐๔ การปรกึ ษาดา้ นการ ๓(๓-๐-๖) ฟืน้ ฟสู มรรถภาพ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพ รวม ๑๒ หนว่ ยกิต รวม ๑๒ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ รสคพ ๕๐๕ หลกั การและการปฏิบตั ิ ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๐๕ หลักการและการปฏบิ ตั ิ ๒(๒-๐-๔) ด้านเทคโนโลยสี งิ่ ด้านเทคโนโลยสี ิ่ง อานวยความสะดวก อานวยความสะดวก รสคพ ๕๐๖ สมั มนาดา้ นการพัฒนา ๒(๒-๐-๔) รสคพ ๕๐ สัมมนาดา้ นการพฒั นา ๒(๒-๐-๔) คุณภาพชีวิตคนพิการ ๖ หนว่ ยกติ วิชาเลือก คณุ ภาพชีวติ คนพิการ ๖ หน่วยกติ วิชาเลอื ก รวม ๑๐ หน่วยกติ รวม ๑๐ หน่วยกติ ภาคฤดรู อ้ น ภาคฤดูร้อน รสคพ ๕๐๗ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการ ๒(๑-๓-๒) รสคพ ๕๐๗ ปฏบิ ัติการดา้ นการ ๒(๑-๓-๒) พฒั นาคุณภาพชีวิตคน พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คน พกิ าร พิการ รวม ๒ หนว่ ยกติ รวม ๒ หนว่ ยกิต ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ รสคพ ๖๙๘ วทิ ยานิพนธ์ ๖(๐-๑๘-๐) วชิ าเลือก ๖ หน่วยกิต รสคพ ๖๙๗ สารนพิ นธ์ ๓(๐-๙-๐) รวม ๖ หนว่ ยกิต รวม ๙ หนว่ ยกิต

ชัน้ ปี แผน ก แบบ ก ๒ - 26 - ๓(๐-๙-๐) รสคพ ๖๙๘ ภาคเรยี นที่ ๒ แผน ข วทิ ยานพิ นธ์ ภาคเรียนท่ี ๒ ๖(๐-๑๘-๐) รสคพ ๖๙๗ สารนิพนธ์ รวม ๖ หนว่ ยกติ สอบประมวลความรู้ รวม ๓ หน่วยกิต เกณฑก์ ารสาเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตร แผน ก แบบ ก๒ (๑) ใชเ้ วลาในการศึกษาตามแผนการศกึ ษา (๒) ต้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตร คือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต และทาวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจานวนหน่วยกิตท่ีต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หนว่ ยกิต โดยตอ้ งได้แต้มระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมไม่ตา่ กวา่ ๓.๐๐ (๓) ต้องสอบผา่ นภาษาองั กฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหิดล (๔) ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทางานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิต วิทยาลัย (๕) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้าย โดย คณะกรรมการทีบ่ ณั ฑติ วทิ ยาลัยแตง่ ต้ัง และการสอบเปน็ ระบบเปิดใหผ้ ูส้ นใจเขา้ รบั ฟงั ได้ (๖) ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับ การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือ นาเสนอตอ่ ที่ประชมุ วชิ าการที่มรี ายงานการประชุม (Proceedings) และตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลยั (๗) นักศึกษาท่ีรับทุนการศึกษาหรือทุนอ่ืนๆ ระหว่างการศึกษาในหลักสูตร ต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์เงือ่ นไขของทนุ แผน ข แผน ข (๑) ใชเ้ วลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา (๒) ต้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต และทาสารนิพนธ์ ๖ หน่วยกิต รวมจานวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต โดยตอ้ งได้แตม้ ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ า่ กว่า ๓.๐๐ (๓) ตอ้ งสอบผา่ นภาษาองั กฤษตามเกณฑข์ องบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหิดล (๔) ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทางานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิต วิทยาลยั

- 27 - (๕) ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรูต้ ามข้อกาหนดของบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหิดล (๖) ต้องเสนอสารนิพนธ์และสอบสารนิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้ายโดย คณะกรรมการที่บัณฑติ วทิ ยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ (๗) สารนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของสารนิพนธ์ต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหน่ึงที่ สืบคน้ ได้ (๘) นักศึกษาท่ีรับทุนการศึกษาหรือทุนอื่นๆ ระหว่างการศึกษาในหลักสูตร ต้องปฏิบัติตาม หลกั เกณฑเ์ งือ่ นไขของทุน

- 28 - คาอธิบายรายวิชา (๑) หมวดวชิ าปรับฟ้ืนฐาน (ไมน่ บั หน่วยกิต) หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๐๐ จิตวิทยาว่าด้วยด้านความพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 500 Psychology of Disabilities จิตวิทยาพื้นฐาน สุขภาพจิต การปรับตัวทางจิตสังคมต่อความพิการของคนพิการและครอบครัว ทกั ษะการให้ความชว่ ยเหลือเบอื้ งต้นทางดา้ นจิตใจสาหรบั คนพิการ กระบวนการฟื้นฟสู มรรถภาพคนพิการ Basic psychology; mental health; psycho-social adaptation to disability of persons with disabilities and their families; basic psychological skills for persons with disabilities; rehabilitation process for persons with disabilities (๒) หมวดวิชาบงั คับ หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง) รสคพ ๕๐๑ หลักการและแนวคิดการพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ ๓(๓-๐-๖) RSQD 501 Principles and Concepts of Quality of Life Development for Persons with Disabilities หลักการ แนวคิด ทฤษฎี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้เชิงประสบการณ์เก่ียวกับความพิการ วิถี ชวี ิตและการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ ทั้งจากมุมมองผใู้ ห้ ผู้รบั บริการ และมมุ มองสหวิทยาการท่ีเป็นบูรณา การ กระบวนการเกิดความพิการและ ผลกระทบ การพัฒนาสมรรถนะบุคคลเพื่อการดารงชีวิตอิสระในสังคม การจัดการพ้ืนที่ทางสังคมและการมีส่วนร่วม กระบวนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ ระบบบริการสนับสนุน ทางสังคมเพ่อื การดารงชวี ิตที่มีคุณภาพเท่าเทยี มกัน มิตขิ องผลลัพธ์การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทีค่ าดหวัง กฎหมาย และนโยบายท่ีเกีย่ วขอ้ ง Principles, concepts, theories, moral, ethics, experiential knowledge of disability, life course and quality of life development of persons with disabilities from professional and disabled people perspectives through multidisciplinary approach; disablement process and consequences; enablement process for socially independent living; rehabilitation process; social space and engagement of disabled people; disability social support services; expected dimensions of quality of life outcomes; related disability law and policy

- 29 - หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๐๒ วธิ วี ทิ ยาการวิจัยเพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร ๓(๓-๐-๖) RSQD 502 Research Methodology in Quality of Life Development for Persons with Disabilities แนวคิด หลักการวิจัยด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ปัญหาในการวิจัย คาถามการวิจัย การสังเคราะห์งานวิจัย การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยผสานวิธีการ จริยธรรมในการทาวิจัย การพัฒนาโครงร่างการวิจัย ความหมายและกระบวนการทางสถิติสาหรับการพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ การนาเสนอข้อมูล สถิติพรรณนา การสุ่มตัวอย่าง การประมาณค่าเฉลี่ยประชากร การ ทดสอบสมมตฐิ าน การวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทางเดยี ว การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์ถดถอย อย่างง่าย การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ การทดสอบไคสแควร์ และการประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู Concept, research principle of quality of life for persons with disabilities, research problem, research question, research synthesis, research design, qualitative research, quantitative research, mixed methods research, research ethics, development of research proposal, meaning and statistical process for quality of life development of persons with disabilities; presentation of data; descriptive statistics; sampling methods; estimation of a population mean; hypothesis testing; one-way analysis of variance; correlation analysis; simple linear regression, multiple linear regression; chi-square tests; and application of computer software for analyzing data รสคพ ๕๐๓ การจัดการระบบดา้ นความพิการ ๓(๓-๐-๖) RSQD 503 Disability Systems Management หลักการและความสาคัญของการจัดการระบบด้านความพิการ การคิดเชิงระบบเพ่ือพัฒนา คุณภาพชีวิตของคนพิการ กฏระเบียบและนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับคนพิการ กรอบการบริหารจัดการกาลังคน กระบวนการและงบประมาณในระบบความพิการ การวางแผนกลยุทธ์ การพัฒนาโครงการการจัดการเชิง ประจักษ์เพอื่ พัฒนาสมรรถนะทางรา่ งกาย จติ ใจ สังคม และอาชีพของคนพิการ แนวทางการมองสังคมท้ังหมด ในภาพรวมเพ่ือแก้ปัญหาประเด็นความพิการท่ีมีความซับซ้อน ความร่วมมือกับภาคชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคที่ไม่แสวงหาผลกาไร เพื่อพัฒนาระบบการจัดหาและจัดส่งบริการสาหรับคนพิการ คุณธรรมและ จรยิ ธรรมในงานดา้ นคนพกิ าร การประยุกต์และบูรณาการแนวคิดทฤษฎีและประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน ท่ีเก่ยี วกบั การจดั การระบบด้านความพิการ Principles and importance of disability systems management; system thinking to improve the quality of life of persons with disabilities; disability-related laws and policies; frameworks of managing manpower, process and budget in the disability systems; strategic planning; development of the evidence-based management projects for improving the

- 30 - physical, mental, social and vocational ability of persons with disabilities; a whole-of-society approach to solving complex disability issues; partnerships with community, public, private and nonprofit sectors to improve the provision and delivery systems of disability services; moral and ethics in works related to persons with disabilities; application and integration of theoretical concepts and experience from field-study visit related to disability systems management รสคพ ๕๐๔ การปรกึ ษาดา้ นการฟน้ื ฟูสมรรถภาพ ๓(๓-๐-๖) RSQD 504 Rehabilitation Counseling หลักการของการปรึกษาด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ กระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ประเด็นด้านจิตสังคมของความพิการ ทฤษฎีการปรึกษา เทคนิคและการประยุกต์ใช้ในการปรึกษาด้านการ ฟนื้ ฟูสมรรถภาพ การปรึกษาในกระบวนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ การปรึกษาแบบกลุ่ม การปรึกษาแบบรายบุคคล การปรึกษาด้านอาชีพ การประเมินในงานฟื้นฟูสมรรถภาพ จรรยาบรรณของผู้ให้การปรึกษาด้านการฟื้นฟู สมรรถภาพ วิถีชีวิตอิสระ การเสริมพลังคนพิการและครอบครัวผ่านกระบวนการปรึกษา การบริหารจัดการ การบรกิ ารรายกรณี Principles of rehabilitation counseling; rehabilitation process; psychosocial aspects of disability; counseling theories, techniques and applications in rehabilitation counseling; counseling in the rehabilitation process; group counseling, individual counseling, vocational counseling; assessment in rehabilitation; ethics of rehabilitation counselors; independent living, empowering disabled people and family through counseling process; case management service รสคพ ๕๐๕ หลักการและการปฏบิ ัตดิ ้านเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวก ๒(๒-๐-๔) RSQD 505 Assistive Technology Principles and Practice ความหมาย ประเภท กรอบการทางาน นโยบายและกฎหมาย เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อการศึกษา อาชีพ และการดารงชีวิตอิสระสาหรับคนพิการ หลักการและจริยธรรมในการให้บริการ เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก การปรับหรือเลือกใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกให้เหมาะสม กับคนพกิ าร การประเมนิ ผลลพั ธแ์ ละประสิทธิภาพของเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวก อุปกรณ์เทคโนโลยีสิ่ง อานวยความสะดวกท่ที ันสมยั การจัดบรกิ ารเทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวกในหน่วยงาน Definition, type, framework, policy, legislation, assistive technology for education, employment and independent living of persons with disabilities; principles and ethical issues in assistive technology services; adaptation or selection of assistive technology devices suitable for persons with disabilities; assessment of assistive technology outcomes and

- 31 - effectiveness; state of the art assistive technology devices; assistive technology services in organizations รสคพ ๕๐๖ สมั มนาดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 506 Seminars on Quality of Life Development for Persons with Disabilities ความสาคัญ ประเภท และกระบวนการของการสัมมนา การค้นหาและระบุประเด็นปัญหา เนื้อหาท่ีเก่ียวข้องกับคนพิการหรือความพิการ การบริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ การพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ คุณธรรมและจรยิ ธรรมในงานด้านคนพิการ The importance, category and process of seminar; problems identification and search; contents related to persons with disability or disability; rehabilitation services for persons with disabilities; quality of life development for persons with disabilities; moral and ethics in works related to persons with disabilities รสคพ ๕๐๗ ปฏิบตั กิ ารด้านการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ ๒(๑-๓-๒) RSQD 507 Practicum on Quality of Life Development for Persons with Disabilities การปฏิบัติการในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับเปูาหมายทางอาชีพของผู้เรียน องค์กรด้านการฟื้นฟู สมรรถภาพ สถาบันการศกึ ษา องคก์ รด้านบริการชุมชนเพื่อคนพิการและครอบครัว การประยุกต์และบูรณาการ กบั นโยบายด้านคนพิการ Practicum in a setting that is related to student career goals; rehabilitation agency; educational institute; community service organization for persons with disabilities and family; application and integration with persons with disabilities policy (๓) หมวดวิชาเลือก หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๑๐ ทฤษฎแี ละเทคนคิ การปรึกษา ๒(๒-๐-๔) RSQD 510 Counseling Theories and Techniques แนวคิด ปรัชญา ลักษณะของทฤษฎีการปรึกษา กระบวนการและเทคนิคในการปรึกษา การฝึก ทักษะการปรึกษารายบุคคลขั้นพื้นฐาน การประเมินทางจิตวิทยา การประยุกต์ใช้การปรึกษาสาหรับคนพิการ จรยิ ธรรมการปรกึ ษา Concepts, philosophy; characteristics of counseling theories; process and techniques of counseling; practice of basic individual counseling skills; psychological assessment; implications for counseling services to persons with disabilities; ethics in counseling

- 32 - หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๑๑ การปรึกษาแบบกล่มุ ๒(๒-๐-๔) RSQD 511 Group Counseling ความหมายของการปรึกษาแบบกลุ่ม ประเภทของกลุ่ม และพลวัตรของกลุ่ม กระบวนการการ ปรึกษาแบบกลุ่ม ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลในการปรึกษาแบบกลุ่ม คุณลักษณะของผู้นากลุ่ม ทักษะและจรรยาบรรณ สาหรับผู้นาการปรึกษาแบบกลุ่ม บทบาทและพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่ม ทฤษฎีและเทคนิคการปรึกษาแบบ กลมุ่ การออกแบบโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่ม การประเมินผลการปรึกษาแบบกลุ่มและการติดตามผล การ ปรึกษาแบบกลมุ่ ในคนทีม่ คี วามพกิ ารและผู้ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษอื่นๆ Meaning of group counseling, types of group and group dynamics; group counseling process; factors influencing group counseling; group leader’s characteristics, skills and ethics for group counselor; roles and behaviors of group member; group counseling theories and techniques; group counseling program design; group counseling evaluation and follow-up; group counseling with persons with disabilities and other special needs รสคพ ๕๑๒ การพฒั นาด้านอาชพี สาหรับคนพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 512 Vocational Development for Persons with Disabilities การพัฒนาด้านอาชีพ การออกแบบการพัฒนาด้านอาชีพสาหรับคนพิการ การปรับตัวในการ ทางาน การประเมิน การจ้างงานและรักษางานไว้ได้ ทักษะทางการตลาดและการจัดหางาน การฝึกอบรม อาชีพ การสนับสนนุ คนพกิ ารและการเปลีย่ นผ่านสู่การจ้างงาน ความช่วยเหลือและการฝึกอบรมนายจ้าง การ ประเมนิ ผลการบริการ การศึกษาดงู านจัดบริการดา้ นอาชีพ Vocational development; design of vocational rehabilitation for persons with disabilities; adjustment at work; assessment; employment and maintain jobs; marketing and job placement skills; vocational training; supporting for persons with disabilities and the transition to employment; employer assistance and training; services evaluation; field-study visit related to vocational services รสคพ ๕๑๓ การปรับตัวทางจติ สงั คมต่อความเจบ็ ปว่ ยเร้อื รังและความพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 513 Psychosocial Adaptation to Chronic Illness and Disability ความหมายของการปรับตัวทางจิตสังคมต่อความเจ็บปุวยเร้ือรังและความพิการ การรับมือกับ ความเครียด ภาวะวิกฤติและความพิการ ภาพลักษณ์แห่งตน การสูญเสีย ความโศกเศร้าและการปฏิเสธ รูปแบบการปรับตัวทางจิตสังคมต่อความเจ็บปุวยและความพิการ การวัดการปรับตัวทางจิตสังคมต่อความ เจ็บปุวยและความพิการ การปรับตัวทางจิตสังคมต่อภาวะความพิการที่เกิดข้ึนอย่างทันใด กรอบแนวคิดใน การศกึ ษาเกี่ยวกับการปรับตวั ทางจติ สงั คมตอ่ ความเจ็บปวุ ยและความพิการ

- 33 - Definitions of psychosocial adaptation to chronic illness and disability; coping with stress, crisis and disability; body image, loss, depression and denial; models of psychosocial adaptation to chronic illness and disability; measurement of psychosocial adaptation to illness and disability; psychosocial adaptation to sudden onset disability; conceptual framework for the study of psychosocial adaptation to chronic illness and disability รสคพ ๕๑๔ การปรกึ ษาครอบครวั ๒(๒-๐-๔) RSQD 514 Family Counseling ทฤษฎี กระบวนการ วิธีการประเมิน และเทคนิค ของการปรึกษาครอบครัว วิเคราะห์สภาพ ครอบครัว การให้ความชว่ ยเหลอื และเสริมพลงั ครอบครวั ฝึกปฏิบัติการปรกึ ษาครอบครวั Theories; process; assessment methods and techniques of family counseling; family condition analysis, family assistance and empowerment; family counseling practice รสคพ ๕๒๐ ความพกิ ารและการหลอมรวมทางสังคม (๒-๐-๔) RSQD 520 Disability and Societal Inclusion ความสาคัญของการหลอมรวมคนพิการไว้ในกระบวนการพัฒนาที่ยั่งยืน วงจรความพิการและ ความยากจน อนุสัญญาระหว่างประเทศและนโยบายท่ีครอบคลุมคนพิการท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาท่ียั่งยืน สิทธิคนพิการและการจัดการความเส่ียงจากภัยพิบัติ อุปสรรคและปัจจัยสนับสนุนการหลอมรวมคนพิการ กรณีศึกษาเชงิ ประจกั ษค์ วามพิการและการหลอมรวมทางสังคม แนวปฏิบัติในการหลอมรวมคนพิการในระดับ บุคคล กลุ่มและองค์กร ความหลากหลายและการหลอมรวมในสถานที่ทางาน ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงทาง สังคม การพัฒนาองค์กรและการจัดการกับการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมในการทางานแบบหลอมรวม การ จัดการทรัพยากรมนุษย์แบบหลอมรวม การประยุกต์และบูรณาการแนวคิดทฤษฎีและประสบการณ์จาก การศึกษาดงู านที่เกีย่ วกับความพิการและการหลอมรวมทางสงั คม Importance of disability inclusion in the sustainable development process; the cycle of disability and poverty; international conventions and policies related to the disability-inclusive sustainable development, rights of persons with disabilities and disability- inclusive disaster risk management; barriers and enablers to disability inclusion; business case for disability and societal inclusion; practices of disability inclusion at the individual, group and organizational levels; workplace diversity and inclusion; theories of social change, organization development and change management; a culture of inclusive workplace; inclusive human resource management; application and integration of theoretical concepts and experience from field-study visit related to disability and societal inclusion

- 34 - หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง) รสคพ ๕๒๑ จริยธรรม กฎหมาย และนโยบายสาธารณะดา้ นความพิการ ๒(๒-๐-๔) RSQD 521 Ethics, Law and Public Policy on Disability จริยธรรม สิทธิ ความเสมอภาค โอกาสของคนพิการและการเลือกปฏิบัติ ประวัติศาสตร์ การ ขับเคลือ่ นสิทธดิ ้านความพกิ าร กฎหมาย นโยบายด้านคนพกิ าร สถานการณ์ปัจจุบันและทิศทางในอนาคตของ สิทธิ ความเสมอภาคและโอกาสของคนพิการในระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ บทบาทของ องค์กรคนพิการเพ่ือการสร้างและขับเคล่ือนนโยบายในระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ แบบ แผนการนานโยบายไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ การประยุกต์แนวคิดทฤษฎีและประสบการณ์เก่ียวกับจริยธรรม สทิ ธิ และนโยบายด้านคนพกิ าร Ethics, rights, equity, opportunity of persons with disabilities and discrimination; history, disability rights movement, law and policy on disability; current situation and future direction of the rights; equity and opportunity of persons with disabilities at community, national and international levels; the role of disabled people organizations (DPOs) for policy formulation and movement at community, national and international levels; model of effective policy implementation; application between theoretical concept and experiences related to ethics, rights and disability policy รสคพ ๕๓๐ การประเมนิ บริการเทคโนโลยสี ่ิงอานวยความสะดวก ๒(๒-๐-๔) RSQD 530 Assistive Technology Assessment Services แนวคิด ทฤษฎี การประเมินความต้องการจาเป็นคนพิการ การประเมินการใช้เทคโนโลยีส่ิง อานวยความสะดวก การเขียนรายงานการประเมนิ เทคโนโลยสี ง่ิ อานวยความสะดวก Concepts, theories, needs assessment of persons with disabilities, evaluation used assistive technology, writing assistive technology reports รสคพ ๕๓๑ การเขา้ ถึงสาหรบั ทุกคน ๒(๒-๐-๔) RSQD 531 Accessibility for All แนวคิด การออกแบบสาหรับทุกคน หลักการการเข้าถึงสาหรับทุกคน การออกแบบท่ีเป็นสากล การเข้าถึงและเทคโนโลยีสารสนเทศ การเขา้ ถึงอนิ เตอรเ์ นต็ การศึกษาดงู านเกย่ี วกับการเข้าถึงสาหรบั ทกุ คน Concept, design accessibility for all, principle of accessibility for all, universal design, accessibility Information and communication technology, accessible internet, work- site study related to accessibility for all

- 35 - หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง) รสคพ ๕๓๒ โมบายแอพพลิเคชั่นและเวบ็ ท่เี ข้าถงึ ได้ ๒(๒-๐-๔) RSQD 532 Mobile Application and Web Accessibility แนวคิด โมบายแอพพลิเคชั่น ประเภทของโมบายแอพพลิเคช่ัน ประโยชน์ของโมบาย แอพพลิเคช่ัน แนวโน้มการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นสาหรับคนพิการ หลักการการออกแบบเว็บท่ีเข้าถึงได้ ประโยชน์ของเวบ็ ท่ีเข้าถงึ ได้ การประเมินเวบ็ ทีเ่ ขา้ ถึงได้ Concept, mobile application, type of mobile application, mobile application benefits, trends in using mobile applications for person with disabilities, principle of web accessibility, web accessibility benefits, evaluating web accessibility รสคพ ๕๔๐ การฟนื้ ฟสู มรรถภาพของคนพกิ ารทางการเหน็ ๒(๒-๐-๔) RSQD 540 Rehabilitation of Persons with Visual Impairment ประเภทของคนพิการทางการเห็น สาเหตุและการรับรู้ของคนพิการทางการเห็น วัยสูงอายุกับ ความพิการทางการเห็น ความพิการทางการเห็นท่ีมีความพิการอื่นร่วม การประเมินการมองเห็น ทักษะการ อ่านออกเขยี นได้ ทักษะการสรา้ งความคนุ้ เคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว ทักษะการดารงชีวิตอิสระ ทักษะทางสงั คม ส่ือและเทคโนโลยีสง่ิ อานวยความสะดวก กฎหมายและนโยบายที่เกีย่ วข้อง การศึกษาดงู าน Types of visual impairment; causes and perceptions of persons with visual impairment; ageing and visual impairment; visual impairment and additional disability; visual assessment; literacy skill; orientation and mobility skill; independent living skill; social skill; media and assistive technology; related law and policy; study visit รสคพ ๕๔๑ การทาความคนุ้ เคยกบั สภาพแวดล้อมและการเคลอ่ื นไหว ๒(๒-๐-๔) RSQD 541 Orientation and Mobility ประวัติความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎีการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว แนวคิดวิถีชีวิตอิสระ แนวคิดการสนับสนุนทางสังคม แนวคิดเก่ียวกับคนตาบอดและคนสายตาเลือนราง การ นาแนวคิดทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ การประเมินความพิการ เทคนิคการนาทาง การใช้ไม้เท้าขาวเพื่อการเดินทาง การดูแลช่วยเหลือตนเองภายในบ้าน อุปกรณ์เครื่องช่วยในการใช้ชีวิตประจาวัน การใช้ทักษะทางสังคม กีฬา และนนั ทนาการ การใชแ้ ละการผลิตแผนท่นี นู เทคโนโลยเี พ่ือชว่ ยสนบั สนุนการเดนิ ทาง การจัดสภาพแวดล้อม ท่ีเอื้อต่อคนตาบอดและคนสายตาเลือนราง คุณธรรมจริยธรรมของผู้สอนการสร้างความคุ้นเคยกับ สภาพแวดลอ้ มและการเคลื่อนไหว History, concept and theory of orientation and mobility; independent living concept; social support concept; blind and low vision concept; application of concepts and theories; disability assessment; guiding techniques; white-cane usage for travelling; home self-care; assistive equipment for daily living; social skills; sport and recreation; usage and

- 36 - production of tactile maps; technology to assist in travel; physical environment arrangement for blind and low vision persons; ethics of orientation and mobility instructors รสคพ ๕๔๒ เทคโนโลยีสาหรับคนพิการทางการเห็น ๒(๒-๐-๔) RSQD 542 Technologies for Persons with Visual Impairment ความสาคัญของเทคโนโลยีสาหรับคนพิการทางการเห็น ความต้องการจาเป็นเฉพาะทางของคน ตาบอดและคนสายตาเลือนรางในการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีและส่ือ อุปกรณ์เคร่ืองช่วยและของใช้ทั่วไป เทคโนโลยีเคลื่อนท่ี คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงพิเศษ โปรแกรมอ่านจอภาพ โปรแกรมขยายหน้าจอ อุปกรณ์แสดงผลอักษรเบรลล์ อุปกรณ์ขยายเอกสาร สื่อเสียง เอกสารเบรลล์ ส่ือภาพนูน เอกสารขยายใหญ่ การประยุตเ์ พ่อื การใช้ชวี ติ อิสระ การศกึ ษาและการทางาน งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งในปจั จบุ ัน Importance of technologies for persons with visual impairment; unique needs of blind and low vision persons in accessing information through technology and media; general aids and appliances; mobile technology; computer and special peripherals; screen reader, screen enlargement software, braille display devices, document magnification devices; audio media, braille documents, tactile media, enlarged documents; applications toward independent living, education and work; current related research รสคพ ๕๔๓ อกั ษรเบรลลแ์ ละการประยุกต์ ๒(๒-๐-๔) RSQD 543 Braille and Application ประวัติและหลกั การของอกั ษรเบรลล์ ทกั ษะก่อนการเรียน อักษรเบรลล์ การอ่าน การเขียน และ การพิมพ์อักษรเบรลล์ การใช้โปรแกรมเพ่ือพิมพ์อักษรเบรลล์ อักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษ อักษรเบรลล์ภาษา ท้องถิ่น รหัสอักษรเบรลล์คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โปรแกรมแปลตัวอักษรปกติเป็น อักษรเ บรลล์ เคร่ืองพิมพ์อักษรเบรลล์ และเทคโนโลยีอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับอักษรเบรลล์ การจัดทาส่ืออักษรเบรลล์ที่มี คุณภาพ การใช้อกั ษรเบรลลใ์ นสถานการณ์ท่ีเหมาะสม งานวจิ ยั ด้านอักษรเบรลลใ์ นปจั จบุ นั History and principle of braille; pre-braille skills; reading, writing and typing braille; using software to type braille directly; english braille; braille in local languages; mathematics and scientific braille codes; translation software converting print to braille; braille embosser and other related braille technologies; producing quality braille media; using braille in practical situations; current braille research

- 37 - หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง) รสคพ ๕๔๔ กลวธิ ีการสอนสาหรับคนพกิ ารทางการเหน็ ๒(๒-๐-๔) RSQD 544 Teaching Strategies for Persons with Visual Impairment การออกแบบและการเลือกกลวิธีการสอนอย่างเหมาะสม การจัดทาแผนการสอน สื่อการเรียน การสอนท่ีเข้าถึงได้ และกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ การประเมินท่ีจาเป็น ก่อน ระหว่าง และ หลงั เรยี น การประยุกตใ์ ชค้ วามร้แู ละทกั ษะเพ่ิมเติมหลักสูตรแกนกลางสาหรับผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการ เห็นในกระบวนการเรียนการสอน การเช่ือมโยงความต้องการ การสนับสนุนและการให้บริการผู้เรียน การ ดดั แปลง การอานวยความสะดวกอยา่ งสมเหตุสมผล อุปกรณ์เคร่ืองช่วยเสริม และบรกิ ารอื่นๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง Designing and choosing appropriate teaching strategies; creating teaching plans, accessible learning materials, and effective learning activities; conducting necessary assessments before, during, and after learning; applying knowledge and skills in expanded core curriculum (ECC) for learners with visual impairment in teaching and learning process; combining needs, support and services for learners; modifications, reasonable accommodations, supplemental aids, and related services รสคพ ๕๔๕ การผลิตสื่อสาหรบั คนพิการทางการเห็น ๒(๒-๐-๔) RSQD 545 Media Production for Persons with Visual Impairment ความสาคัญของการผลิตสื่อสาหรับคนพิการทางการเห็น การใช้วัสดุ เครื่องมือและเทคโนโลยี เพื่อผลิตสื่อท่ีเข้าถึงได้ ในรูปแบบเสียง อักษรเบรลล์ ภาพนูน และเอกสารขยายใหญ่ การติดต้ังอุปกรณ์และ การใช้ระดับพ้ืนฐาน สื่อดิจิทัล ฐานข้อมูลสื่อ การผลิตส่ือด้วยวัสดุพื้นฐานและการดัดแปลง การเปรียบเทียบ เทคนิคผลิตสอื่ งานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ งในปัจจุบัน Importance of media production for persons with visual impairment; using materials, tools and technologies to produce accessible media in audio, braille, tactile graphics and enlarged formats; equipment installation and basic operation; digital media; material databases; media production using basic and adapted materials; comparison of media production techniques; current related research รสคพ ๕๔๖ การบริการสาหรบั คนสายตาเลือนราง ๒(๒-๐-๔) RSQD 546 Services for Low Vision Persons นิยาม ธรรมชาติและปัจจัยท่ีมีผลต่อการเห็น ปรัชญา ทฤษฎีและกระบวนทัศน์การบริการ นโยบาย สวัสดิการสังคม การจัดบริการที่สมเหตุสมผล การตรวจประเมินคัดกรองการเห็น การเลือกสื่อ อุปกรณ์ส่ิงอานวยความสะดวกท่ีเหมาะสม และการกระตุ้นการรับรู้ท่ีเก่ียวข้อง การส่งต่อเพื่อการรับบริการ ต่อเน่ือง การอ่านเขียน ส่ือดิจิทัล แหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ และการอ่านเขียนด้วยคอมพิวเตอร์ การเตรียม ความพร้อมและทักษะการดารงชีวิตอิสระท่ีสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นหรือพัฒนาการตามวัย คุณภาพ

- 38 - ชีวติ วถิ ีชวี ติ อิสระและเทคนิคทางเลือก ชุมชนและทที่ างานกัลยาณมติ รและกลุ่มทางานเพ่ือสังคมองค์รวม การ บริการสาหรบั คนสายตาเลือนรางในประเทศอ่นื การศึกษาดงู าน Definitions, nature and factors affecting visual perception; philosophy, theories and approaches of services; policy, social welfare, services with reasonable accommodations; visual screening, appropriate access technology tools selection and sensory perception stimulations; referrals for continued services; literacy, digital media with electronic resources and computing literacy; preparation and independent living skills acquired for low vision persons consistent with needs or growth development; quality of life, independent living and alternative techniques; friendly communities and workplaces with social inclusion working groups; services for low vision persons in other countries; study visit รสคพ ๕๔๗ การเขา้ ถึงข้อมูลขา่ วสารสาหรับคนพกิ ารทางการรบั รู้ทางประสาทสมั ผัส ๒(๒-๐-๔) RSQD 547 Information Accessibility for persons with Sensory Impairment นิยามของความพิการทางการรับรู้ทางประสาทสัมผัส การรับรู้ของคนพิการทางการรับรู้ทาง ประสาทสัมผัส นิยามของการเข้าถึง กฎหมายและนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารแบบอะนาล็อกและดิจิทัล สื่อสัมผัส ส่ือเสียง สื่อทางการเห็น การประเมินและคัดเลือกสื่อ การ ออกแบบสือ่ ทีค่ นพกิ ารทางการรับรทู้ างประสาทสมั ผัสสามารถเข้าถึงได้ Definition of sensory impairment; perceptions of persons with sensory impairment; definition of accessibility; law and policy in information accessibility; analogue versus digital information accessibility; tactual media, audio media, visual media, media assessment and selection; design of accessible media for persons with sensory impairment (๔) วทิ ยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก แบบ ก๒) หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง) รสคพ ๖๙๘ วิทยานพิ นธ์ ๑๒(๐-๓๖-๐) RSQD 698 Thesis การกาหนดโครงการวิจัยท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การเสนอเค้าโครงวิจัย การ ศึกษาวิจัยอย่างมีจริยธรรม การคัดกรองข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสังเคราะห์และวิพากษ์ผลการวิจัย การนา ผลการวิจัยมาเรียบเรียงเป็นวิทยานิพนธ์ การนาเสนอวิทยานิพนธ์ การเรียบเรียงผลงานวิจัยเพื่อเผยแพร่ การ เผยแพรผ่ ลงานวิจัยในวารสารหรอื สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอตอ่ ทปี่ ระชุมวิชาการ จริยธรรมในการเผยแพร่ ผลงานวิจัย Identifying research proposal related to quality of life development for persons with disabilities; presenting research framework; conducting research with concern of research ethics; data collection; data analysis; interpretation of the result and report the

- 39 - result in terms of thesis; presenting and publishing research in standard journals or a conference’s proceedings; ethics in dissemination of research result (๕) สารนพิ นธ์ (สาหรับแผน ข) หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง) รสคพ ๖๙๗ สารนพิ นธ์ ๖(๐-๑๘-๐) RSQD 697 Thematic Paper การกาหนดหัวข้อโครงการ การวิพากษ์ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การจัดทาสาร นพิ นธ์ จริยธรรมวิชาการ การดาเนินโครงการการเขยี นและการนาเสนอรายงานโครงการ จริยธรรมสาหรับการ เขียนรายงานและการนาเสนอเพื่อเผยแพร่ Identification of project proposals; critiques of quality of life development for persons with disabilities; process of producing a thematic paper; academic ethics project conduct with concern for ethics; writing and presenting project reports; and ethics in presenting and publishing reports

ประมาณการค่าใช้จ่าย ตลอดหลักสตู ร

ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ยในกา หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการพฒั น วิทยาลัยราชสดุ า มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล แผน ก (แบบก2) รายการ จานวน ค่าธรรมเนยี ม คา่ หน่วยกิต ค่าศึกษาดงู าน คา่ อปุ กรณพ์ เิ ศษ คา่ ฝึกภ การศกึ ษา (บาท) นกั ศกึ ษา หน่วยกติ 3,600.00 ภาคฤดรู อ้ นสาหรับ 2 นศ.ใหม่ ปี 1/ ภาค 1 12 7,200.00 21,600.00 2,000.00 - ปี 1/ ภาค 2 10 5,800.00 18,000.00 2,000.00 ภาคฤดรู ้อน 2 3,600.00 4,000.00 รวมปี 1 24 13,000.00 46,800.00 ปี 2 / ภาค 1 12 7,200.00 4,000.00 ปี 2 / ภาค 2 5,800.00 46,800.00 รวมปี 2 12 รวมตลอดหลักสูตร 36 13,000.00 26,000.00 แผน ข รายการ จานวน ค่าธรรมเนียม คา่ หนว่ ยกิต คา่ ศึกษาดงู าน ค่าอปุ กรณพ์ เิ ศษ ค่าฝึกภ นักศกึ ษา หนว่ ยกติ การศึกษา (บาท) 2,000.00 ภาคฤดรู อ้ นสาหรับ 2 3,600.00 2,000.00 นศ.ใหม่ 4,000.00 12 7,200.00 21,600.00 ปี 1/ ภาค 1 10 5,800.00 18,000.00 4,000.00 ปี 1/ ภาค 2 2 3,600.00 ภาคฤดรู อ้ น 24 - 46,800.00 รวมปี 1 18 13,000.00 10,800.00 ปี 2 / ภาค 1 ปี 2 / ภาค 2 12 7,200.00 10,800.00 รวมปี 2 36 5,800.00 57,600.00 รวมตลอดหลกั สูตร 13,000.00 26,000.00

ารเขา้ ศึกษา นาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร (ภาคปกต)ิ ล (รหสั นกั ศกึ ษา 65) ภาคสนาม คา่ วิจัยเพือ่ ค่าลงทะเบยี น รวม ทาวิทยานิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ 3,600.00 4,500.00 50,000.00 9,000.00 4,500.00 9,000.00 30,800.00 50,000.00 18,000.00 25,800.00 - 50,000.00 18,000.00 8,100.00 68,300.00 66,200.00 14,800.00 81,000.00 144,800.00 ภาคสนาม คา่ ลงทะเบยี นสอบ คา่ ลงทะเบยี น ค่าวิจยั เพ่ือ รวม ประมวลความรู้ สารนิพนธ์ ทาสารนิพนธ์ 3,600.00 4,500.00 30,800.00 1,500.00 9,000.00 50,000.00 25,800.00 8,100.00 1,500.00 9,000.00 50,000.00 63,800.00 1,500.00 9,000.00 50,000.00 78,500.00 5,800.00 84,300.00 148,100.00

หมายเหตุ : 1. นกั ศึกษาจะตอ้ งลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธ์/สารนพิ นธใ์ นภาคเรียนท่ี 1 ของช้ันปที ่ี 2 2. หากนกั ศกึ ษาไมส่ ามารถจบการศึกษาภายใน 2 ปกี ารศกึ ษา นกั ศึกษาต้องจา่ ยค่าธรรมเนยี มการศึกษาเพ่อื รักษาสถานภาพ หรือสารนพิ นธผ์ า่ นอยา่ งสมบรู ณ์ ท้งั น้ี กรณี นศ.ทาสารนพิ นธ์ จะต้องสอบประมวลความรู้ หลังจากสอบโครงร่างสารนพิ น 3. กรณีท่ีนกั ศกึ ษาต้องลงทะเบยี นวชิ าภาษาองั กฤษ เพ่ิมเตมิ นกั ศึกษาต้องจา่ ยตามอตั ราทีบ่ ณั ฑติ วทิ ยาลยั กาหนด 4. คา่ ลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธ์ ฉบบั ละ 18,000 บาท สามารถแบง่ ชาระได้ 2 ภาคการศกึ ษา คือ ภาคการศกึ ษาแรกและภาคก 5. ค่าลงทะเบยี นสารนพิ นธ์ (6 หนว่ ยกติ ) หนว่ ยกติ ละ 1,500 บาท และคา่ ลงทะเบยี นสอบประมวลความรู้ (แผน ข) ครั้งละ 6. คา่ ใช้จา่ ยอาจมกี ารเปล่ียนแปลงอกี ท้งั น้ี ขึ้นอยกู่ บั การเรียกเกบ็ ค่าธรรมเนยี มการศึกษาจาก บฑ. และ มม. เนือ่ งจากอาจม 7. อตั ราค่าหนว่ ยกติ รายวชิ าหลักสูตรภาคปกติ หนว่ ยกติ ละ 1,800 บาท 8. การเกบ็ คา่ วจิ ยั เพื่อทาวทิ ยานพิ นธห์ รอื สารนพิ นธ์ จานวน 50,000 บาท ข้ึนยกู่ บั การพจิ ารณาของหลกั สตู ร ทั้งน้นี กั ศึกษาต การศกึ ษาแรกของการลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธห์ รอื สารนพิ นธ์ 9. ค่าธรรมเนยี มการศึกษา หมายถึง คา่ บารุงการศึกษา ค่ากจิ กรรมนกั ศึกษา คา่ บารงุ บณั ฑติ วทิ ยาลัย ค่าบรกิ าร Internet แ 10. การลงทะเบยี นภาคฤดรู ้อนสาหรบั นกั ศกึ ษาใหม่จานวน 2 หนว่ ยกติ เปน็ การลงทะเบยี นรายวชิ าปรบั พนื้ ฐานโดยไมน่ บั หน 11. ค่าธรรมเนยี มศึกษาดูงานและฝกึ ภาคสนามทีป่ รากฏในตารางเปน็ รายวชิ าบงั คับทนี่ กั ศึกษาต้องลงทะเบยี นเรียนและตอ้ งช ตรวจสอบวา่ รายวชิ าดงั กล่าวมีคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาดูงานหรอื ไม่ เพือ่ นกั ศึกษาจะไดช้ าระค่าธรรมเนยี มใหถ้ กู ตอ้ งตามประกาศของมห

พการเปน็ นกั ศึกษา ตามอตั ราค่าธรรมเนยี มการศึกษาในแตล่ ะภาคการศึกษาจนกวา่ จะสอบวทิ ยานพิ นธ์ นธผ์ า่ นแลว้ การศกึ ษาท่ีสองของการลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธ์ ะ 1,500 บาท มีการปรบั อตั ราในบางรายการ ต้องสอบถามอาจารยท์ ป่ี รึกษากอ่ นลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธห์ รอื สารนพิ นธ์ เนื่องจากต้องจา่ ยค่าวจิ ยั ฯ ในภาค และคา่ ประกนั สุขภาพ (เฉพาะนกั ศึกษาต่างชาติ) นว่ ยกติ ชาระคา่ ธรรมเนยี มเพม่ิ เมื่อลงทะเบยี นรายวชิ าดงั กล่าว กรณีทีน่ กั ศกึ ษาลงทะเบยี นรายวชิ าเลือกเสรี ขอให้ หาวทิ ยาลยั จดั ทาโดยงานบรกิ ารการศึกษา วนั ที่ 10 พฤษภาคม 2565

ประมาณการค่าใชจ้ ่ายใน หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการพัฒ วทิ ยาลยั ราชสุดา มหาวทิ ยาลยั มห แผน ก (แบบก2) รายการ จานวน ค่าธรรมเนยี ม คา่ หนว่ ยกิต ค่าศึกษาดูงาน คา่ อปุ กรณ์พเิ ศษ คา่ ฝึกภา การศึกษา (บาท) นักศึกษา หน่วยกิต 5,000.00 ภาคฤดูร้อนสาหรับ 2 นศ.ใหม่ ปี 1/ ภาค 1 12 7,200.00 30,000.00 2,000.00 4 ปี 1/ ภาค 2 10 5,800.00 25,000.00 2,000.00 4 ภาคฤดูรอ้ น 2 5,000.00 4,000.00 24 - 65,000.00 รวมปี 1 12 13,000.00 4,000.00 ปี 2 / ภาค 1 65,000.00 ปี 2 / ภาค 2 12 7,200.00 36 5,800.00 รวมปี 2 13,000.00 รวมตลอดหลกั สตู ร 26,000.00 แผน ข รายการ จานวน คา่ ธรรมเนียม คา่ หน่วยกติ ค่าศกึ ษาดูงาน คา่ อุปกรณ์พิเศษ คา่ ฝกึ ภา นกั ศกึ ษา หนว่ ยกิต การศึกษา (บาท) ภาคฤดูรอ้ นสาหรับ 2 5,000.00 นศ.ใหม่ ปี 1/ ภาค 1 12 7,200.00 30,000.00 2,000.00 5,800.00 25,000.00 2,000.00 ปี 1/ ภาค 2 10 5,000.00 4,000.00 ภาคฤดูรอ้ น 2 - 60,000.00 13,000.00 15,000.00 4,000.00 รวมปี 1 24 7,200.00 15,000.00 ปี 2 / ภาค 1 12 5,800.00 75,000.00 13,000.00 ปี 2 / ภาค 2 26,000.00 รวมปี 2 12 รวมตลอดหลกั สตู ร 36 -

นการเข้าศกึ ษา ฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ (ภาคพเิ ศษ) หิดล (รหัสนักศกึ ษา 65) าคสนาม คา่ วิจัยเพอื่ ทา คา่ ลงทะเบยี น รวม วทิ ยานพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ 5,000.00 4,500.00 50,000.00 9,000.00 4,500.00 9,000.00 39,200.00 50,000.00 18,000.00 32,800.00 4,500.00 50,000.00 18,000.00 9,500.00 86,500.00 66,200.00 14,800.00 81,000.00 167,500.00 าคสนาม ค่าลงทะเบียนสอบ คา่ ลงทะเบียน คา่ วิจัยเพื่อ รวม ประมวลความรู้ สารนิพนธ์ ทาสารนิพนธ์ 5,000.00 4,500.00 1,500.00 9,000.00 50,000.00 - 39,200.00 1,500.00 9,000.00 50,000.00 32,800.00 1,500.00 9,000.00 50,000.00 9,500.00 77,000.00 82,700.00 5,800.00 88,500.00 165,500.00

หมายเหตุ : 1. นักศกึ ษาจะตอ้ งลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธ/์ สารนพิ นธ์ในภาคเรยี นท่ี 1 ของชัน้ ปีที่ 2 2. หากนักศึกษาไมส่ ามารถจบการศกึ ษาภายใน 2 ปกี ารศึกษา นกั ศกึ ษาตอ้ งจา่ ยคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษาเพื่อรกั ษาสถานภ สารนิพนธผ์ า่ นอยา่ งสมบูรณ์ ทง้ั นี้ กรณี นศ.ทาสารนิพนธ์ จะต้องสอบประมวลความรู้ หลงั จากสอบโครงรา่ งสารนพิ นธ 3. กรณีท่นี กั ศึกษาตอ้ งลงทะเบียนวชิ าภาษาองั กฤษ เพมิ่ เติม นกั ศกึ ษาตอ้ งจ่ายตามอัตราท่ีบณั ฑติ วิทยาลยั กาหนด 4. ค่าลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธ์ ฉบับละ 18,000 บาท สามารถแบ่งชาระได้ 2 ภาคการศึกษา คือ ภาคการศกึ ษาแรกและภา 5. ค่าลงทะเบียนสารนพิ นธ์ (6 หน่วยกิต) หน่วยกิตละ 1,500 บาท และค่าลงทะเบียนสอบประมวลความรู้ (แผน ข) ครง้ั 6. ค่าใช้จา่ ยอาจมีการเปลีย่ นแปลงอีก ท้ังน้ี ขึ้นอยู่กบั การเรียกเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาจาก บฑ. และ มม. เน่อื งจากอ 7. อตั ราคา่ หนว่ ยกิตรายวิชาหลกั สตู รภาคพิเศษ หน่วยกิตละ 2,500 บาท 8. การเกบ็ คา่ วจิ ัยเพอื่ ทาวทิ ยานิพนธห์ รือสารนพิ นธ์ จานวน 50,000 บาท ขน้ึ ยู่กบั การพิจารณาของหลักสตู ร ท้งั น้ีนักศึก การศึกษาแรกของการลงทะเบยี นวิทยานพิ นธ์หรือสารนิพนธ์ 9. คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา หมายถงึ คา่ บารงุ การศึกษา คา่ กจิ กรรมนกั ศกึ ษา ค่าบารุงบณั ฑิตวิทยาลยั คา่ บรกิ าร Interne 10. การลงทะเบยี นภาคฤดรู อ้ นสาหรบั นักศกึ ษาใหม่จานวน 2 หน่วยกิต เปน็ การลงทะเบยี นรายวชิ าปรับพื้นฐานโดยไมน่ ับ 11. ค่าธรรมเนยี มศกึ ษาดงู านและฝึกภาคสนามทป่ี รากฏในตารางเปน็ รายวชิ าบังคบั ทนี่ กั ศึกษาตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นและต้อ วา่ รายวิชาดงั กล่าวมีค่าธรรมเนียมการศกึ ษาดูงานหรือไม่ เพือ่ นักศึกษาจะไดช้ าระคา่ ธรรมเนียมให้ถกู ตอ้ งตามประกาศของมหาวทิ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook