Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล-1

การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล-1

Published by สิริกร ถั่วสกุล, 2021-11-01 15:15:12

Description: การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล-1

Search

Read the Text Version

การบัญชีภาษเี งินได้นิติบุคคล รหัสวชิ า 20201-2006 โดย ครูสิริกร ถว่ั สกลุ แผนกวชิ าการบญั ชี วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี

ผู้มหี น้าทเี่ สียภาษเี งนิ ได้นิติบุคคล • ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษเี งินไดน้ ิติบุคคล ไดแ้ ก่ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ที่จดทะเบียนตาม ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และหมายความรวมถึงนิติบุคคลอ่ืน ๆ ท่ีไม่ไดจ้ ดทะเบียนตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยด์ ว้ ย ดงั น้ี (1) บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทต่ี ้ังขนึ้ ตามกฎหมายไทย ไดแ้ ก่ ก. บริษทั จากดั ข. บริษทั มหาชน จากดั ค. หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ง. หา้ งหุน้ ส่วนสามญั จดทะเบียน • (2) บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทต่ี ้งั ขนึ้ ตามกฎหมายต่างประเทศ ซ่ึงมีหนา้ ที่เสียภาษเี งินได้ นิติบุคคลในประเทศไทย กต็ ่อเมื่อเขา้ เงื่อนไขขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ดงั ต่อไปน้ี ก. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศน้นั เขา้ มากระทากิจการในประเทศไทย (มาตรา 66 วรรคแรก แห่งประมวลรัษฎากร) ข. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศน้นั กระทากิจการในที่อื่น ๆ รวมท้งั ใน ประเทศไทย (มาตรา 66 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร) ค. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศน้นั กระทากิจการอ่ืน ๆ รวมท้งั ในประเทศ ไทยและกิจการท่ีกระทาน้นั เป็นกิจการขนส่งระหวา่ งประเทศ (มาตรา 67 แห่งประมวลรัษฎากร) ง. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศน้นั มิไดป้ ระกอบกิจการในประเทศไทย แต่ ไดร้ ับเงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ท่ีจ่ายจากหรือในประเทศไทย (มาตรา 70) จ. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศท่ีเสียภาษเี งินไดน้ ิติบุคคลในประเทศไทย ตามมาตรา 76 วรรคสอง และมาตรา 76 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ไดจ้ าหน่ายเงินกาไรหรือเงินประเภท อ่ืนที่กนั ไวจ้ ากกาไร หรือถือไดว้ า่ เป็นเงินกาไรออกไปจากประเทศไทย (มาตรา 70 ทวิ แห่งประมวล รัษฎากร) ฉ. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศน้นั มิไดเ้ ขา้ มาทากิจการในประเทศไทย โดยตรง หากแต่มีลกู จา้ งหรือผทู้ าการแทนหรือผทู้ าการติดต่อ ในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซ่ึงเป็นเหตุใหไ้ ดร้ ับเงินไดห้ รือผลกาไรในประเทศไทย (มาตรา 76 ทว)ิ

• ผู้มหี น้าทเี่ สียภาษเี งนิ ได้นิติบุคคล • (3) กจิ การซ่ึงดาเนินการเป็ นทางค้า หรือหากาไร โดย ก. รัฐบาลต่างประเทศ ข. องคก์ ารของรัฐบาลต่างประเทศ ค. นิติบุคคลอื่นที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศ • (4) กจิ การร่วมค้า (Joint Venture) ไดแ้ ก่ กิจการท่ีดาเนินการร่วมกนั เป็นทางคา้ หรือหากาไร ระหวา่ ง บุคคลดงั ต่อไปน้ีคือ ก. บริษทั กบั บริษทั ข. บริษทั กบั หา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ค. หา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั หา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ง. บริษทั และหรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั บุคคลธรรมดา จ. บริษทั และหรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั คณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคล ฉ. บริษทั และหรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั หา้ งหุน้ ส่วนสามญั ช. บริษทั และหรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลกบั นิติบุคคลอ่ืน • (5) มูลนิธิหรือสมาคมทปี่ ระกอบกจิ การซึ่งมรี ายได้แต่ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศ กาหนดใหเ้ ป็นองคก์ ารหรือสถานสาธารณกศุ ล • (6) นิติบุคคลทอ่ี ธบิ ดีกาหนดโดยอนุมตั ริ ัฐมนตรีและประกาศในราชกจิ จานุเบกษาใหเ้ ป็นบริษทั หรือหา้ ง หุน้ ส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร

นิตบิ ุคคลทไ่ี ม่ต้องเสียภาษเี งนิ ได้ • นิติบุคคลอื่น ๆ นอกจากท่ีกล่าวในขา้ งตน้ และเฉพาะที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย เช่น กระทรวง ทบวง กรม องคก์ าร ของรัฐบาลหรือสหกรณ์ ไม่มีหนา้ ท่ีตอ้ งเสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลแต่อยา่ งใด • อยา่ งไรกต็ าม ยงั มีนิติบุคคลอีกบางประเภทท่ีเขา้ ลกั ษณะตอ้ งเสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลตาม ประมวลรัษฎากร แต่ไดร้ ับการยกเวน้ ตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายต่าง ๆ ไดแ้ ก่ • (1) บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลตามขอ้ ผกู พนั ที่ประเทศไทยมีอยตู่ ามสญั ญาวา่ ดว้ ย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหวา่ งรัฐบาลไทยกบั รัฐบาลต่างประเทศ • (2) บริษทั จากดั ท่ีไดร้ ับการยกเวน้ ภาษีเงินไดต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสริมการลงทุน • (3) บริษทั จากดั และนิติบุคคลที่มีสภาพเช่นเดียวกบั บริษทั จากดั ซ่ึงต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย หรือกฎหมายต่าง ประเทศไดร้ ับการยกเวน้ ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลตามพระราชบญั ญตั ิภาษีเงินได้ ปิ โตรเลียม • (4) บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่อยใู่ นประเทศที่มีอนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการเวน้ การเกบ็ ภาษีซอ้ นกบั ประเทศไทย ตามเงื่อนไขท่ีกาหนดในอนุสญั ญา

ฐานภาษขี องภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคล • ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล คานวณจากเงินไดท้ ี่ใชเ้ ป็นหลกั ฐานในการคานวณภาษีคูณดว้ ย อตั ราภาษีท่ีกาหนด ดงั น้นั เงินไดท้ ่ีตอ้ งเสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลหรือฐานภาษีเงินได้ นิติบุคคลน้นั โดยทวั่ ไปไดแ้ ก่กาไรสุทธิที่คานวณตาม เง่ือนไขที่กาหนด แต่เพื่อ ความเป็นธรรมและอุดช่องวา่ งในการจดั เกบ็ ภาษีเงินได้ จึงไดม้ ี การบญั ญตั ิจดั เกบ็ ภาษีเงินได้ นิติบุคคล จากเงินไดห้ รือฐานภาษี ที่แตกต่างกนั ดงั น้ี • (1) กาไรสุทธิ • (2) ยอดรายไดก้ ่อนหกั รายจ่าย (3) เงินไดท้ ี่จ่ายจากหรือในประเทศไทย (4) การจาหน่ายเงินกาไรออกไปจากประเทศไทย

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.1 ผ้มู ีหน้าที่เสียภาษเี งนิ ได้จากกาไรสุทธิ 1) บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบิ คุ คลท่ตี งั้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย ก. บริษัท จำกดั ข. บริษัทมหำชน จำกดั ค. ห้ำงห้นุ สว่ น จำกดั ง. ห้ำงห้นุ สว่ นสำมญั จดทะเบยี น ในกรณีทบ่ี ริษัทห้ำงห้ำงห้นุ สว่ นนิตบิ คุ คลทต่ี งั ้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยไทยมสี ำขำไมว่ ำ่ จะอยู่ในหรือนอก ประเทศไทย จะต้องนำกำไรสทุ ธิของสำขำมำรวมกำไรสทุ ธิของสำนกั งำนใหญ่เพื่อเสียภำษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คลใน ประเทศไทย (2) บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบิ คุ คลท่ตี งั้ ขนึ้ ตามกฎหมายของต่างประเทศ บริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนติ ิบคุ คลทตี่ งั้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยของตำ่ งประเทศ และมีหน้ำท่เี สียภำษีเงินได้นิติบคุ คลใน ประเทศไทย ได้แก่ (ก) บริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนิติบคุ คลทีต่ งั ้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยของตำ่ งประเทศและกระทำกิจกำรในทอ่ี น่ื ๆ รวมทงั ้ ใน ประเทศไทย ได้แก่ บริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนิตบิ คุ คลทีต่ งั ้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยของตำ่ งประเทศดงั กลำ่ ว จะต้องนำกำไรสทุ ธิเฉพำะ ท่ี ได้จำกกำรกระทำกิจกำรในประเทศไทยมำเสยี ภำษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คล (ข) บริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนิติบคุ คล ซง่ึ ตงั ้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยของตำ่ งประเทศมลี กู จ้ำงหรือผู้ทำกำรแทน หรือผ้ทู ำ กำรตดิ ตอ่ ในกำรประกอบกิจกำรในประเทศไทย ซง่ึ เป็ นเหตใุ ห้ได้รับเงินได้หรือผลกำไรในประเทศไทย ให้ถือวำ่ บคุ คลผู้ จ้ำงเป็ นลกู จ้ำง หรือผ้ทู ำกำรแทน หรือผ้ทู ำกำรติดตอ่ เชน่ วำ่ นนั้ ไมว่ ำ่ จะเป็นบคุ คลธรรมดำหรือนติ บิ คุ คล เป็ นตวั แทนของ บริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนิตบิ คุ คล ซง่ึ ตงั้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยของตำ่ งประเทศและให้บคุ คลนนั้ มหี น้ำที่และ ควำมรับผิดชอบใน กำรยนื่ รำยกำรและเสยี ภำษีเงินได้เฉพำะทีเ่ กี่ยวกบั เงนิ ได้หรือผลกำไรดงั กลำ่ ว (3) กจิ การซ่ึงดาเนินการเป็ นทางการค้าหรือหากาไรโดยรัฐบำลตำ่ งประเทศองค์กำรของรัฐบำลตำ่ งประเทศ หรือนติ ิบคุ คลอนื่ ที่ตงั ้ ขนึ ้ ตำมกฎหมำยของตำ่ งประเทศ (4) กิจการร่วมค้า

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.2 รอบระยะเวลาบญั ชี • ผมู้ ีหนา้ ท่ีเสียภาษจี ากกาไรสุทธิ ตอ้ งคานวณกาไรสุทธิ จากรายไดจ้ ากกิจการ หรือเนื่องจาก กิจการที่กระทา ในรอบระยะเวลาบญั ชี หกั ดว้ ยรายจ่ายตามเง่ือนไขที่ระบุไวใ้ นมาตรา65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี ซ่ึงประมวล รัษฎากรไดก้ าหนดรอบระยะเวลาบญั ชีหน่ึงๆ ไวด้ งั น้ี (1) รอบระยะเวลาบญั ชีโดยทวั่ ไปตามบทบัญญตั มิ าตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร รอบระยะเวลาบญั ชี สาหรับการคานวณภาษเี งินไดน้ ิติบุคคล จะตอ้ งเท่ากบั 12 เดือน โดยจะเร่ิมตน้ และสิ้นสุดลงเม่ือใดกไ็ ด้ (2) รอบระยะเวลาบัญชีซ่ึงน้อยกว่า 12 เดอื น กรณีท่ีกฎหมายยอมใหร้ อบระยะเวลาบญั ชีนอ้ ยกวา่ 12 เดือน ได้ มีเฉพาะกรณีดงั ต่อไปน้ี คือ ก. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลเริ่มต้งั ใหม่ จะถือวนั เร่ิมต้งั ถึงวนั หน่ึงวนั ใดเป็นรอบระยะ เวลา บญั ชีแรกกไ็ ด้ แต่รอบระยะเวลาบญั ชีต่อไปตอ้ งเท่ากบั 12 เดือน ข. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลอาจยน่ื คาร้องขอเปล่ียนวนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชีกไ็ ด้ ตามท่ีอธิบดีกรมสรรพากรจะเห็นสมควรและส่ังอนุญาตซ่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีแรกที่ไดร้ ับอนุญาตให้ เปลี่ยนจะนอ้ ยกวา่ 12 เดือน ค. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีเลิกกนั ใหถ้ ือเอาวนั ที่เจา้ พนกั งานจดทะเบียนเลิกเป็น วนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชี ง. บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลควบเขา้ กนั ใหถ้ ือวา่ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลน้นั เลิกกนั รอบระยะเวลาบญั ชีท่ีควบเขา้ กนั จึงเป็นไปตาม (ค) ซ่ึงอาจนอ้ ยกวา่ 12 เดือน ในกรณีท่ีบริษทั เลิกกิจการและยงั ชาระบญั ชี ไม่เสร็จ หากมีกาไรสุทธิเกิดข้ึน จะตอ้ งนามาเสียภาษเี งิน ได้ นิติบุคคลเพราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยถ์ ือวา่ บริษทั ยงั มีสภาพเป็นนิติบุคคลอยตู่ ราบเท่าท่ียงั ชาระบญั ชีไม่เสร็จสิ้น (3) รอบระยะเวลาบญั ชีมากกว่า 12 เดอื น รอบระยะเวลาบญั ชีอาจขยายออกไปมากกวา่ 12 เดือนกไ็ ด้ ใน กรณีที่บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติ บุคคลเลิกกิจการ หากผชู้ าระบญั ชี และผจู้ ดั การไม่สามารถยนื่ รายการ และเสีย ภาษีไดภ้ ายใน 150 วนั นบั แต่วนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชีแลว้ ถา้ ไดย้ น่ื คารอ้ งต่ออธิบดี ภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ท่ีเจา้ พนกั งานรับจดทะเบียนเลิก อธิบดีกรมสรรพากรอาจพิจารณาอนุมตั ิใหข้ ยาย รอบระยะเวลาบญั ชีออกไปได้ ซ่ึงรอบระยะ เวลาบญั ชีรอบน้ีอาจเกิน 12 เดือนกไ็ ด)้

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.3 กาไรสุทธิเพอื่ เสียภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคล • ตามประมวลรัษฎากรไดก้ าหนดใหบ้ ริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลเสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล จากกาไรสุทธิ ซ่ึงคานวณไดจ้ ากรายไดจ้ ากกิจการหรือเน่ืองจากกิจการที่กระทาในรอบ ระยะเวลาบญั ชีตามท่ีกาหนดไวใ้ นมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร การคานวณกาไรสุทธิเพ่ือเสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลจะตอ้ งใชเ้ กณฑส์ ิทธิ หมายถึง ใหน้ ารายไดท้ ่ี เกิดข้ึนในรอบระยะเวลาบญั ชีใด แมว้ า่ จะยงั ไม่ไดร้ ับชาระในรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั มารวม คานวณเป็นรายไดใ้ นรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั และใหน้ ารายจ่ายท้งั สิ้นท่ีเกี่ยวกบั รายไดน้ ้นั แม้ จะยงั มิไดจ้ ่ายในรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั มารวมคานวณเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั ในกรณีจาเป็นผมู้ ีเงินไดจ้ ะขออนุมตั ิต่ออธิบดีเพื่อเปล่ียนแปลงเกณฑส์ ิทธิและวิธีการทางบญั ชี เพื่อคานวณรายไดแ้ ละรายจ่ายตามเกณฑอ์ ่ืนกไ็ ด้ และเม่ือไดร้ ับอนุมตั ิแลว้ ใหถ้ ือปฏิบตั ิต้งั แต่ รอบระยะเวลาบญั ชีที่อธิบดีกาหนดเป็นตน้ ไป

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอื่ นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ (1) รายจ่ายตามมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ถือเป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ มทางภาษี ในทางบญั ชีรายจ่าย บางรายการถือเป็นรายจ่ายได้ แต่ในทางภาษีรายจ่ายดงั กล่าว ตอ้ งนามาบวกกลบั เพ่ือคานวณกาไรสุทธิ (2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพยส์ ิน เป็นการหกั ค่าใชจ้ ่ายสินทรัพยถ์ าวรในแต่ละปี เนื่องจาก สินทรัพยถ์ าวรมีตน้ ทุนสูง และใชง้ านไดเ้ กินกวา่ 1 รอบระยะเวลาบญั ชี โดยหลกั การจึงสามารถตดั เป็น รายจ่ายไดใ้ นแต่ละปี เป็นค่าเส่ือมราคา หลกั เกณฑก์ ารคิดค่าเสื่อมราคา มีดงั น้ี ข้อ 1 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจะตอ้ งไม่เกินอตั ราร้อยละของมลู ค่าตน้ ทุนตามประเภท ของทรัพยส์ ิน ดงั ต่อไปน้ี

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ • ข้อ 2 บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลจะตอ้ งหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาโดยเลือกใชว้ ธิ ีการทาง บญั ชีที่รับรองทวั่ ไป ซ่ึงจะใชว้ ธิ ีใดวธิ ีหน่ึงกไ็ ด้ แต่จานวนปี อายกุ ารใชข้ องทรัพยส์ ินตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ 100 หารดว้ ยจานวนร้อยละท่ีกาหนด โดยเมื่อไดเ้ ลือกใชว้ ธิ ีการทางบญั ชีท่ีรับรองทวั่ ไปและอตั ราท่ีจะหกั อยา่ ง ใดแลว้ ใหใ้ ชว้ ธิ ีการทางบญั ชีและอตั ราน้นั ตลอดไป จะเปลี่ยนแปลงไดต้ ่อเม่ือไดร้ ับอนุมตั ิจากอธิบดี กรมสรรพากรหรือผทู้ ี่อธิบดีกรมสรรพากรมอบหมาย ในกรณีไดร้ ับอนุมตั ิใหเ้ ปล่ียนแปลงไดแ้ ละใหถ้ ือ ปฏิบตั ิต้งั แต่รอบระยะเวลาบญั ชีท่ีไดร้ ับอนุมตั ิน้นั • ข้อ 3 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ใหค้ านวณตามส่วนเฉล่ียแห่งระยะเวลาท่ีไดท้ รัพยส์ ิน น้นั มาในแต่ละรอบระยะเวลาบญั ชี ในกรณีที่รอบระยะเวลาบญั ชีใดไม่เตม็ 12 เดือนใหเ้ ฉล่ียหกั ตามส่วน สาหรับรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั ท้งั น้ี ไม่เกินอตั ราร้อยละของมูลค่าตน้ ทุนตามประเภทของทรัพยส์ ิน ดงั กล่าวขา้ งตน้ โดยใหเ้ ฉล่ียเป็นวนั เช่น บริษทั แห่งหน่ึง มีรอบระยะเวลาบญั ชีปกติตามปี ปฏิทิน ไดซ้ ้ือ เครื่องจกั ร มูลค่า 500,000 บาท เม่ือวนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2539 คานวณค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของ เครื่องจกั ร ดงั น้ี ค่าเสื่อมราคา ในปี 2539 = 500,000 x 20/100 x 31/365 = 8,493.15 บาท ปกติทรัพยส์ ินอยา่ งอ่ืนหกั ค่าเส่ือมราคาไดร้ ้อยละ 20 ของมูลค่า นน่ั หมายถึง ได้ ทรัพยส์ ินน้นั มาเตม็ รอบระยะเวลาบญั ชี ข้อ 4 กรณีทรัพยส์ ินท่ีไดม้ าโดยการเช่าซ้ือหรือซ้ือขายเงินผอ่ น ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ของทรัพยส์ ินตามราคามูลค่าตน้ ทุน คือ ราคาที่พงึ ตอ้ งชาระท้งั หมดตามสัญญาเช่าซ้ือหรือสัญญาซ้ือขาย เงินผอ่ น แต่ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาท่ีจะนามาหกั ในรอบระยะเวลาบญั ชีจะตอ้ งไม่เกินค่าเช่าซ้ือหรือ ราคาท่ีตอ้ งผอ่ นชาระในรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั • ข้อ 5 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคา สาหรับทรัพยส์ ินไม่วา่ ในกรณีใดจะหกั จนหมดมลู ค่า ตน้ ทุนของทรัพยส์ ินน้นั ไม่ได้ โดยใหค้ งเหลือมูลค่าของทรัพยส์ ินน้นั เป็นจานวนเงินอยา่ งนอ้ ย 1 บาท เวน้ แต่ ทรัพยส์ ินประเภทรถยนตโ์ ดยสารท่ีมีท่ีนงั่ ไม่เกิน 10 คน หรือรถยนตน์ ง่ั ท่ีมีมลู ค่าตน้ ทุนเกิน 1 ลา้ น บาท ใหค้ งเหลือมูลค่าตน้ ทุนของทรัพยส์ ินเท่ากบั มลู ค่าตน้ ทุนส่วนท่ีเกิน 1 ลา้ นบาท • ข้อ 6 ทรัพยส์ ินประเภทรถยนตโ์ ดยสารท่ีมีท่ีนงั่ ไม่เกิน 10 คน หรือรถยนตน์ งั่ ใหห้ กั ค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าตน้ ทุน เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ลา้ นบาท เวน้ แต่ เป็นทรัพยส์ ินซ่ึงมีไวใ้ ชใ้ น กิจการใหเ้ ช่ารถยนต์ ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาจากมลู ค่าตน้ ทุนท้งั หมด ท้งั น้ี บริษทั หรือหา้ ง หุน้ ส่วนนิติบุคคลจะตอ้ งไม่นาทรัพยส์ ินดงั กล่าวไปใชใ้ นกิจการอื่น ไม่วา่ ท้งั หมดหรือบางส่วน

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอื่ นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ ข้อ 7 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพยส์ ินประเภทเคร่ืองจกั ร และอุปกรณ์เคร่ืองจกั รท่ีใช้ สาหรับการวจิ ยั และพฒั นา ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบ้ืองตน้ ในวนั ท่ีไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั รา ร้อยละ 40 ของมูลค่าตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนท่ีเหลือใหห้ กั ตามเงื่อนไขและอตั ราท่ีกาหนดไวใ้ น ตารางขอ้ 1 ทรัพยส์ ินดงั กล่าวจะตอ้ งมีลกั ษณะและเป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนไขดงั ต่อไปน้ี (1) ตอ้ งไม่เป็นเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ของเครื่องจกั รท่ีใชผ้ ลิตสินคา้ หรือใชบ้ ริการ เวน้ แต่ เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ของเคร่ืองจกั รดงั กล่าวไดใ้ ชเ้ พอ่ื การดงั ต่อไปน้ี (ก) การวจิ ยั และพฒั นาผลิตภณั ฑห์ รือวตั ถุดิบท่ีนามาใชใ้ นการผลิต (ข) การทดสอบคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ หรือ (ค) การปรับปรุงกรรมวธิ ีการผลิตเพื่อลดตน้ ทุนการผลิตหรือเพ่ิมผลผลิต ท้งั น้ี ไม่วา่ จะ ใชเ้ พื่อกิจการของตนเองหรือกิจการของผอู้ ื่น (2) ตอ้ งเป็นเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ของเคร่ืองจกั รท่ีไม่เคยผา่ นการใชง้ านมาก่อน โดยมีอายุ การใชง้ านไดต้ ้งั แต่ 2 ปี ข้ึนไป และมีมูลค่าตน้ ทุนไม่ต่ากวา่ 100,000 บาท (3) ตอ้ งแจง้ การใชเ้ คร่ืองจกั รและอุปกรณ์ของเคร่ืองจกั รเพือ่ การวจิ ยั และพฒั นาตาม (1) โดย ใชแ้ บบ ค.จ.01 พร้อมกบั แนบเอกสารหลกั ฐานประกอบตามที่กาหนดไวใ้ นประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เก่ียวกบั ภาษีเงินได้ (ฉบบั ท่ี 48) ต่ออธิบดีกรมสรรพากรภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ท่ีใชเ้ ครื่องจกั รและอุปกรณ์ ของเคร่ืองจกั รน้นั ข้อ 8 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาทรัพยส์ ินประเภทเคร่ืองบนั ทึกการเกบ็ เงินอาจเลือกหกั ค่า สึกหรอและค่าเสื่อมราคาในอตั ราร้อยละ 100 ของมูลค่าตน้ ทุนตามเงื่อนไขท่ีกาหนดไวใ้ นขอ้ 1 กไ็ ด้ หรือ เลือกหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบ้ืองตน้ ในอตั ราร้อยละ 40 ของมูลค่าตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนที่ เหลือใหห้ กั ตามเง่ือนไขและอตั ราที่กาหนดไวใ้ นตารางขอ้ 1 กไ็ ด้ ทรัพยส์ ินดงั กล่าวจะตอ้ งมีลกั ษณะและ เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละเง่ือนดงั ต่อไปน้ี (1) ตอ้ งเป็นทรัพยส์ ินของผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ซ่ึงประกอบกิจการคา้ ปลีกหรือประกอบกิจการอยา่ งอ่ืนซ่ึงมิใช่การคา้ ปลีกที่อธิบดีกรมสรรพากรอนุมตั ิใหใ้ ชเ้ ครื่องบนั ทึกการเกบ็ เงิน ในการออกใบกากบั ภาษีอยา่ งยอ่ แลว้ แต่กรณี (2) ตอ้ งเป็นเครื่องบนั ทึกการเกบ็ เงินที่มีลกั ษณะตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกาหนด แต่ไม่รวมถึงส่วนระบบควบคุมกลางของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (3) ตอ้ งแจง้ การใชเ้ คร่ืองบนั ทึกการเกบ็ เงินใน การออกใบกากบั ภาษอี ยา่ งยอ่ ต่ออธิบดีกรมสรรพากรตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกาหนด ภายในเวลา 30 วนั นบั แต่วนั ท่ีไดร้ ับอนุมตั ิใหใ้ ชเ้ คร่ืองบนั ทึกการเกบ็ เงิน

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ • ข้อ 9 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพยส์ ินประเภทคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ของ คอมพวิ เตอร์ท่ีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลซ้ือหรือไดร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิเพ่ือมีไวใ้ นการประกอบ กิจการของตนเอง ใหห้ กั ไดด้ งั ต่อไปน้ี (1) ภายใน 3 รอบระยะเวลาบญั ชี นบั แต่วนั ท่ีไดท้ รัพยส์ ินน้นั มา ในกรณีที่รอบระยะเวลา บญั ชีใดไม่เตม็ 12 เดือน ใหเ้ ฉล่ียตามส่วนสาหรับรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั โดยจะเลือกใชว้ ธิ ีการทางบญั ชีท่ี รับรองทวั่ ไปวธิ ีใดกไ็ ด้ (2) กรณีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่มีสินทรัพยถ์ าวรซ่ึงไม่รวมท่ีดินไม่เกิน 200 ลา้ นบาท และมีการจา้ งแรงงานไม่เกิน 200 คน หรือตามหลกั เกณฑท์ ่ีอธิบดีประกาศกาหนดข้ึนภายหลงั ให้ หกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบ้ืองตน้ ในวนั ที่ไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั ราร้อยละ 40 ของมูลค่าตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนที่เหลือใหห้ กั ตามเงื่อนไขและอตั ราที่กาหนดไวใ้ น (1) ทรัพยส์ ินประเภทคอมพวิ เตอร์ตามวรรคหน่ึง หมายถึง เครื่องอิเลก็ ทรอนิกส์แบบ อตั โนมตั ิทาหนา้ ท่ีเสมือนสมองกลใชส้ าหรับแกป้ ัญหาต่าง ๆ ท้งั ท่ีง่ายและซบั ซอ้ น โดยวธิ ีทาง คณิตศาสตร์ และอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ หมายถึง เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ เคร่ืองช่วย หรือเคร่ืองประกอบ กบั คอมพวิ เตอร์รวมท้งั โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพอื่ ใหค้ อมพิวเตอร์ใชง้ านไดต้ ามวตั ถุประสงค์ (แกไ้ ข เพิม่ เติม โดย พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 473) พ.ศ. 2551 ใชบ้ งั คบั 7 สิงหาคม 2551) • ข้อ 10 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพยส์ ินประเภทอาคารโรงงานที่บริษทั หรือหา้ ง หุน้ ส่วนนิติบุคคลที่มีสินทรัพยถ์ าวรซ่ึงไม่รวมท่ีดินไม่เกิน 200 ลา้ นบาท และมีการจา้ งแรงงานไม่เกิน 200 คน หรือตามหลกั เกณฑท์ ี่อธิบดีประกาศกาหนดข้ึนภายหลงั ซ้ือหรือไดร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิเพอ่ื มีไวใ้ นการ ประกอบกิจการของตนเอง ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบ้ืองตน้ ในวนั ท่ีไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั รา ร้อยละ 25 ของมูลค่าตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนที่เหลือใหห้ กั ตามเง่ือนไขและอตั ราที่กาหนดไว้ การหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยส์ ินประเภทเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ของ เครื่องจกั รท่ีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีมีสินทรัพยถ์ าวรซ่ึงไม่รวมท่ีดินไม่เกิน 200 ลา้ นบาท และมี การจา้ งแรงงานไม่เกิน 200 คน หรือตามหลกั เกณฑท์ ่ีอธิบดีประกาศกาหนดข้ึนภายหลงั ซ้ือหรือไดร้ ับโอน กรรมสิทธ์ิเพือ่ มีไวใ้ นการประกอบกิจการของตนเอง ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบ้ืองตน้ ในวนั ที่ได้ ทรัพยส์ ินน้นั มาในอตั ราร้อยละ 40 ของมูลค่าตน้ ทุนสาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนท่ีเหลือใหห้ กั ตามเง่ือนไข และอตั ราท่ีกาหนดไว้

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ • ข้อ 11 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยส์ ินประเภทอาคารถาวรที่บริษทั ที่เป็นสานกั งาน ปฏิบตั ิการภูมิภาค (ROH) ซ้ือหรือไดร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิเพอื่ มีไวใ้ นการประกอบกิจการของกิจการของตนเอง ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบ้ืองตน้ ในวนั ที่ไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั ราร้อยละ 25 ของมูลค่าตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนท่ีเหลือให้หกั ตามเง่ือนไขและอตั ราทว่ั ไปที่กาหนดไว้ ท้งั น้ี เฉพาะทรัพยส์ ินที่ไดม้ า ต้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2545 • ข้อ 12 ใหบ้ ริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล สามารถหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบ้ืองตน้ ของ ทรัพยส์ ินประเภทเคร่ืองจกั รและอปุ กรณ์ที่ใชผ้ ลิตสินคา้ หรือใหบ้ ริการ ในวนั ที่ไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั ราร้อย ละ 40 ของมูลค่าตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนท่ีเหลือใหห้ กั ตามอตั ราปกติ ท้งั น้ี ทรัพยส์ ินจะตอ้ งไดม้ าและ พร้อมใชง้ านไดภ้ ายในวนั ที่ 31 ธนั วาคม 2553 (ตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 473) พ.ศ. 2551) • ข้อ 13 ใหบ้ ริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีมีทรัพยส์ ินถาวรไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ลา้ นบาท และจา้ ง แรงงานไม่เกิน 200 คน สามารถเลือกหกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพยส์ ินไดใ้ นอตั รา ร้อยละ 100 ของมลู ค่าตน้ ทุน โดยมลู ค่าตน้ ทุนของทรัพยส์ ินดงั กล่าวรวมกนั แลว้ ตอ้ งไม่เกิน 500,000 บาท ในหน่ึงรอบ ระยะเวลาบญั ชี (ท้งั น้ี ใชส้ าหรับทรัพยส์ ินตามมาตรา 4(5) แห่ง พ.ร.ฎ. (ฉบบั ท่ี 145) พ.ศ. 2527 แกไ้ ขโดย พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 473) พ.ศ. 2551 โดยทรัพยส์ ินจะตอ้ งไดม้ าและพร้อมใชง้ านไดภ้ ายในวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2553) • ข้อ 14 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยส์ ินอยา่ งอื่นตามมาตรา 4(5) ของ พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 145) แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะที่บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลซ่ึงเป็นผปู้ ระกอบอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวตาม กฎหมายวา่ ดว้ ยการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยซ้ือหรือไดร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิเพือ่ มีไวใ้ ชใ้ นการประกอบกิจการ ของตนเองใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบ้ืองตน้ ในวนั ท่ีไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั ราร้อยละ 60 ของมลู ค่า ตน้ ทุน สาหรับมูลค่าตน้ ทุนส่วนท่ีเหลือใหห้ กั ตามเงื่อนไขและอตั ราท่ีกาหนดไว้ (ตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ที่ 505) พ.ศ. 2553) • ข้อ 15 การหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยส์ ินประเภทเคร่ืองจกั รท่ีใชใ้ นการผลิตสินคา้ หรือ ใหบ้ ริการรับจา้ งผลิตสินคา้ ที่บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลซ่ึงอยใู่ นพ้ืนที่ท่ีทางราชการประกาศใหเ้ ป็นพ้นื ที่ ท่ีเกิดอทุ กภยั และไดร้ ับความเสียหายจากอทุ กภยั ในระหวา่ งวนั ที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2555 ไดซ้ ้ือหรือไดร้ ับโอนกรรมสิทธ์ิเพอื่ มีไวใ้ นการประกอบกิจการของตนเอง ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา เบ้ืองตน้ ในวนั ที่ไดท้ รัพยส์ ินน้นั มาในอตั ราร้อยละ 40 ของมลู ค่าตน้ ทุน สาหรับมลู ค่าตน้ ทุนส่วนที่เหลือ ใหห้ กั ตามเงื่อนไขและอตั ราที่กาหนดไว้ ท้งั น้ี เฉพาะทรัพยส์ ินท่ีไดม้ าและอยใู่ นสภาพพร้อมท่ีจะใชง้ านไดต้ าม วตั ถุประสงค์ ต้งั แต่วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2555 (ตาม พ.ร.ฎ. (ฉบบั ท่ี 537) พ.ศ. 2555)

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ • (3) การตรี าคาทรัพย์สิน ราคาทรัพยส์ ินอ่ืนนอกจากราคาสินคา้ คงเหลือ ใหถ้ ือตามราคาท่ีพงึ ซ้ือทรัพยส์ ินน้นั ไดต้ ามปกติ และใน กรณีท่ีมีการตีราคาทรัพยส์ ินเพ่มิ ข้ึน หา้ มมิใหน้ าราคาที่ตีราคาเพม่ิ ข้ึนมารวมคานวณกาไรสุทธิหรือขาดทุน สุทธิ ส่วนทรัพยส์ ินรายการใดมีสิทธิหกั ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคา ใหห้ กั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาใน การคานวณกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข และอตั ราเดิมที่ใชอ้ ยกู่ ่อนตีราคา ทรัพยส์ ินเพิม่ ข้ึน โดยใหห้ กั เพียงเท่าที่ระยะเวลาและมลู ค่าตน้ ทุนท่ีเหลืออยสู่ าหรับทรัพยส์ ินน้นั เท่าน้นั • (4) การโอนทรัพย์สิน ในกรณีโอนทรัพยส์ ิน ใหบ้ ริการ หรือใหก้ ยู้ มื เงินโดยไม่มีค่าตอบแทน ค่าบริการหรือดอกเบ้ีย หรือมี ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบ้ียต่ากวา่ ราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอนั สมควร เจา้ พนกั งานประเมินมีอานาจ ประเมินค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบ้ียน้นั ตามราคาตลาดในวนั ที่โอน ใหบ้ ริการ หรือใหก้ ยู้ มื เงินได้ เช่น บริษทั แห่งหน่ึง จาหน่ายรถยนตซ์ ่ึงมีราคา 100,000 บาท ซ่ึงเป็นราคาตลาด ใหก้ บั ผจู้ ดั การบริษทั ในราคา 10,000 บาท เจา้ พนกั งานประเมินมีอานาจประเมินราคาขายรถยนตใ์ หเ้ ท่ากบั ราคาตลาดได้ ราคาตลาด หมายความวา่ ราคาของค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบ้ีย ซ่ึงคู่สญั ญาท่ีเป็นอิสระต่อกนั พงึ กาหนดโดยสุจริตในทางการคา้ กรณีโอนทรัพยส์ ิน ใหบ้ ริการ หรือใหก้ ยู้ มื เงินท่ีมีลกั ษณะ ประเภท และ ชนิดเช่นเดียวกนั ณ วนั ที่โอนทรัพยส์ ิน ใหบ้ ริการ หรือใหก้ ยู้ มื เงิน • (5) การคานวณมูลค่าของทรัพย์สินและหนีส้ ิน ซึ่งมคี ่าหรือราคาเป็ นเงนิ ตราต่างประเทศ เงินตรา ทรัพยส์ ิน หรือหน้ีสินซ่ึงมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศที่เหลืออยใู่ นวนั สุดทา้ ยของรอบ ระยะเวลาบญั ชีใหค้ านวณค่าหรือราคาเป็นเงินตราไทย ดงั น้ี (ก) กรณีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลนอกจาก (ข) ใหค้ านวณค่าหรือราคาของเงินตราหรือ ทรัพยส์ ินเป็นเงินตราไทยตามอตั ราถวั เฉล่ียท่ีธนาคารพาณิชยร์ ับซ้ือ ซ่ึงธนาคารแห่งประเทศไทยไดค้ านวณ ไว้ และใหค้ านวณค่าหรือราคาของหน้ีสินเป็นเงินตราไทยตามอตั ราถวั เฉล่ียที่ธนาคารพาณิชยข์ ายซ่ึง ธนาคาร แห่งประเทศไทยไดค้ านวณไว้ (ข) กรณีธนาคารพาณิชยห์ รือสถาบนั การเงินอื่นตามที่รัฐมนตรีกาหนด ใหค้ านวณค่าหรือราคาของ เงินตรา ทรัพยส์ ิน หรือหน้ีสินเป็นเงินตราไทยตามอตั ราถวั เฉลี่ยระหว่างอตั ราซ้ือและอตั ราขายของธนาคาร พาณิชยท์ ี่ธนาคารแห่งประเทศไทยไดค้ านวณไว้ • เงินตรา ทรัพยส์ ิน หรือหน้ีสิน ซ่ึงมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศที่รับมาหรือจ่ายไปในระหวา่ ง รอบระยะเวลาบญั ชี ใหค้ านวณค่าหรือราคาเป็นเงินตราไทยตามราคาตลาดในวนั ที่รับมาหรือจ่ายไปน้นั

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ • (6) การตรี าคาสินค้าคงเหลอื ราคาสินคา้ คงเหลือในวนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชี ใหค้ านวณตามราคาทุนหรือราคาตลาด แลว้ แต่อยา่ งใดจะนอ้ ยกวา่ และใหถ้ ือราคาน้ีเป็นราคาสินคา้ คงเหลือยกมาสาหรับรอบระยะเวลาบญั ชีใหม่ ดว้ ย การคานวณราคาทุนดงั กล่าว เม่ือไดค้ านวณตามหลกั เกณฑใ์ ดตามวธิ ีการทางบญั ชีแลว้ ใหใ้ ช้ หลกั เกณฑน์ ้นั ตลอดไป เวน้ แต่ จะไดร้ ับอนุมตั ิจากอธิบดีกรมสรรพากรจึงจะเปล่ียนหลกั เกณฑไ์ ด้ • (7) การคานวณราคาทุนของสินค้าทสี่ ่งเข้ามาจากต่างประเทศ เจา้ พนกั งานประเมินมีอานาจประเมิน โดยเทียบเคียงกบั ราคาทุนของสินคา้ ประเภทและชนิด เดียวกนั ท่ีส่งเขา้ ไปในประเทศอื่นได้ • (8) การคานวณราคาทนุ ของสินค้าเป็ นเงินตราต่างประเทศ ถา้ ราคาทุนของสินคา้ เป็นเงินตราต่างประเทศ ใหค้ านวณเป็นเงินตราไทยตามอตั ราแลกเปลี่ยนใน ทอ้ งตลาดของวนั ที่ไดส้ ินคา้ น้นั มา เวน้ แต่ เงินตราต่างประเทศน้นั จะแลกไดใ้ นอตั ราทางราชการกใ็ ห้ คานวณเป็นเงินตราไทยตามอตั ราทางราชการน้นั • (9) การจาหน่ายหนีส้ ูญ การจาหน่ายหน้ีสูญจากบญั ชีลูกหน้ีสามารถกระทาไดต้ ่อเมื่อเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และ เงื่อนไขท่ีกาหนดโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 186 (พ.ศ. 2534) แต่ถา้ ไดร้ ับชาระหน้ีในรอบระยะเวลาบญั ชี ใดใหน้ ามาคานวณเป็นรายไดใ้ นรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั หน้ีสูญรายใดไดน้ ามาคานวณเป็นรายไดแ้ ลว้ หากไดร้ ับชาระในภายหลงั กม็ ิใหน้ ามาคานวณเป็นรายไดอ้ ีก เช่น หา้ งฯ ใหล้ กู คา้ เช่าซ้ือสินคา้ โดยมี มูลค่าเช่าซ้ือแต่ละรายไม่ถึง 100,000 บาท และลูกคา้ และผคู้ ้าประกนั ไดน้ าสินคา้ ไปขายต่อแลว้ หลบหนี ไป ไม่ทราบท่ีอยแู่ น่นอน ไม่สามารถติดตามได้ และไม่มีทรัพยส์ ินใด ๆ ที่จะชาระหน้ีได้ โดยหา้ งฯ ไดม้ ี หลกั ฐานการติดตามทวงถามใหช้ าระหน้ี คือ (1) หนงั สือบอกกล่าวทวงถามลูกหน้ีของทนายความและ ใบตอบรับการส่งหนงั สือดงั กล่าว ไม่นอ้ ยกวา่ 2 คร้ัง แลว้ ยงั ไม่ไดร้ ับชาระหน้ี และ (2) รายงานการ ติดตามและสืบทรัพยล์ ูกหน้ีโดยมีผใู้ หญ่บา้ นหรือเพื่อนบา้ นขา้ งเคียงลงชื่อรับรองกรณีดงั กล่าว เม่ือหา้ งฯ มีหลกั ฐานการติดตามทวงถามใหช้ าระหน้ีดงั กล่าวขา้ งตน้ แลว้ ถือไดว้ า่ มีหลกั ฐานการติดตามทวงถามให้ ชาระหน้ีตามสมควรแก่กรณีแลว้ แต่ไม่ไดร้ ับรับชาระหน้ี และหากจะฟ้ องลกู หน้ีจะตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายไม่ คุม้ กบั หน้ีที่จะไดร้ ับชาระ ดงั น้นั หลกั ฐานดงั กล่าวจึงสามารถใชเ้ ป็นหลกั ฐานการจาหน่ายหน้ีสูญจาก บญั ชีลูกหน้ีได้

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ (10) การคานวณเงินปันผลหรือส่วนแบ่งของกาไร ให้ถอื เป็ นรายได้ ดงั น้ี ผู้จ่ายเงนิ ปันผลหรือส่วนแบ่งของกาไร เป็นบริษทั ที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย กองทุนรวม หรือ สถาบนั การเงินท่ีมีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจดั ต้งั ข้ึนสาหรับใหก้ ยู้ มื เงินเพื่อการส่งเสริม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม และกิจการร่วมคา้ ผู้รับเงินปันผลหรือส่วนแบ่งของกาไร มีเงื่อนไขการคานวณเป็นรายได้ ดงั น้ี - เป็นบริษทั ที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย (ไม่ไดจ้ ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย)์ ไดร้ ับยกเวน้ ก่ึงหน่ึง - เป็นบริษทั ที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย และจดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์ ไดร้ ับยกเวน้ ท้งั หมด - เป็นบริษทั ที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย ไม่ไดจ้ ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์ แต่ถือหุน้ ในบริษทั ผู้ จ่ายเงินปันผล ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 25 ของหุน้ ท้งั หมดท่ีมีสิทธิออกเสียงในบริษทั ผจู้ ่ายเงินปันผล และบริษทั ผจู้ ่ายเงินปันผล ไม่ไดถ้ ือหุน้ ในบริษทั ผรู้ ับเงินปันผลไม่วา่ ทางตรงหรือทางออ้ ม ไดร้ ับยกเวน้ ท้งั หมด การยกเวน้ เงินปันผลหรือส่วนแบ่งของกาไร ผรู้ ับตอ้ งถือหุน้ หรือหน่วยลงทุนทเี่ ป็นเหตุเกิดเงินได้ น้นั ไม่นอ้ ยกวา่ 3 เดือนก่อนวนั ประกาศจ่ายเงินปันผลหรือส่วนแบ่งของกาไร และตอ้ งถือหุน้ หรือหน่วย ลงทุนน้นั ต่อไปอีกไม่นอ้ ยกวา่ 3 เดือนนบั แต่วนั ประกาศจ่ายเงินปันผลหรือส่วนแบ่งของกาไรดว้ ย เช่น บริษทั ก. ถือหุน้ ในบริษทั ข. ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 25 ของหุน้ ท้งั หมดท่ีมีสิทธิออกเสียง และถือหุน้ ไว้ เกินกวา่ 3 เดือนนบั แต่วนั ท่ีไดซ้ ้ือหุน้ จนถึงวนั ที่ไดร้ ับเงินปันผล และยงั คงถือหุน้ ต่อไปอีกเกินกวา่ 3 เดือน นบั แต่วนั ที่ไดร้ ับเงินปันผล และบริษทั ข. ไม่ไดถ้ ือหุน้ ในบริษทั ก. ไม่วา่ ทางตรงหรือทางออ้ ม ดงั น้นั เงิน ปันผลท่ีบริษทั ก. ไดร้ ับ ไม่ตอ้ งมารวมคานวณกาไรสุทธิเพอ่ื เสียภาษเี งินไดน้ ิติบุคคลในรอบระยะเวลา บญั ชีน้นั ตามมาตรา 65 ทวิ (10) แห่งประมวลรัษฎากร (11) ดอกเบีย้ กู้ยมื ทอี่ ยู่ในบังคบั ต้องถูกหกั ภาษี ณ ทจ่ี ่ายไว้ตามกฎหมายว่าด้วยภาษเี งินได้ปิ โตรเลยี ม ให้ นามารวมคานวณเป็นรายไดเ้ พยี งเท่าที่เหลือจากถกู หกั ภาษี ณ ที่จ่ายไวต้ ามกฎหมายดงั กล่าว (ซ่ึงตาม พระราชบญั ญตั ิภาษีเงินไดป้ ิ โตรเลียม พ.ศ. 2514 ตามมาตรา 25(10) หา้ มมิใหน้ าค่าดอกเบ้ียเงินกยู้ มื มาถือ เป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิเพอื่ เสียภาษเี งินไดป้ ิ โตรเลียม แต่ใหย้ กเวน้ ภาษีเงินไดแ้ ก่ผไู้ ดร้ ับ ดอกเบ้ีย โดยใหน้ าเฉพาะส่วนที่เหลือจากถกู หกั ภาษี ณ ท่ีจ่ายมาคานวณเป็นรายได)้

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.4 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ • (12) เงนิ ปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกาไรทอ่ี ยู่ในบังคบั ต้องถูกหกั ภาษี ณ ทจ่ี ่ายไว้ตามกฎหมายว่า ด้วยภาษเี งินได้ปิ โตรเลยี ม ใหน้ ามารวมคานวณเป็นรายไดเ้ พียงเท่าท่ีเหลือจากถกู หกั ภาษี ณ ที่จ่ายไว้ ตามกฎหมายดงั กล่าว และหากผรู้ ับเป็นบริษทั จดทะเบียนหรือเป็นบริษทั ที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย ให้ นาบทบญั ญตั ิขอ้ (10) มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม (ไม่ไดจ้ ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์ ใหน้ ามาคานวณ เป็นรายไดเ้ พียงก่ึงหน่ึง แต่หากเป็นบริษทั ที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย และจดทะเบียนในตลาด หลกั ทรัพย์ หรือเป็นบริษทั ท่ีต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย ไม่ไดจ้ ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์ แต่ถือหุน้ ในบริษทั ผจู้ ่ายเงินปันผล ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 25 ของหุน้ ท้งั หมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษทั ผจู้ ่ายเงิน ปันผล และบริษทั ผจู้ ่ายเงินปันผล ไม่ไดถ้ ือหุน้ ในบริษทั ผรู้ ับเงินปันผลไม่วา่ ทางตรงหรือทางออ้ ม ให้ ไดร้ ับยกเวน้ ท้งั หมดดว้ ย) • (13) มูลนิธิหรือสมาคม ท่ีประกอบกิจการซ่ึงมีรายได้ ไม่ตอ้ งนาเงินค่าลงทะเบียน หรือค่าบารุงที่ ไดร้ ับจากสมาชิก เงินหรือทรัพยส์ ินที่ไดร้ ับจากการรับบริจาค หรือจากการใหโ้ ดยเสน่หา แลว้ แต่กรณี มารวมคานวณเป็ นรายได้ • (14) ภาษมี ูลขาย ซ่ึงบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีเป็นผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพมิ่ ไดร้ ับหรือพงึ ไดร้ ับ และภาษมี ูลค่าเพ่มิ ซ่ึงไดร้ ับคืนจากการขอคืน ไม่ตอ้ งนามารวมคานวณเป็นรายได้ (เนื่องจากภาระภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นของผบู้ ริโภค บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลซ่ึงเป็น ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษมี ูลค่าเพ่มิ เป็นเพยี งคนกลางที่รับภาษีมลู ค่าเพ่ิมแลว้ ส่งต่อใหร้ ัฐบาลผา่ น กรมสรรพากรเท่าน้นั มิไดถ้ ือเป็นรายไดข้ องกิจการแต่อยา่ งใด)

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) • รายจ่ายต้องห้าม หมำยถงึ รำยจำ่ ยที่เกิดขนึ ้ จำกกำรดำเนนิ กิจกำรของนิตบิ คุ คลและได้มีกำรบนั ทกึ บญั ชีเป็น รำยจ่ำยในรอบระยะเวลำบญั ชีที่เกิดรำยกำร แตใ่ นทำงภำษีไม่ให้ถือเป็นรำยจำ่ ยในกำรคำนวณกำไรสทุ ธิ ขอบเขตรำยจำ่ ยในกำรคำนวณกำไรสทุ ธิเพ่ือเสยี ของบริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนิติบคุ คล กำหนดไว้ตำมประมวล รัษฎำกร • (1) เงนิ สารองต่าง ๆ เป็ นรายจ่ายต้องห้าม นอกจำก เงินสำรองดงั ตอ่ ไปนีส้ ำมำรถนำมำเป็นรำยจ่ำยใน กำรคำนวณกำไรสทุ ธิได้ คอื (1.1) เงนิ สำรองจำกเบยี ้ ประกนั ภยั เพ่ือสมทบทนุ ประกนั ชีวิตได้ไมเ่ กินร้อยละ 65 ของจำนวนเบยี ้ ประกนั ชีวติ ที่ได้รับ ในรอบระยะเวลำบญั ชีหลงั จำกหกั เบยี ้ ประกนั ภยั ซง่ึ เอำประกนั ภยั ตอ่ ออกแล้ว ถือเป็นรำยจำ่ ยได้ (1.2) เงนิ สำรองจำกเบยี ้ ประกนั ภยั เพ่ือสมทบทนุ ประกนั ภยั อน่ื ท่ีกนั ไว้กอ่ นคำนวณกำไรเฉพำะสว่ นท่ีไม่ เกินร้อยละ 40 ของจำนวนเบยี ้ ประกนั ภยั ท่ีได้รับ ในรอบระยะเวลำบญั ชีหลงั จำกหกั เบยี ้ ประกันภยั ซง่ึ เอำ ประกนั ตอ่ ออกแล้ว ถือเป็นรำยจ่ำยได้ (1.3) เงนิ สำรองท่ีกนั ไว้เป็นคำ่ เผ่ือหนีส้ ญู หรือหนีส้ งสยั จะสญู สำหรับหนีท้ ่ีเกิดจำกกำรให้สนิ เช่ือของ ธนำคำรพำณิชย์ หรือบริษัทเงนิ ทนุ บริษัทหลกั ทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ให้กนั ไว้ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วย กำรธนำคำรพำณิชย์หรือกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรประกอบธรุ กิจเงนิ ทนุ ธรุ กิจหลกั ทรัพย์ และธรุ กิจเครดติ ฟองซเิ อร์ แตก่ รณีเฉพำะสว่ นทตี่ งั้ เพิ่มขนึ ้ จำกเงนิ สำรองประเภทดงั กลำ่ วทป่ี รำกฎในงบดลุ ของรอบระยะเวลำบญั ชีกอ่ น เงนิ สำรองท่ีตงั้ ขนึ ้ ตำมวรรคหนง่ึ และได้นำมำถอื เป็นรำยจ่ำยในกำรคำนวณกำไรสทุ ธิหรือขำดทนุ สทุ ธิไป แล้วในรอบระยะเวลำบญั ชีใด ตอ่ มำหำกมีกำรตงั้ เงนิ สำรองประเภทดงั กลำ่ วลดลง ให้นำเงนิ สำรองสว่ นที่ตงั้ ลดลง ซงึ่ ได้ถือเป็นรำยจ่ำยไปแล้วนนั้ มำรวมคำนวณเป็นรำยได้ในรอบระยะเวลำบญั ชีท่ีตงั้ เงนิ สำรองลดลงนนั้ • (2) เงนิ ท่จี ่ายเข้ากองทุนใด ๆ เป็ นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ เงินที่บริษัทหรือห้ำงห้นุ สว่ นนิติบคุ คล จ่ำยเงนิ สมทบเข้ำกองทนุ สำรองเลยี ้ งชีพ ตำมพระรำชบญั ญตั กิ องทนุ สำรองเลีย้ งชีพ ให้ถือเป็นรำยจำ่ ยได้ใน รอบระยะเวลำบญั ชีท่ีจ่ำยเทำ่ กบั จำนวนเงินท่ีบริษัทได้จ่ำยสมทบเข้ำกองทนุ สำรองเลีย้ งชีพ ซงึ่ เป็นไปตำม หลกั เกณฑ์ วธิ ีกำร และเงือ่ นไขท่ีกำหนดโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 183 (พ.ศ. 2533) กองทนุ สำรองเลีย้ งชีพ หมำยถงึ กองทนุ ซง่ึ เป็นนิติบคุ คลท่ีจดั ตงั้ ขนึ ้ ตำมพระรำชบัญญตั กิ องทนุ สำรอง เลยี ้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยมีลกู จ้ำงและนำยจ้ำงตกลงกนั จดั ตงั้ ขนึ ้ และได้จดทะเบยี นตำมพระรำชบญั ญตั นิ ี ้เพื่อ เป็นหลกั ประกนั แกล่ กู จ้ำงในกรณีที่ลกู จ้ำงตำย ออกจำกงำน หรือลำออกจำกกองทนุ โดยลกู จ้ำงจ่ำยเงนิ สะสม และนำยจ้ำงจำ่ ยเงินสมทบตำมหลกั เกณฑ์ที่กำหนดไว้ในข้อบงั คบั ของกองทนุ นนั้

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอื่ นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) • (3) รายจ่ายอนั มลี กั ษณะเป็ นการส่วนตวั การให้โดยเสน่หา หรือการกศุ ล เป็ นรายจ่ายต้องห้าม เวน้ แต่ รายจ่ายเพื่อการ กศุ ลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณะประโยชน์ ตามท่ีอธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี ในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2 ของ กาไรสุทธิ และรายจ่ายเพ่ือการศึกษาหรือเพ่ือการกีฬา ตามที่อธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี ในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2 ของกาไรสุทธิ โดยใหเ้ ป็นไปตามท่ีอธิบดีกรมสรรพากรกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี เช่น พนกั งานของบริษทั แห่งหน่ึง ทางานดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ ุจริตมาเป็นเวลานาน ไดถ้ ึงแก่ความตายในขณะปฏิบตั ิหนา้ ท่ี บริษทั ไดจ้ ่ายเงินสมนาคุณจานวน หน่ึงใหแ้ ก่ครอบครัวของลกู จา้ งผนู้ ้นั โดยไม่มีระเบียบแต่อยา่ งใด เงินสมนาคุณท่ีบริษทั จ่ายใหก้ บั ครอบครัวของลกู จา้ ง เป็นกรณีท่ีบริษทั จ่ายใหเ้ องโดยไม่มีขอ้ บงั คบั และมิใช่เป็นการจ่ายตามกฎหมายหรือระเบียบใด ๆ จึงเป็นรายจ่ายอนั มี ลกั ษณะเป็นการส่วนตวั หรือการใหโ้ ดยเสน่หา บริษทั จะนามาหกั เป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิไม่ได้ ตอ้ งหา้ มตาม มาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร รายจ่ายอนั มลี กั ษณะเป็ นการส่วนตวั หมายถึง รายจ่ายที่แต่ละคนควรจะรับภาระในส่วนของตนเป็นการส่วนตวั ไม่ เก่ียวกบั บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล โดยผรู้ ับไมม่ ีความผกู พนั ในทางธุรกิจการงานกบั ผใู้ ห้ รายจ่ายอนั มลี กั ษณะเป็ นการให้โดยเสน่หา หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายไปโดยความรักใคร่ชอบพอกนั เป็นการส่วนตวั ซ่ึง ผรู้ ับไม่มีความผกู พนั วา่ จะตอ้ งกระทาการอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดตอบแทน หรือเรียกวา่ การใหเ้ ปล่า รายจ่ายอนั มลี กั ษณะเป็ นการกศุ ล หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายไปในการทาบุญทาทาน บริจาคทรัพยส์ ินชว่ ยการศึกษา การ ศาสนา การสงั คมสงเคราะห์หรือการอ่ืน ๆ แต่กรณีน้ีกฎหมายยงั ยอมใหห้ กั ไดใ้ นกรณีเป็นการจ่ายเพ่ือการกศุ ลสาธารณะ หรือเพ่ือประโยชนข์ องสาธารณะชนทว่ั ๆ ไป ไม่จากดั วา่ เป็นใคร • (4) ค่ารับรองหรือค่าบริการ ส่วนที่ไมเ่ ป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ี่กฎหมายกาหนดเป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม เวน้ แต่ ค่ารับรอง ดงั ต่อไปน้ีสามารถนามาเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิได้ มีหลกั เกณฑว์ า่ ก ค่ารับรองหรือค่าบริการน้นั ตอ้ งเป็นค่ารับรองหรือค่าบริการอนั จาเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจทวั่ ไป และบุคคลซ่ึงไดร้ ับรองหรือรับบริการตอ้ งมิใช่ลกู จา้ งของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล เวน้ แต่ ลกู จา้ งดงั กลา่ วจะมี หนา้ ท่ีเขา้ ร่วมในการรับรองหรือการบริการน้นั ดว้ ย ข ค่ารับรองหรือค่าบริการตอ้ ง 1. เป็นค่าใชจ้ ่ายอนั เก่ียวเน่ืองโดยตรงกบั การรับรองหรือการบริการท่ีจะอานวยประโยชนแ์ ก่กจิ การ เช่น ค่าท่ีพกั ค่าอาหาร ค่าเครื่องด่ืม ค่าดมู หรสพ ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั การกีฬา เป็นตน้ 2. เป็นค่าส่ิงของท่ีใหแ้ ก่บุคคลซ่ึงไดร้ ับการรับรองหรือรับบริการ ไมเ่ กินคนละ 2,000 บาท ในแต่ละคราวที่มีการ รับรองหรือการบริการ • ค จานวนเงินค่ารับรองและค่าบริการใหน้ ามาหกั เป็นรายจ่ายไดเ้ ท่ากบั จานวนเท่าท่ีตอ้ งจ่าย แต่รวมกนั ตอ้ งไมเ่ กิน ร้อยละ 0.3 ของจานวนเงินยอดรายไดห้ รือยอดขายท่ีตอ้ งนามารวมหรือคานวณกาไรสุทธิ ก่อนหกั รายจ่ายใดในรอบ ระยะเวลาบญั ชี หรือของจานวนเงินทุนท่ีไดร้ ับชาระแลว้ ถึงวนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชี แลว้ แต่อยา่ งใดจะมากกวา่ ท้งั น้ี รายจ่ายท่ีจะนามาหกั ไดจ้ ะตอ้ งมีจานวนสูงสุดไม่เกิน 10 ลา้ นบาท • ง. ค่ารับรองหรือค่าบริการน้นั ตอ้ งมีกรรมการหรือผเู้ ป็นหุน้ ส่วนหรือผจู้ ดั การ หรือผไู้ ดร้ ับมอบหมายจากบุคคล ดงั กล่าวเป็นผอู้ นุมตั ิหรือคาสง่ั จ่ายค่ารับรองหรือค่าบริการน้นั ดว้ ย และตอ้ งมีใบรับหรือหลกั ฐานของผรู้ ับเงินสาหรับเงินท่ี จ่ายเป็นค่ารับรองหรือค่าบริการ เวน้ แต่ ในกรณีที่ผรู้ ับเงินไม่มีหนา้ ท่ีตอ้ งออกใบรับตามประมวลรัษฎากร

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เง่ือนไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) • (5) รายจ่ายอนั มลี กั ษณะเป็ นการลงทนุ หรือรายจ่ายในการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทาใหด้ ี ข้ึนซ่ึงทรัพยส์ ินเป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม แต่หากเป็นการซ่อมแซมใหค้ งสภาพเดิมถือเป็นรายจ่ายในการ คานวณกาไรสุทธิได้ เช่น บริษทั แห่งหน่ึง เช่าท่ีดินมาเพ่อื ใชใ้ นการก่อสร้างอาคารสานกั งานและ คลงั สินคา้ บริษทั จ่ายค่าใชจ้ ่ายในการปรับพ้นื ท่ีเช่าซ่ึงอยใู่ ตพ้ ้นื ท่ีลานคอนกรีตรวมถึงค่าใชจ้ ่ายในการ ปรับพ้นื ที่เช่าซ่ึงอยใู่ ตพ้ ้นื ที่อาคารสานกั งานและคลงั สินคา้ ถือเป็นการทาใหม้ ลู ค่าของที่ดินสูงข้ึน บริษทั จึงตอ้ งนาค่าใชจ้ ่ายในการปรับพ้ืนที่ดงั กล่าวไปรวมกบั ราคาที่ดินและถือเป็นรายจ่ายอนั มีลกั ษณะเป็น การลงทุนตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร รายจ่ายอนั มลี กั ษณะเป็ นการลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กิจการจ่ายไปเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงทรัพยส์ ินหรือ ประโยชนต์ ่อกิจการเป็นระยะเวลานานเกินกวา่ 1 รอบระยะเวลาบญั ชี รายจ่ายในการต่อเตมิ เปลย่ี นแปลง ขยายออก หรือทาให้ทรัพย์สินดีขนึ้ หมายถึง รายจ่ายเพอื่ ให้ อายกุ ารใชง้ านของทรัพยส์ ินเดิมยาวนานข้ึน หรือมีสภาพดีข้ึน • (6) เบยี้ ปรับและหรือเงนิ เพม่ิ ภาษอี ากรค่าปรับทางอาญา ภาษเี งินไดบ้ ริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล เป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม คาวา่ “เบ้ียปรับและหรือเงินเพ่มิ ภาษีอากร ค่าปรับทางอาญา” หมายถึง เบ้ียปรับและหรือเงินเพ่ิม และค่าปรับอาญา ตามกฎหมายภาษอี ากรทุกประเภท รวมถึงค่าปรับท่ีเป็นโทษทางอาญา และเงินเพิ่ม ภาษีอากรตามกฎหมายอ่ืนดว้ ย ( ตามคาวนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการวนิ ิจฉยั ภาษอี ากร ท่ี 40/2560 ลงวนั ท่ี 9 มีนาคม 2560 ที่อา้ งอิงคาพิพากษาฎีกา ท่ี 1109/2559) • (6ทว)ิ ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ทชี่ าระหรือพงึ ชาระ และภาษซี ้ือของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีเป็น ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนเป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม เนื่องจากภาษมี ลู ค่าเพ่มิ มิใช่รายไดห้ รือรายจ่ายของ กิจการ เพราะผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษมี ูลค่าเพมิ่ เมื่อถกู เรียกเกบ็ ภาษขี ายจากผขู้ ายสินคา้ หรือผู้ ใหบ้ ริการ ผทู้ ี่ถูกเรียกเกบ็ ภาษีกน็ าภาษนี ้นั มาเครดิต โดยหกั ออกจากภาษขี ายของตนในแต่ละเดือนภาษี หรือขอคืนภาษที ี่ถูกเรียกเกบ็ น้นั ดงั น้นั ภาษีท่ีถกู เรียกเกบ็ น้นั เรียกวา่ ภาษีซ้ือ จึงไม่ถือเป็นรายจ่ายของ กิจการ เวน้ แต่ ภาษีซ้ือตอ้ งหา้ มบางลกั ษณะท่ีกาหนดไวใ้ นมาตรา 82/5 (4) และ (6) แห่งประมวล รัษฎากร นามาเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิได้ เน่ืองจากผปู้ ระกอบการไม่สามารถนาไปเครดิต ภาษไี ด้ ซ่ึงเป็นภาระแก่ผเู้ สียภาษี อาทิเช่น

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอื่ นไขการคานวณกาไรสุทธติ ามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) 1. ภาษซี ้ือท่ีเกิดจากรายจ่ายเพ่อื การรับรองหรือเพ่อื การอนั มีลกั ษณะทานองเดียวกนั 2. ภาษีซ้ือท่ีเกิดจากการซ้ือ เช่าซ้ือ เช่า หรือรับโอนรถยนตน์ ง่ั และรถยนตโ์ ดยสารท่ีมีท่ีนง่ั ไม่เกิน 10 คน และภาษซี ้ือที่เกิดจากการซ้ือสินคา้ หรือการรับบริการที่เกี่ยวขอ้ งกบั รถยนตน์ ง่ั และรถยนตโ์ ดยสารที่ มีที่นง่ั ไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพกิ ดั อตั ราภาษีสรรพสามิต 3. ภาษีซ้ือตามใบกากบั ภาษอี ยา่ งยอ่ 4. ภาษซี ้ือท่ีเกิดจากการซ้ือทรัพยส์ ินเพ่อื ใช้ หรือจะใชใ้ นกิจการประเภทท่ีไม่ตอ้ งเสียภาษีมูลค่าเพ่มิ หรือภาษีซ้ือที่เกิดจากรายจ่ายของกิจการประเภทท่ีไม่ตอ้ งเสียภาษมี ูลค่าเพมิ่ 5. ภาษีซ้ือที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพยอ์ ื่นเพอ่ื นามาใชใ้ นกิจการของตนเอง ซ่ึง เป็นกิจการประเภทที่ตอ้ งเสียภาษมี ลู ค่าเพ่มิ ภาษซี ้ือดงั กล่าวใหม้ ีสิทธินามาหกั ออกจากภาษขี ายในการ คานวณภาษมี ลู ค่าเพม่ิ ต่อมาผปู้ ระกอบการไดข้ ายหรือใหเ้ ช่าอาคารหรืออสังหาริมทรัพยน์ ้นั หรือนาไปใช้ ในกิจการประเภทท่ีไม่ตอ้ งเสียภาษมี ูลค่าเพิ่มภายใน 3 ปี นบั แต่เดือนภาษีท่ีก่อสร้างเสร็จสมบรู ณ์ 6. ภาษีซ้ือตามใบกากบั ภาษแี บบเตม็ รูป ที่คาวา่ “ใบกากบั ภาษี” ไม่ไดถ้ ูกตีพิมพ์ หรือไม่ไดจ้ ดั ทาข้ึน ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ในกรณีจดั ทาใบกากบั ภาษีดว้ ยคอมพิวเตอร์ท้งั ฉบบั 7. ภาษีซ้ือตามใบกากบั ภาษีแบบเตม็ รูป ซ่ึงมีขอ้ ความอื่นที่อธิบดีกาหนดในใบกากบั ภาษที ี่ไม่ได้ จดั ทาข้ึนดว้ ยวธิ ีการตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร 8. ภาษซี ้ือตามใบกากบั ภาษแี บบเตม็ รูป ซ่ึงมีรายการในใบกากบั ภาษีเป็นสาเนา (Copy) เป็นภาษซี ้ือ ตอ้ งหา้ ม แต่ไม่รวมถึงใบกากบั ภาษที ี่ไดจ้ ดั ทารวมกบั เอกสารทางการคา้ อื่นซ่ึงมีจานวนหลายฉบบั และ ใบกากบั ภาษีซ่ึงมีรายการในใบกากบั ภาษีเป็นสาเนามีขอ้ ความวา่ “เอกสารออกเป็นชุด” ปรากฏอยดู่ ว้ ย 9. ภาษซี ้ือส่วนท่ีเฉลี่ยเป็นของกิจการประเภทท่ีไม่ตอ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิ่ม ซ่ึงไดค้ านวณตาม หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร 10. ภาษีซ้ือที่เกิดจากการซ้ือสินคา้ หรือรับบริการ ซ่ึงผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ นาไปใชห้ รือจะใชใ้ นการประกอบกิจการท้งั ประเภทที่ตอ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพม่ิ และประเภทท่ีไม่ตอ้ งเสีย ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ และผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ใชส้ ิทธิเลือกไม่นาภาษซี ้ือท้งั หมดไปหกั ในการ คานวณภาษีมลู ค่าเพ่ิม เนื่องจากกิจการประเภทท่ีไม่ตอ้ งเสียภาษีมูลค่าเพ่มิ มีรายไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 90 ของรายไดข้ องกิจการท้งั หมด

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) 11. ภาษีซ้ือตามใบกากบั ภาษแี บบเตม็ รูป ซ่ึงรายการต่าง ๆ ไดถ้ ูกแกไ้ ขหรือถูกเปล่ียนแปลงเป็นภาษี ซ้ือตอ้ งหา้ ม เวน้ แต่รายการซ่ึงไดถ้ กู แกไ้ ขเปลี่ยนแปลงตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ีอธิบดีกาหนด 12. ภาษีซ้ือท่ีเกิดจากการซ้ือ เช่าซ้ือ หรือรับโอนรถยนตท์ ่ีไม่ใช่รถยนตน์ งั่ และรถยนตโ์ ดยสารที่มีที่นงั่ ไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพกิ ดั อตั ราภาษีสรรพสามิตเพ่ือใชห้ รือจะใชใ้ นกิจการประเภทท่ีตอ้ งเสีย ภาษมี ูลค่าเพิม่ และต่อมาภายใน 3 ปี นบั แต่เดือนภาษีที่ไดร้ ถยนตไ์ วใ้ นครอบครองไดม้ ีการดดั แปลงรถยนต์ ดงั กล่าวเป็นรถยนตน์ งั่ หรือรถยนตโ์ ดยสารที่มีท่ีนง่ั ไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพิกดั อตั ราภาษี สรรพสามิต 13. ภาษซี ้ือตามใบกากบั ภาษแี บบเตม็ รูป ซ่ึงมีรายการ ช่ือ ท่ีอยู่ เลขประจาตวั ผเู้ สียภาษอี ากรของผอู้ อก หรือตวั แทนผอู้ อกใบกากบั ษี ไม่ไดพ้ ิมพข์ ้ึนหรือไม่ไดจ้ ดั ทาข้ึนดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ ในกรณีจดั ทา ใบกากบั ภาษีข้ึนดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ท้งั ฉบบั (7) การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผู้เป็ นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็ นรายจ่าย ต้องห้าม หากมองตามหลกั การบญั ชีแลว้ การถอนเงินของผเู้ ป็นหุน้ ส่วนไม่ถือเป็นรายจ่ายอยแู่ ลว้ เป็นการ ถอนเงินลงทุนหรือเป็นการแบ่งกาไรกนั ไม่เกี่ยวขอ้ งกบั การบนั ทึกรายจ่ายของกิจการแต่อยา่ งใด (8) เงนิ เดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็ นหุ้นส่วนเฉพาะส่วนทจ่ี ่ายเกนิ สมควรเป็ นรายจ่ายต้องห้าม เจา้ พนกั งานมีอานาจพจิ ารณารายจ่ายประเภทเงินเดือนของผถู้ ือหุน้ หรือผเู้ ป็นหุน้ ส่วน เปรียบเทียบกบั รายอื่นซ่ึงอยใู่ นฐานะหรือลกั ษณะเดียวกนั อยใู่ นหน่วยงานเดียวกนั หรือทาเลเดียวกนั ประกอบกิจการคา้ อยา่ งเดียวกนั หรือลกั ษณะเดียวกนั (9) รายจ่ายซ่ึงกาหนดขนึ้ เองโดยไม่มกี ารจ่ายจริง หรือรายจ่ายซ่ึงควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอนื่ เป็ นรายจ่ายต้องห้าม เวน้ แต่ ในกรณีท่ีไม่สามารถจะลงจ่ายในรอบระยะเวลาบญั ชีใดกอ็ าจลงจ่ายในรอบ ระยะเวลาบญั ชีที่ถดั ไปได้ รายจ่ายที่กาหนดข้ึนเองโดยไม่มีการจ่ายจริง หมายความถึง รายจ่ายใด ๆ ที่บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติ บุคคลไดก้ าหนดข้ึนเองโดยไม่มีการจ่ายจริง โดยไม่ไดร้ ับทรัพยส์ ินหรือประโยชนใ์ ด ๆ เป็นการตอบแทน

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) • (10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็ นเจ้าของเองและใช้เองเป็ นรายจ่าย ต้องห้าม เช่น บริษทั ต้งั ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศ ไดม้ าเปิ ดสานกั งานสาขาในประเทศไทย โดย ปลูกอาคารสานกั งานสาขาในประเทศไทย และคิดค่าเช่าปี ละ 600,000 บาท ค่าเช่า จานวน 600,000 บาท ที่บริษทั สาขาในประเทศไทยจ่ายใหก้ บั บริษทั สานกั งานใหญ่ในต่างประเทศน้นั จะนามาถือเป็นรายจ่าย ในการคานวณกาไรสุทธิของบริษทั สาขาในประเทศไทยไม่ได้ เพราะกฎหมายถือไดว้ า่ บริษทั สานกั งาน ใหญ่ในต่างประเทศกบั บริษทั สาขาในประเทศไทยเป็นนิติบุคคลเดียวกนั การจ่ายเงินค่าเช่าดงั กล่าวถือได้ วา่ เป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพยส์ ินที่บริษทั เป็นเจา้ ของเองและใชเ้ องตามมาตรา 65 ตรี (10) แห่งประมวล รัษฎากร • (11) ดอกเบยี้ ทคี่ ดิ ให้สาหรับเงนิ ทนุ เงนิ สารองต่าง ๆ หรือเงนิ กองทนุ ของตนเองถือเป็ นรายจ่ายต้องห้าม • (12) ผลเสียหายอนั อาจได้กลบั คนื เนื่องจากการประกนั หรือสัญญาคุ้มกนั ใด ๆ หรือผลขาดทุนสุทธใิ น รอบระยะเวลาบญั ชีก่อน ๆ ถือเป็ นรายจ่ายต้องห้ามเวน้ แต่ ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี ก่อนรอบ ระยะเวลาบญั ชีปี ปัจจุบนั กรณีความเสียหายน้นั มีทางที่จะไดร้ ับการชดใชต้ ามสญั ญา แต่ถา้ ไดร้ ับค่าชดใช้ เพียงบางส่วน ส่วนท่ีเหลือกล็ งเป็นรายจ่ายได้ ผลขาดทุนสุทธิ หมายถึง ผลขาดทุนสุทธิทางภาษี คือ ผลต่างของรายไดก้ บั รายจ่ายท่ีหกั ไดต้ าม ประมวลรัษฎากรซ่ึงอยภู่ ายใตเ้ งื่อนไขในมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากรแลว้ (13) รายจ่ายซ่ึงมใิ ช่รายจ่ายเพอื่ หากาไรหรือเพอ่ื กจิ การโดยเฉพาะถอื เป็ นรายจ่ายต้องห้าม เพราะบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนต้งั ข้ึนเพอื่ มุ่งคา้ หากาไร การชาระเงินควรอยภู่ ายในวตั ถุประสงคข์ องการประกอบกิจการ ของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลน้นั • (14) รายจ่ายซึ่งมใิ ช่รายจ่ายเพอื่ กจิ การในประเทศไทยโดยเฉพาะถอื เป็ นรายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่สาขา ในประเทศของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีต้งั ข้ึนตามกฏหมายของต่างประเทศไดจ้ ่ายไปให้ สานกั งานใหญ่หรือสาขาอ่ืนในต่างประเทศเพ่ือเป็นค่าตอบแทนการใหค้ วามช่วยเหลือหรือการใหบ้ ริการ แก่กิจการของสาขาในประเทศไทยที่จะนามาถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ และไม่เขา้ ลกั ษณะ เป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม จะตอ้ งเป็นกรณีที่มีหลกั ฐานชดั แจง้ วา่ รายจ่ายดงั กล่าว เป็นรายจ่ายท่ีจ่ายไป โดยเป็น รายจ่ายท่ีมีลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) • 1. รายจ่ายเกี่ยวกบั การใหค้ วามช่วยเหลือหรือใหบ้ ริการของสานกั งานใหญ่หรือสาขาอื่นน้นั เกี่ยวกบั กิจการของสาขาในประเทศไทย 2. รายจ่ายท่ีเก่ียวกบั การคน้ ควา้ และพฒั นา (Research and Development) โดยสาขาในประเทศ ไทยจะตอ้ งไดร้ ับบริการหรือไดน้ าผลการคน้ ควา้ และพฒั นามาใชป้ ระโยชนใ์ นกิจการของสาขาใน ประเทศไทยตามความเป็ นจริ ง 3. รายจ่ายใดถา้ สานกั งานใหญ่หรือสาขาอื่นไดน้ าไปหกั เป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ ของสานกั งานใหญ่หรือสาขาอื่นแลว้ จะนามาถือเป็นรายจ่ายของสาขาในประเทศไทยอีกไม่ได้ 4. รายจ่ายที่สานกั งานใหญ่หรือสาขาอื่นเรียกเกบ็ มายงั สาขาในประเทศไทยจะตอ้ งมหี ลกั เกณฑ์ และวธิ ีการเป็นที่รับรองทวั่ ไป (Generally Accepted) และตอ้ งถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกบั สาขาในประเทศ อื่น ๆ และเป็นไปอยา่ งสม่าเสมอ จานวนเงิน หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการดงั กล่าวขา้ งตน้ ท่ีจะนามาถือเป็นรายจ่ายของสาขาในประเทศ ไทยได้ จะตอ้ งมีหลกั ฐานหรือหนงั สือรับรองโดยเจา้ หนา้ ที่ของต่างประเทศท่ีมีหนา้ ท่ีเก่ียวขอ้ งหรือโดย บุคคลอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรเชื่อถือได้ และหลกั ฐานหรือหนงั สือดงั กล่าวจะตอ้ งมีรายละเอียด เพยี งพอที่แสดงใหเ้ ห็นวา่ เป็นรายจ่ายท่ีจาเป็นและสมควรแก่การดาเนินการธุรกิจของสาขาในประเทศ ไทยตามความเป็ นจริ ง • (15) ค่าซือ้ ทรัพย์สินและรายจ่ายเกย่ี วกบั การซื้อหรือขายทรัพย์สินในส่วนทเี่ กินปกติ โดยไม่มีเหตุผล อนั สมควรถือเป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม ซ่ึงอาจกระทากนั ภายในประเทศหรือระหวา่ งประเทศ หรืออาจเรียก ราคาดงั กล่าววา่ การกาหนดราคาโอน (Transfer Pricing) • (16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาตทิ ส่ี ูญหรือสิ้นไปเน่ืองจากกจิ การทท่ี าถือเป็ นรายจ่ายต้องห้าม เช่น การ ทาเหมืองแร่ หรือการทาป่ าไม้ ระยะเวลาท่ีดาเนินกิจการขดุ แร่หรือตดั ไมเ้ พื่อนาไปจาหน่ายน้นั จานวน สินแร่ในดินหรือจานวนป่ าไมย้ อ่ มนอ้ ยลงหรือหมดไปในท่ีสุด การท่ีจานวนสินแร่หรือจานวนไมใ้ น เขตที่ไดร้ ับสมั ปทานลดนอ้ ยลงหรือจะหมดไปหรือสูญสิ้นไปน้นั บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลจะตี ราคาหรือนามลู ค่าท่ีลดนอ้ ยลงน้นั มาถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิไม่ได้ ตอ้ งหา้ มตามมาตรา 65 ตรี (16) แห่งประมวลรัษฎากร

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.5 เงอ่ื นไขการคานวณกาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) • (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าทตี่ รี าคาตา่ ลงถือเป็ นรายจ่ายต้องห้าม กรณีน้ีหา้ มมิใหต้ ีราคา ทรัพยส์ ินลดลงเพ่ือนามลู ค่าท่ีลดลงมาเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ เพราะการท่ีกิจการจะตีราคา ทรัพยส์ ินลดลงโดยยงั ไม่มีการขายทรัพยส์ ินจริง ๆ น้นั รายการผลขาดทุนจากการตีราคาทรัพยส์ ินลดลง ยอ่ มเป็นรายการที่ยงั ไม่ไดเ้ กิดข้ึนจริง และเป็นการตีราคาโดยบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลแต่ฝ่ าย เดียว ซ่ึงราคาทรัพยส์ ินน้นั อาจจะยงั ไม่ไดล้ ดลงจริง ซ่ึงเท่ากบั เป็นการนาเอามลู ค่าของทรัพยส์ ินท่ีตีราคา ลดลงมาเป็นรายจ่ายท้งั ๆ ที่ยงั ไม่ไดเ้ กิดข้ึนจริง • (18) รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพสิ ูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็ นผู้รับถอื เป็ นรายจ่ายต้องห้าม เช่น บริษทั รับจา้ งถมที่ และ ขายทราย-ดินลกู รัง ซ่ึงซ้ือมาจากจงั หวดั ชายทะเล แต่ผขู้ ายไม่ไดอ้ อกใบรับใหแ้ ต่อยา่ งใด กรณีน้ีบริษทั ก็ ไม่มีหลกั ฐานที่เป็นค่าใชจ้ ่ายของการรับจา้ ง แต่หากบริษทั มีหลกั ฐานการจ่ายเงิน ระบุชื่อ ท่ีอยู่ เลข ประจาตวั ประชาชน วนั เดือนปี จานวนเงิน รายการท่ีจ่าย และใหผ้ รู้ ับเงินลงชื่อรับไวพ้ ื่อเป็นหลกั ฐานใน การหกั เป็นรายจ่าย ซ่ึงทาใหบ้ ริษทั สามารถพิสูจนไ์ ดว้ า่ ใครเป็นผรู้ ับเงิน กไ็ ม่ตอ้ งหา้ มตามมาตรา 65 ตรี (18) แห่งประมวลรัษฎากร • (19) รายจ่ายใด ๆ ทก่ี าหนดจ่ายจากผลกาไรทไ่ี ด้เมอ่ื สิ้นสุดรอบระยะเวลาบญั ชีแล้วถือเป็ นรายจ่าย ต้องห้าม เช่น บริษทั จ่ายเงินค่าที่ปรึกษา โดยคานวณจากกาไรของแผนกท่ีไดร้ ับ การปรึกษาหารือเขา้ ลกั ษณะเป็นรายจ่ายใด ๆ ที่กาหนดจ่ายจากผลกาไรตามมาตรา 65 ตรี (19) แห่งประมวลรัษฎากร จึง ตอ้ งหา้ มมิใหถ้ ือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ • (20) รายจ่ายทม่ี ลี กั ษณะทานองเดยี วกบั ทร่ี ะบุไว้ใน (1) ถึง (19) ตามทก่ี าหนดโดยพระราชกฤษฎกี า การคานวณกาไรสุทธิเพอ่ื เสียภาษี จาเป็นตอ้ งกาหนดหลกั เกณฑส์ าหรับรายจ่ายที่บริษทั หรือหา้ ง หุน้ ส่วนนิติบุคคลสามารถนามาใชค้ านวณกาไรสุทธิในแบบแสดงรายการภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลประจาปี

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.6 อตั ราภาษี และการคานวณภาษี • (1) อตั ราภาษี • ก. กรณีลดอตั ราภาษี ใหค้ านวณภาษี ดงั น้ี • (1.1) กรณีเป็นบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีไม่ใช่บริษทั หรือหา้ งหนุ้ ส่วนนิติบุคคลตาม (1.2) สาหรับรอบระยะเวลาบญั ชีที่เริ่มในหรือหลงั วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 แต่ไม่เกินวนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2558 ใหค้ านวณภาษีในอตั ราร้อยละ 20 ของกาไรสุทธิ • (1.2) กรณีเป็นบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีมีทุนจดทะเบียนที่ชาระแลว้ ในวนั สุดทา้ ยของ รอบระยะเวลาบญั ชีไม่เกิน 5 ลา้ นบาท และมีรายไดจ้ ากการขายสินคา้ และการใหบ้ ริการในรอบระยะเวลา บญั ชี ไม่เกิน 30 ลา้ นบาท ต่อเน่ืองกนั ต้งั แต่รอบระยะเวลาบญั ชีท่ีเริ่มในหรือหลงั วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 เป็นตน้ มา • โดยในรอบระยะเวลาบญั ชีที่เร่ิมในหรือหลงั วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นตน้ ไป ใหค้ านวณ ภาษี ในอตั รา ดงั น้ี • (1.3) กรณีเป็นกิจการสานกั งานปฏิบตั ิการภูมิภาคใหค้ านวณภาษีในอตั ราร้อยละ 10 ของกาไรสุทธิ สาหรับรายไดท้ ี่ไดร้ ับจากวิสาหกิจในเครือหรือสาขาต่างประเทศของสานกั งานฯ ดงั ต่อไปน้ี • (ก) รายไดจ้ ากการใหบ้ ริการของสานกั งานฯ ไดแ้ ก่ วสิ าหกิจในเครือหรือสาขาต่างประเทศของ สานกั งานฯ • (ข) ดอกเบ้ียรับ ท้งั น้ี เฉพาะดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ท่ีสานกั งานฯ ไดก้ มู้ าเพอ่ื ใหก้ ยู้ มื ต่อ • (ค) ค่าสิทธิ รวมท้งั ค่าสิทธิท่ีไดร้ ับจากบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง ซ่ึงไดแ้ ก่ บริษทั หรือ หา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่นาผลการวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยขี องสานกั งานไปใชใ้ นการผลิตสินคา้ หรือ ใหบ้ ริการแก่สานกั งานฯ วิสาหกิจในเครือหรือสาขาต่างประเทศของสานกั งาน ฯ ท้งั น้ี เฉพาะค่าสิทธิท่ีเกิด จากผลการวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยขี องสานกั งานฯ ที่กระทาข้ึนในประเทศไทย

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ 4.6 อตั ราภาษี และการคานวณภาษี (1.4) กรณีเป็นกิจการนาเขา้ ส่งออกไปนอกราชอาณาจกั รในเขตปลอดอากรหรือระหวา่ งเขต ปลอดอากรตามกฎหมายวา่ ดว้ ยศลุ กากร ท่ีไดร้ ับอนุญาตจากกระทรวงพลงั งานใหค้ า้ น้ามนั เชอ้ื เพลิง ให้ คานวณภาษีในอตั ราร้อยละ 10 ของกาไรสุทธิในรอบระยะเวลาบญั ชีท่ีเร่ิมในหรือหลงั วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2547 เป็นตน้ ไป สาหรับรายไดจ้ ากการประกอบธุรกรรมการซ้ือขายน้ามนั เช้ือเพลิง รวมถึงการซ้ือและขาย น้ามนั เช้ือเพลิงตามสัญญาซ้ือขายล่วงหนา้ ดว้ ย ท้งั น้ี บริษทั ซ่ึงประกอบกิจการทม่ี ีรายไดจ้ ากการประกอบ ธุรกรรมและการซ้ือขายน้ามนั เช้ือเพลิงไดแ้ จง้ การเป็นผไู้ ดร้ ับอนุญาตจากกระทรวงพลงั งานในรอบ ระยะเวลาบญั ชีใด ใหไ้ ดร้ ับสิทธิลดอตั ราภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ต้งั แต่รอบระยะเวลาบญั ชนี ้นั เป็นตน้ ไป • (1.5) กรณีเป็นกิจการต้งั อยใู่ นเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจซ่ึงประกอบดว้ ย จงั หวดั นราธิวาส จงั หวดั ปัตตานี จงั หวดั ยะลา จงั หวดั สงขลาเฉพาะในทอ้ งท่ีอาเภอจะนะ อาเภอเทพา อาเภอนาทวี และ อาเภอ สะบา้ ยอ้ ย และจงั หวดั สตูล และมีรายไดท้ ่ีเกิดข้ึนจากการผลิตสินคา้ หรือการขายสินคา้ หรือการ ใหบ้ ริการ ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจ ใหค้ านวณภาษใี นอตั ราร้อยละ 3 ของกาไรสุทธิ สาหรับ 3 รอบ ระยะเวลาบญั ชี ต้งั แต่รอบระยะเวลาบญั ชี 2558 ท่ีเริ่มในหรือหลงั วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ถึงรอบ ระยะเวลาบญั ชี 2560 ท่ีสิ้นสุดภายในหรือหลงั วนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 • (1.6) กรณีกิจการเป็นศนู ยก์ ลางการหาสินคา้ เพอ่ื การผลิตระหวา่ งประเทศ ใหค้ านวณภาษีใน อตั ราร้อยละ 15 ของกาไรสุทธิ • (1.7) กรณีไดร้ ับอนุมตั ิจากกรมสรรพากรใหเ้ สียภาษจี ากยอดรายรับก่อนหกั รายจ่าย ใหเ้ สีย ภาษใี นอตั ราร้อยละ 5 ของยอดรายรับ • ข. ภาษีจากกาไรสุทธิเฉพาะกรณีที่ไดจ้ ากการประกอบกิจการวเิ ทศธนกิจตามประกาศ กระทรวงการคลงั เรื่องการประกอบกิจการวเิ ทศธนกิจของธนาคารพาณิชย ์์ ลงวนั ที่16 กนั ยายน 2535 ร้อยละ 10

4.ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ • 4.6 อตั ราภาษี และการคานวณภาษี • (2) การคานวณภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลจากกาไรสุทธิ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่มีหนา้ ท่ีเสีย ภาษี เงินไดน้ ิติบุคคลจากกาไรสุทธิและตอ้ งคานวณภาษีเงินได้ นิติบุคคล และยน่ื แบบแสดงรายการและชาระ ภาษปี ี ละ 2 คร้ัง ดงั น้ี • ก. การคานวณเงินไดน้ ิติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั ไดม้ ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา 67 ทวิ แห่ง ประมวล รัษฎากรดงั น้ี • (1) ในกรณีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล นอกจากท่ีกล่าวใน (2) ใหจ้ ดั ทาประมาณการ กาไร สุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ ซ่ึงไดจ้ ากกิจการหรือเนื่องจากกิจการท่ีไดก้ ระทาหรอื จะไดก้ ระทาในรอบ ระยะเวลาบญั ชีน้นั แลว้ ใหค้ านวณและชาระภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลจากจานวนก่ึงหนง่ึ ของประมาณการ กาไรสุทธิในรอบระยะเวลาบญั ชีน้นั • (2) ในกรณีบริษทั จดทะเบียนธนาคารพาณิชยต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการธนาคารพาณิชยห์ รือ บริษทั เงินทุน บริษทั หลกั ทรัพย์ หรือ บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ หรือ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ตาม หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขที่อธิบดีกาหนดใหค้ านวณและชาระภาษีจากกาไรสุทธิ ของรอบ ระยะเวลาหกเดือนนบั แต่วนั แรกของรอบระยะเวลาบญั ชีตามเง่ือนไขท่ีระบุไวใ้ นมาตรา 65 ทวิ และ 65 ตรี • ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีน้ีใหถ้ ือเป็นเครดิตในการเสียภาษเี งินไดน้ ิติ บุคคลเมื่อสิ้น รอบระยะเวลาบญั ชีคือ เอาไปหกั ออกจากภาษีท่ีตอ้ งเสียจากกาไรสุทธิของท้งั รอบ ระยะเวลาบญั ชีและในกรณีที่ภาษที ี่เสีย ไวค้ ร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีสูงกวา่ ภาษีที่จะตอ้ งเสียท้งั รอบ ระยะเวลาบญั ชี บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วน นิติบุคคลกม็ ีสิทธิขอคืนภาษที ่ีชาระไวเ้กินได้ • กรณีท่ีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลมีรอบระยะเวลาบญั ชีแรกหรือรอบระยะเวลาบญั ชี สุดทา้ ย นอ้ ยกวา่ 12 เดือน ไม่ตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการและเสียภาษเี งินไดน้ ิติบุคคลคร่ึงรอบระยะเวลา บญั ชี • ข. การคานวณเงินไดน้ ิติบุคคลจากกาไรสุทธิ เม่ือสิ้นรอบระยะเวลาบญั ชี การคานวณกาไรสุทธิ ของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลใหค้ านวณกาไรสุทธิตามเง่ือนไขที่บญั ญตั ิไวใ้ น ประมวลรัษฎากร โดยนากาไรสุทธิดงั กล่าวคูณดว้ ยอตั ราภาษี เงินไดน้ ิติบุคคล จะไดภ้ าษีเงินไดน้ ิตบิ ุคคล ท่ีตอ้ งชาระ ถา้ คานวณกาไรสุทธิออกมาแลว้ ปรากฎวา่ ไม่มีกาไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ บริษทั ไม่ตอ้ งเสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล ถา้ การจดั ทาบญั ชีของบริษทั ไดจ้ ดั ทาข้ึนตามหลกั บญั ชีโดยไม่ไดป้ ฎิบตั ิตามเงื่อนไขใน ประมวลรัษฎากรเม่ือ จะคานวณภาษีบริษทั จะตอ้ งปรับปรุงกาไรสุทธิดงั กล่าวใหเ้ ป็นไปตามเง่ือนไขท่ี บญั ญตั ิไวใ้ น ประมวลรัษฎากรแลว้ จึง คานวณภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล

• การยน่ื แบบแสดงรายการและชาระภาษี • บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบิ ุคคลทีเ่ สียภาษเี งนิ ได้จากกาไรสุทธิจะต้องยนื่ แบบแสดง รายการและชาระภาษดี งั น้ี • (1) การเสียภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคร่ึงรอบ จะตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการพร้อมชาระภาษี(ถา้ มี) ตามแบบ ภ.ง.ด.51 ภายใน 2 เดือนนบั จากวนั สุดทา้ ยของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบญั ชี • (2) การเสียภาษเี งนิ ได้จากกาไรสุทธิเม่อื สิ้นรอบ ระยะเวลาบญั ชีจะตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการพร้อมชาระภาษี (ถา้ มี) ตามแบบ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วนั นบั แต่วนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชี

5. ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย • 5.1 ผู้มหี น้าทเี่ สียภาษี ไดแ้ ก่ กิจการขนส่งระหวา่ งประเทศของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ต่างประเทศ และมูลนิธิหรือสมาคมท่ีประกอบกิจการแลว้ มีรายได้ • 5.2 ฐานภาษี • (1) กรณกี จิ การขนส่ง • (ก) กรณรี ับขนคนโดยสาร รายไดเ้ กิดจากค่าโดยสาร ค่าธรรมเนียมและประโยชนอ์ ื่นใดท่ี เรียกเกบ็ ใน ประเทศไทย ก่อนหกั รายจ่ายใดๆ เน่ืองในการรับขนคนโดยสารน้นั ใหค้ านวณภาษอี ตั รา ภาษรี ้อยละ 3 • ฐานภาษสี าหรับการใหบ้ ริการรับขนคนโดยสารซ่ึงตอ้ งนาไปรวมคานวณเสียภาษเี งินได้ นิติบุคคลใหค้ านวณ จากมลู ค่าของค่าโดยสารท่ีไดร้ ับหรือพึงไดร้ ับสาหรับระยะทางจากตน้ ทางถึง ปลายทางตามท่ีระบุในตวั๋ โดยสาร รวมถึงค่าธรรมเนียมและผลประโยชนอ์ ่ืนใดที่เรียกเกบ็ จากคน โดยสารอนั เนื่องมาจากการใหบ้ ริการรับขนคนโดยสาร ไม่วา่ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลน้นั จะ ใหบ้ ริการรับขนเองท้งั หมดหรือใหผ้ ปู้ ระกอบการอื่นรับขนส่งช่วงให้ • (ข) กรณรี ับขนของ รายไดเ้ กิดจากค่าระวาง ค่าธรรมเนียม และประโยชนอ์ ื่นใดที่เรียกเกบ็ ไม่วา่ ใน หรือนอกประเทศก่อนหกั รายจ่ายใดๆเน่ืองในการรับขนของออกจากประเทศไทยน้นั ให้ คานวณภาษอี ตั ราร้อยละ 3 ฐานภาษสี าหรับการใหบ้ ริการรับขนสินคา้ ซ่ึงตอ้ งนาไปรวมคาวณเสียภาษี เงินไดน้ ิติบุคคลใหค้ านวณ จากมลู ค่าของค่าระวางท่ีไดร้ ับหรือพงึ ไดร้ ับ สาหรับระยะทางจากตน้ ทาง ถึงปลายทางตามท่ีระบุ ในแอร์เวยบ์ ิล ในกรณีรับขนสินคา้ โดยอากาศยานหรือสาหรับระยะทางถึง ปลายทางตามที่ระบุในบิลออฟเลดิงในกรณีรับขน สินคา้ โดยเรือทะเล รวมถึงค่าธรรมเนียมและ ประโยชนอ์ ่ืนใดที่เรียกเกบ็ จากผรู้ ับบริการอนั เน่ือง มาจากการ ใหบ้ ริการรับขนสินคา้ ไม่วา่ สายการ บินหรือสายการเดินเรือน้นั จะใหบ้ ริการรับขนเองท้งั หมด หรือใหผปู้ ระกอบการอื่นรับขนส่งช่วงให้

5. ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากยอดรายได้ก่อนหกั รายจ่าย • (2) กรณมี ูลนิธหิ รือสมาคม • มูลนิธิหรือสมาคมใดมิไดจ้ ดทะเบียนการจดั ต้งั ใหถ้ ูกตอ้ งตามกฎหมายกจ็ ะมีฐานะเป็น เพยี งคณะบุคคลซ่ึง อาจจะตอ้ งเสียภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา เช่น บริษทั จดั ต้งั สโมสรสาหรับพนกั งาน เพ่อื ดาเนินกิจกรรม สันทนาการสาหรับพนกั งาน หรือนกั ศกึ ษาจดั ต้งั สโมสรหรือชมรมต่างๆ โดยไม่ได้ ผกู พนั กบั นิติบุคคลใดโดย เฉพาะ ยอ่ มมีฐานะเป็นหา้ งหุน้ ส่วนหรือ คณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคลซ่ึง จะตอ้ งเสียภาษีเงินไดอ้ ยา่ ง บุคคลธรรมดาแมว้ า่ จะไม่มีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ การคา้ หรือเพ่อื ที่จะแบ่งปัน กาไรกต็ าม • รายไดข้ องมลู นิธิหรือสมาคมที่ตอ้ งเสียภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลรายไดท้ ่ีมูลนิธิหรือสมาคม จะตอ้ ง เสียภาษีเงินได้ จะรวมถึงรายไดท้ ุกอยา่ งไม่วา่ จะไดม้ าจากทางใดๆ เช่น รายไดจ้ ากการขาย สินคา้ และบริการ ดอกเบ้ีย ค่าเช่า เงินปันผล ฯลฯ • รายไดข้ องมลู นิธิหรือสมาคมท่ีไดร้ ับการยกเวน้ ภาษีเงินไดต้ ามมาตรา 65 ทวิ (13) ไดแ้ ก่ • (1) ค่าลงทะเบียนหรือค่าบารุงท่ีไดร้ ับจากสมาชิก • (2) เงินหรือทรัพยส์ ินที่ไดร้ ับจากการรับบริจาค • (3) เงินหรือทรัพยส์ ินที่ไดร้ ับจากการใหโ้ ดยเสน่หา • นอกจากน้ี ยงั มีการยกเวน้ ภาษีเงินไดใ้ หแ้ ก่มลู นิธิหรือสมาคม เฉพาะเงินไดจ้ ากกิจการ โรงเรียน เอกชนซ่ึงได้ ต้งั ข้ึนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรียนเอกชน แต่ไม่รวมถึงเงินไดจ้ ากการขายของ การรับจา้ งทาของ หรือการใหบ้ ริการอ่ืนใดที่ โรงเรียนเอกชนซ่ึงเป็นโรงเรียนประเภทอาชีวศึกษาไดร้ ับ จากผซู้ ่ึงมิใช่นกั เรียน (มาตรา 5 นว แห่งพระราชกฤษฎีกา(ฉบบั ท่ี 10) พ.ศ. 2500) • มลู นิธิและสมาคมตอ้ งเสียภาษเี งินไดน้ ิติบุคคลในอตั รา ดงั น้ี • (1) เงินไดป้ ระเภทท่ี 8 เงินไดจ้ ากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือ การอื่นๆ เสียร้อยละ 2 ของรายไดก้ ่อนหกั รายจ่าย • (2) เงินไดอ้ ่ืน ๆ นอกจาก (ก) เสียร้อยละ 10 ของรายไดก้ ่อนหกั รายจ่ายการคานวณ ภาษเี งินไดข้ องมูลนิธิ หรือสมาคมจะตอ้ งคานวณตามรอบระยะเวลาบญั ชีดว้ ย

5. ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลคานวณจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย • 5.3 การยนื่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี • (1) กิจการขนส่งระหวา่ งประเทศของบริษทั หรือนิติบุคคล ต่างประเทศจะตอ้ งยนื่ แบบแสดง รายการและ ชาระภาษเี งินไดน้ ิติบุคคลภายใน 150 วนั นบั แต่วนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชี กิจการ ขนส่งระหวา่ งประเทศน้ีมิ ตอ้ งยนื่ เสียภาษคี ร่ึงรอบระยะเวลาบญั ชีแต่อยา่ งใด แบบแสดงรายการที่ใชย้ นื่ คือ ภ.ง.ด.52 (ยน่ื รอบระยะเวลาบญั ชี ละ 1 คร้ัง) • (2) มลู นิธิและสมาคมที่ประกอบกิจการมีรายไดต้ อ้ งยนื่ แบบ แสดงรายการและชาระภาษีภายใน 150 วนั นบั แต่วนั สุดทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชีแบบแสดงรายการท่ีใชย้ น่ื คือ ภ.ง.ด. 55 (ยนื่ รอบ ระยะเวลาบญั ชีละ 1 คร้ัง) ในการยนื่ แบบแสดงรายการน้นั มลู นิธิและสมาคมตอ้ งแสดงบญั ชีรายได้ ก่อน หกั รายจ่ายใดๆ ที่มีผสู้ อบบญั ชี ตามมาตรา 3 สัตตตรวจสอบและรับรองในรอบระยะเวลาบญั ชดี งั กล่าว ดว้ ย แต่ไม่ตอ้ งแนบงบดุลแต่อยา่ งใด

6. ภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคลสาหรับเงนิ ได้ทจ่ี ่ายจากหรือในประเทศไทย • 6.1 ผู้มหี น้าทเ่ี สียภาษี ไดแ้ ก่ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีต้งั ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศที่ มิไดป้ ระกอบกิจการในประเทศไทย และไดร้ ับเงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) ที่ จ่ายจากหรือในประเทศไทย การเสียภาษกี รณีน้ีกฎหมายใหเ้ สียโดยวธิ ีหกั ภาษี คือ ผจู้ ่ายเงินไดด้ งั กล่าว จะตอ้ งหกั ภาษีจากเงินไดพ้ งึ ประเมินท่ีจ่ายตามวธิ ีการและอตั ราดงั หวั ขอ้ ถดั ไป ท้งั น้ีไม่วา่ ใครจะเป็นผู้ จ่ายเงินไดก้ ต็ าม ภาษที ่ีหกั ไวใ้ นกรณีน้ีเป็นภาษที ่ีเสียเดด็ ขาดจึงเสร็จสิ้นเป็นรายคร้ังไปถา้ กรณีที่เป็นการ จ่ายเงินไดด้ งั กล่าวใหก้ บั บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลในต่างประเทศซ่ึงเป็นสาขาของบริษทั หรือหา้ ง หุน้ ส่วนนิติบุคคลที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายไทย ผจู้ ่ายเงินไดไ้ ม่มีหนา้ ที่ตอ้ งหกั ภาษตี ามฐานน้ีเพราะผรู้ ับเงิน ไดไ้ ม่ใช่ผมู้ ีหนา้ ท่ีเสียภาษีฐานน้ีแต่อยา่ งใด 6.2 เงนิ ได้ทต่ี ้องหักภาษี เงินไดข้ องบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลต่างประเทศ ซ่ึงผจู้ ่ายมีหนา้ ท่ีตอ้ ง หกั ภาษี ไดแ้ ก่ เงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) (1) เงินไดพ้ ึงประเมินตามมาตรา 40(2) ไดแ้ ก่ เงินไดเ้ น่ืองจากหนา้ ที่หรือ ตาแหน่งงานที่ทา หรือ จากการรับ ทางานให้ (ค่าธรรมเนียมค้าประกนั เงินกยู้ มื ในทางปฏิบตั ิถือเป็นเงินไดพ้ ึงประเมิน ประเภทท่ี 8) (2) เงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40(3) ไดแ้ ก่ ค่าแห่งกดู๊ วลิ ล์ ค่าแห่งลิขสิทธ์ิ หรือสิทธิอยา่ งอ่ืน เงินปี หรือเงินไดม้ ีลกั ษณะเป็นเงินรายปี อนั ไดม้ าจากพินยั กรรม นิติกรรมอยา่ งอ่ืนหรือคาพพิ ากษาของ ศาล (3) เงินไดพ้ ึงประเมินตามมาตรา 40(4) ไดแ้ ก่เงินไดท้ ี่เป็น (ก) ดอกเบ้ียพนั ธบตั ร ดอกเบ้ียเงินฝาก ดอกเบ้ียหุน้ กู้ ดอกเบ้ียตวั๋ เงิน ดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ไม่วา่ จะมีหลกั ประกนั หรือไม่กต็ าม กรณีไดเ้ งินไดท้ ี่เป็นดอกเบ้ียจากรัฐบาล หรือสถาบนั การเงินท่ีมีกฎหมายโดยเฉพาะของ ประเทศไทย จดั ต้งั ข้ึนสาหรับใหก้ ยู้ มื เพ่อื ส่งเสริม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม ไม่ตอ้ ง เสีย ภาษฐี านน้ี (มาตรา 70 วรรค 2 ) (ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกาไรหรือประโยชนอ์ ื่นใดที่ไดจ้ ากบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วน นิติบุคคลหรือกองทุนรวม (ค) เงินโบนสั ที่จ่ายแก่ผถู้ ือหุน้ หรือผเู้ ป็นส่วนในบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล (ง) เงินลดทุนของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล เฉพาะส่วนที่จ่ายไม่เกินกวา่ กาไรและ เงินท่ีกนั ไวร้ วมกนั

6. ภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคลสาหรับเงนิ ได้ทจ่ี ่ายจากหรือในประเทศไทย • (จ) เงินเพิ่มทุนของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ซ่ึงต้งั กาไรที่ไดม้ าหรือเงินท่ีกนั ไว้ รวมกนั (ฉ) ผลประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการท่ีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลควบเขา้ กนั หรือรับ ช่วงกนั หรือเลิกกนั ซ่ึงตีราคาเป็นเงินไดเ้ กินกวา่ เงินทุน (ช) ผลประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการโอนการเป็นหุน้ ส่วน หรือโอนหุน้ หุน้ กู้ พนั ธบตั ร หรือ ตวั๋ เงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหน้ีที่บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลหรือบุคคลอื่นเป็นผอู้ อก ท้งั น้ีเฉพาะ ซ่ึงตีราคาเป็นเงินไดเ้ กินกวา่ ท่ีลงทุน (4) เงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40(5) ไดแ้ ก่ เงินหรือประโยชนอ์ ยา่ งอื่นที่ไดเ้ น่ืองจากการ ใหเ้ ช่า ทรัพยส์ ิน (5) เงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40(6) ไดแ้ ก่ เงินไดจ้ ากวชิ าชีพอิสระ คือวชิ ากฎหมาย การ ประกอบ โรคศลิ ป วศิ วกรรม สถาปัตยกรรม การบญั ชี ประณีตศลิ ปกรรม 6.3 วธิ กี ารคานวณหักภาษฐี านนี้ มีหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการแยกออก ตามประเภทของเงินได้ ดงั น้ี (1) เงินไดพ้ ึงประเมินมาตรา 40(2)(3)(4)(5) และ (6) นอกจากเงินไดพ้ ึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข) ดงั จะกล่าวต่อไปใน (2) ใหค้ านวณหกั ภาษใี นอตั ราร้อยละ 15 (2) เงินไดพ้ ึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข) ใหค้ านวณหกั ภาษใี นอตั ราร้อยละ 10 การยน่ื แบบแสดงรายการชาระภาษี การหกั ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ณ ท่ีจ่ายสาหรับบริษทั ต่างประเทศขา้ งตน้ ผจู้ ่ายเงินไดจ้ ะตอ้ งหกั ภาษี ณ ที่จ่าย และยนื่ แบบแสดงรายการและนาส่งภาษี ภายใน 7 วนั นบั แต่วนั สิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินไดพ้ งึ ประเมินแบบแสดงรายการท่ียนื่ ไดแ้ ก่ แบบ ภ.ง.ด.54 (ถา้ ไม่มี การส่งเงินไดไ้ ปต่างประเทศกไ็ ม่ตอ้ งยนื่ )

7. ภาษเี งนิ ได้นิตบิ ุคคลสาหรับการจาหน่ายกาไรไปนอกประเทศ • 7.1 ผู้มหี น้าทเี่ สียภาษฐี านนี้ ไดแ้ ก่ บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลซ่ึงจาหน่ายเงินกาไรหรือเงิน ประเภทอ่ืนใดท่ีกนั ไวจ้ ากกาไรหรือที่ถือไดว้ า่ เป็นเงินกาไรออกไปจากประเทศไทยใหเ้ สียภาษเี งินได้ โดยหกั ภาษีจากจานวนเงินท่ีจาหน่าย การจาหน่ายเงินกาไรน้นั ใหห้ มายความรวมถึง (1) การจาหน่ายเงินกาไร หรือเงินประเภทอ่ืนใดที่กนั ไวจ้ ากกาไรหรือที่ถือไดว้ า่ เป็นเงินกาไร จากบญั ชีกาไรขาดทุนหรือบญั ชีอ่ืนใดไปชาระหน้ี หรือหกั กลบลบหน้ีหรือไปต้งั เป็นยอดเจา้ หน้ีใน บญั ชี ของบุคคลใด ๆ ในต่างประเทศ หรือ (2) ในกรณีท่ีมิไดป้ รากฎขอ้ เทจ็ จริงดงั กล่าวใน (1) แต่ไดม้ ีการขออนุญาตซ้ือและโอนเงินตรา ต่างประเทศ ซ่ึงเป็นกาไรหรือเงินประเภทอื่นใดที่กนั ไวจ้ ากกาไร หรือท่ีถือไดว้ า่ เป็นเงินกาไรออกไป ต่างประเทศ หรือ (3) การปฏิบตั ิอยา่ งอื่นอนั ก่อใหเ้ กิดผลตาม (1) หรือ (2) 7.2 อตั ราภาษแี ละการคานวณภาษี วธิ ีการเสียภาษีการจาหน่ายเงินกาไรไปต่างประเทศน้ี ใหเ้ สียภาษี โดยหกั จากจานวนเงินท่ีจาหน่ายในอตั ราร้อยละ 10 7.3 การยนื่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ีจาหน่ายเงินกาไรไป ต่างประเทศ จะตอ้ งยนื่ แบบแสดงรายการและชาระภาษี ภายในเจด็ วนั นบั แต่วนั สิ้นเดือนของเดือนที่ จาหน่ายเงินกาไร แบบแสดงรายการท่ีใชย้ น่ื ไดแ้ ก่ ภ.ง.ด. 54 (ยนื่ ทุกคร้ังที่มีการจาหน่ายเงิน กาไร ออกไปจากประเทศไทย ถา้ เกบ็ กาไรไวใ้ นประเทศไทยไม่ตอ้ งเสียภาษีฐานน้ี)

8. สถานที่ยนื่ แบบแสดงรายการภาษี • 8.1 ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยน่ื ณ (1) สานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขา (สรรพากรเขต/อาเภอ เดิม) ในทอ้ งที่ที่ สานกั งานใหญ่ต้งั อยู่ 8.2 ในเขตจงั หวดั อนื่ ให้ยน่ื ณ (1) ที่วา่ การอาเภอหรือก่ิงอาเภอทอ้ งที่ที่สานกั งานใหญ่ต้งั อยู่ ในกรณี สานกั งานสรรพากรอาเภอมิไดต้ ้งั อยู่ ณ ท่ีวา่ การอาเภอใหย้ นื่ ณ สานกั งานสรรพากร อาเภอ • หมายเหตุ การยน่ื แบบแสดงรายการภาษี ภ.ง.ด.50 , ภ.ง.ด.51 , ภ.ง.ด.53 และ ภ.ง.ด.54 สามารถยนื่ ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องกรมสรรพากรกไ็ ด้



อย่าลมื กลบั ไปทบทวนหลงั เรียน นะคะ • ครูสิริกร ถวั่ สกลุ • ครู • แผนกวชิ าการบญั ชี • วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี • ทม่ี า https://www.rd.go.th/fileadmin/user_upload/borkor/ borkor_170260.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook