Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล (วโรดม 6/3 3)

พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล (วโรดม 6/3 3)

Published by andrewafnz, 2020-11-06 18:51:28

Description: Purple Working Remotely Vectors Creative Presentation

Search

Read the Text Version

CG พลเมืองดิจิทัล และความฉลาด ทางดิจิทัล

THE CREATIVE GUILD CG พลเมืองดิจิทัล หรอื DIGITAL CITIZENS เปนกระแสที แพรห่ ลายไปทัวโลกนับตังแต่อินเตอรเ์ น็ตและเทคโนโลยี สารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในการดาํ เนินกิจกรรมด้าน ต่างๆ ในชีวิตประจาํ วันประเทศไทยให้ความสาํ คัญกับเรอื งดัง กล่าวอย่างจรงิ จังหลังจากทีรฐั บาลผลักดันนโยบาย (เศDรIษGฐIกTิจAดLิจิทEัลCONOMY) เพือเสรมิ สรา้ งความ เข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจและเตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้นีในยุคปจจุบันเทคโนโลยี สารสนเทศมีความเกียวข้องกับการใช้ชีวิตประจาํ วัน อย่างหลีกเลียงไม่ได้จึงมีความจาํ เปนอย่างยิงทีทุกคนควร เสรมิ สรา้ งศักยภาพการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวอย่างชาญ ฉลาดและก้าวเข้าสู่ความเปนพลเมืองในยุคดิจิตอลได้อย่าง ภาคภูมิ

ความหมายและคุณลักษณะเบืองต้นของพลเมืองดิจิทัล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสมาํ เสมอและมีประสิทธิภาพเปนคุณลักษณะเบือง ต้นของการเปนพลเมืองในยุ คดิจิทัลนอกจากนีบุ คคลผู้นันจะต้องมีทักษะและความรู้ ทีหลากหลายในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุ ปกรณ์และช่องทางการสือสารประเภทต่างๆ เช่น โซเชียลเนตเวิร์ก (Facebook, Twitter, Instagram, Line) และอุ ปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบใหม่ (แท็บเล็ต และมือถือสมาร์ทโฟน) เปนต้น อย่างไรก็ตามมีผู้ตังข้อสังเกตว่าทักษะการใช้อินเทอร์เนตและเทคโนโลยี สารสนเทศเพือประโยชน์ในการดาํ รง ชีวิตประจาํ วันไม่เพียงพอต่อคุณลักษณะของการเปนพลเมืองดิจิตอลทีสมบู รณ์ หากแต่บุ คคลผู้นันจะต้องใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ในทางทีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุ คคลอืนและ สังคม เช่น การเคารพสิทธิและหน้าทีของผู้อืนตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพือสือสาร กั บ ภ า ค ร ัฐ แ ล ะ ภ า ค เ อ ก ช น เ พื อ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี ย น แ ป ล ง ใ น ท า ง ที ดี แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง

15% คุณลักษณะทีดีของพลเมืองดิจิทัล (GOพOลเDมือDงIดGิจIิตTอAลLทีมCีคIุณTIลZักEษNณSะ)ทีดมีี องค์ประกอบหลายประการ สรุปได้โดยย่อ ดังนี 85%

1 การตระหนักถึงความ สามารถในการเข้าถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ ของผู้อืน ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทุกคนควรตระหนักว่าบุ คคลมีโอกาส ในการเข้าถึงและมีศั กยภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทีแตกต่าง กั น พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ต อ ล ที ดี จึ ง ไ ม่ ค ว ร เ ลื อ ก ปฏิบัติและดูหมินบุ คคลผู้ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีฯ ห า ก แ ต่ จ ะ ต้ อ ง ช่ ว ย กั น แ ส ว ง ห า ม า ต ร ก า ร ต่ า ง ๆ เ พื อ เ ส ร ิม ส ร ้า ง ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ฯ อั น จ ะ ทํา ใ ห้ สั ง ค ม แ ล ะ ประเทศนันๆก้าวเข้าสู่ยุ คดิจิตอลได้อย่างภาคภูมิ

2 การเปนผู้ประกอบการ และผู้บรโิ ภคทีมีจรยิ ธรรม เ ป น ที ท ร า บ กั น โ ด ย ทั ว ไ ป ว่ า เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ไ ด้ เ ป ลี ย น แ ป ล ง ร ะ บ บ ตลาดแบบดังเดิม(Traditional Marketplace) ไปสู่ตลาดในระบบอิเลค ทรอนิกส์(ElectronicMarketplace) และได้รับความนิยมอย่างแพร่ ห ล า ย ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด้ จ า ก ค ว า ม ห ล า ย ห ล า ย ข อ ง ป ร ะ เ ภ ท สิ น ค้ า ที ส า ม า ร ถ ซื อ หาได้ในระบบออนไลน์ตลอดจนบริการประเภทต่างๆ ทีผู้ บริโภคสามารถทําธุรกรรมได้อย่างสะดวกพลเมืองยุ คดิจิตอลจะต้องมี ความซือสัตย์และมีศี ลธรรมในการทํานิติกรรมและธุรกรรมทุกประเภท บนโลกออนไลน์เช่น ไม่ซือขายและทําธุรกรรมทีผิดกฎหมาย เช่น การดาวน์โหลดสิงทีขัดต่อกฎหมาย ตลอดจนการใช้ประโยชน์จาก เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื อ ห ล อ ก ล ว ง ผู้ อื น ใ ห้ ซื อ สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริก า ร ที ไ ม่ มี คุ ณ ภ า พ เ ป น ต้ น

3 . การเปนผู้ส่งสารและ รบั สารทีมีมรรยาท รู ป แ บ บ ก า ร สื อ ส า ร ไ ด้ มี ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ เ ป ลี ย น แ ป ล ง ไ ป อ ย่ า ง ม า ก ใ น ช่ ว ง ศ ต ว ร ร ษ ที 2 1 ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด้ จ า ก รู ป แ บ บ ก า ร สื อ ส า ร ผ่ า น อินเตอร์เน็ตทีสะดวก รวดเร็วและมีความเชือมโยงทัวโลก เช่น อีเมลล์และโซเชียลมีเดียหลากหลายประเภท ปจจุ บันมีผู้ใช้ข้อได้ เปรียบของช่องทางการสือสารดังกล่าวอย่างไม่เหมาะสมเช่น การ ส่งสารที มีเจตนาหมินประมาทผู้อืนและการส่งสารทีมีเจตนาให้ สั ง ค ม เ กิ ด ค ว า ม แ ต ก แ ย ก ทั ง ที ก ร ะ ทํา ไ ป โ ด ย เ จ ต น า ห ร ือ รู ้เ ท่ า ไ ม่ ถึงการณ์ ดังนันพลเมืองดิจิตอลทีดีจะต้องมีมรรยาทและความรับ ผิดชอบต่อการกระทําของตนในโลกออนไลน์หรือ ทีเรารู้จักกันดีใน นามของ (DigitalEtiquette) ทีจะเปนเครืองมือในการยาํ เตือนสติ ต ล อ ด จ น ก า ร ก ร ะ ทํา ที เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร สือสารทุกประเภทในยุ คดิจิตอล

4 . การเคารพต่อกฎหมาย และกฎระเบียบ ปจจุ บันการทําธุรกรรมและนิติกรรมทางอิเลคทรอนิกส์อยู่ภายใต้บังคับของ ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ทํา ธุ ร ก ร ร ม ท า ง อิ เ ล ค ท ร อ นิ ก ส์ ซึ ง มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก ใ น ก า ร ป อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ล ะ เ มิ ด ในรูปแบบต่างๆ ทีมีลักษณะเปนอาชญกรรมทางอีเลคทรอนิกส์ เช่น การลัก ขโมยและการจารกรรมข้อมู ลประเภทต่างๆเช่น ข้อมู ลทางธุรกิจ และข้อมู ลส่วนบุ คคลตลอดจนมาตรการคุ้มครองเกียวกับทรัพย์สินทาง ปญญาในรูปแบบต่างๆ ดังนันพลเมืองยุ คติจิตอลทีดีจะต้องตระหนักและรับ ท ร า บ ถึ ง ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ดั ง ก ล่ า ว ต ล อ ด จ น มี ค ว า ม ยั บ ยั ง ช่ า ง ใ จ ต่ อ การกระทําของตนทีอาจเปนการละเมิดสิทธิของบุ คคลอืน

5 การใช้เทคโนโลยีให้มี ความเหมาะสมและไม่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ที ข า ด ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม อ า จ ส่ ง ผ ล เ สี ย ต่อสุขภาพโดยรวม เช่นความเครียดต่อสุขภาพกายและสุขภาพ จิ ต ต ล อ ด จ น ก า ร ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร สู ญ เ สี ย สั ม พั น ธ์ ภ า พ ใ น สั ง ค ม ไ ด้ พลเมืองยุ คดิจิตอลจะต้องควบคุมการใช้อุ ปกรณ์อิเลคทรอนิ ก ส์ ใ ห้ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม เ พื อ ป อ ง กั น มิ ใ ห้ เ กิ ด อ า ก า ร เ ส พ ติ ด ต่ อ สิงดังกล่าวจนเกิดผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมได้ นอกจากนี ก า ร ล ด ป ร ิม า ณ ก า ร สื อ ส า ร แ บ บ อ อ น ไ ล น์ ม า เ ป น รู ป แ บ บ ก า ร สื อ ส า ร แ บ บ ดั ง เ ดิ ม ใ น บ า ง โ อ ก า ส จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ดี ต่ อ สัมพันธภาพของบุ คคลใกล้ชิดอีกด้วย

เรยี นรูว้ ิธีการเสรมิ สรา้ ง 6 ความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยี พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ต อ ล น อ ก จ า ก จ ะ ต้ อ ง เ ป น ผู้ ที มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพแล้วจะต้องใฝรู้และให้ความสาํ คัญกับมาตรการเพือความปลอดภัย แ ล ะ ก า ร คุ้ ม ครองข้อมู ลส่วนบุ คคลด้วย (Digital Security) เนืองจากในยุ คดิจิตอลนันผู้มี เ จ ต น า ก ร ะ ทํา ผิ ด แ ล ะ ห ล อ ก ล ว ง ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ที มี ค ว า ม ทั น ส มั ย เ พื อ ห ล อ ก ล ว ง ผู้ อื น ไ ด้ ง่ า ย ก ว่ า ก ร ะ บ ว น ก า ร สื อ ส า ร แ บ บ ดั ง เ ดิ ม วิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทีสามารถ ก ร ะ ทํา ไ ด้ โ ด ย ง่ า ย มี ห ล า ก ห ล า ย วิ ธี เช่น การติดตังระบบปองกัน การจารกรรมและการทําลายข้อมู ลให้กับอุ ปกรณ์การสือสารทุกประเภท ตลอดจนรู้เท่าทันต่อรูปแบบและกลอุ บายของอาชญากรอิเลคทรอนิกส์ทีมักมี ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ก ร ะ ทํา ผิ ด อ ยู่ เ ส ม อ

คพวัฒามนฉาขลอาดงทDาQงดIิจNิทSัลTเปITนUผลTจEากหศนึก่วยษงาแานลทะ ี (เอDกIลGักIษTณAL์พCลเIมTือIZงดEิจNิทัลIDENTITY) เกิดจากความรว่ มมือกันของภาครฐั และ เอกลักษณ์พลเมืองดิจิทัล เปนความสามารถสรา้ งและบรหิ ารจัดการอัต EเเวอCิลกOดช์อนNีโทคOัวโโนMลมกIิกปCฟรFอะสOรามั นR(งUWาMนOร)ว่ RมทLกีมDับุ่งมันให้เด็กๆ ลักษณ์ทีดีของตนเองไว้ได้อย่างดีทังในโลก ออนไลน์และโลกความจรงิ อัตลักษณ์ทีดีคือ ทุกประเทศได้รบั การศึกษาด้านทักษะ การทีผู้ใช้สือดิจิทัลสรา้ งภาพลักษณ์ในโลก พลเมืองดิจิทัลทีมีคุณภาพและใช้ชีวิตบนโลก ออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ออนไลน์อย่างปลอดภัยด้วยความก้าวหน้า ทังความคิดความรูส้ ึก และการกระทํา ของเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยมีวิจารณญาณในการรบั ส่งข่าวสารและ ความฉลาดทางดิจิทัล แสดงความคิดเห็น เปนกรอบแนวคิดทีครอบคลุมของความ มีความเห็นอกเห็นใจผู้รว่ มใช้งานในสังคม สามารถทางเทคนิคความรูค้ วามเข้าใจและ ออนไลน์ และรูจ้ ักรบั ผิดชอบต่อการกระทํา ความคิดทางสังคมทีมีพืนฐานอยู่ในค่านิยม ไม่กระทําการทีผิดกฎหมายและจรยิ ธรรมใน ทางศีลธรรมทีช่วยให้บุคคลทีจะเผชิญกับ โลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลิขสิทธิ ความท้าทายทางดิจิทัล การกลันแกล้งหรอื การใช้วาจาทีสรา้ งความ เกลียดชังผู้อืนทางสือออนไลน์ 8ความฉลาดทางดิจิทัล มีสามระดับ ด้าน 24และ สมรรถนะทีประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยม 8โดยบทความนีจะกล่าวถึงทักษะ ด้านของ ความฉลาดดิจิทัลในระดับพลเมืองดิจิทัล ซึงเปนความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลและสือในรูปแบบทีปลอดภัยรบั ผิดชอบ และมีจรยิ ธรรม ดังนี

การบรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time Management) การบรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล เปนความสามารถควบคุมตนเอง ความสามารถในการจัดสรรเวลาในการ ใช้งานอุ ปกรณ์ดิจิทัลและอุ ปกรณ์เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้งานสือสังคม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ด้วยความรบั ผิด ชอบต่อตนเอง สามารถบรหิ ารเวลาทีใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพือให้เกิดสมดุลระหว่างโลกออนไลน์ และโลกความเปนจรงิ อีกทังตระหนักถึงอันตราย และสุขภาพจากการใช้เวลาหน้าจอนานเกินไป และผลเสียของการเสพติดสือดิจิทัล การจัดการการกลันแกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การจัดการการกลันแกล้งบนไซเบอร์ เปนความสามารถในการปองกันตนเอง การมีภูมิคุ้มกันในการรบั มือและจัดการกับ สถานการณ์การกลันแกล้งบนอินเทอรเ์ น็ตได้อย่างชาญฉลาด การใช้อินเทอรเ์ น็ตเปนเครอื งมือหรอื ช่องทางเพือก่อให้เกิดการคุกคามล่อลวงและการกลันแกล้งบน โลกอินเทอรเ์ น็ตและสือสังคมออนไลน์ โดยกลุ่มเปาหมายมักจะเปนกลุ่มเด็กจนถึง เด็กวัยรุน่ การกลันแกล้งบนโลกไซเบอรค์ ล้ายกันกับการกลันแกล้งในรูปแบบอืน หากแต่การกลันแกล้งประเภทนีจะกระทําผ่านสือออนไลน์หรอื สือดิจิทัล เช่น การส่งข้อความทางโทรศัพท์ ผู้กลันแกล้งอาจจะเปนเพือนรว่ มชัน คนรูจ้ ักในสือสังคมออนไลน์ หรอื อาจจะเปนคนแปลกหน้าก็ได้ แต่ส่วนใหญ่ผู้ทีกระทําจะรูจ้ ักผู้ทีถูกกลันแกล้งรูปแบบของการกลันแกล้งมักจะเปนการว่ารา้ ย ใส่ความ ขู่ทํารา้ ย หรอื ใช้ถ้อยคําหยาบคาย การคุกคามทางเพศผ่านสือออนไลน์ การแอบอ้างตัวตน ของผู้อืน การแบล็กเมล์ การหลอกลวง การสรา้ งกลุ่มในโซเชียลเพือโจมตีโดยเฉพาะ

การจัดการความปลอดภัยบนระบบเครอื ข่าย (Cybersecurity Management) การจัดการความปลอดภัยบนระบบเครอื ข่าย เปนความสามารถในการสาํ รวจ ตรวจสอบ การปองกัน และ การรกั ษาความปลอดภัยของ ข้อมูลในระบบเครอื ข่าย ปองกันข้อมูลด้วยการสรา้ งระบบความปลอดภัยทีเข้มแข็ง และปองกันการโจรกรรมข้อมูลหรอื การถูกโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์การรกั ษาความปลอดภัยของ ตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกปองอุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูลทีจัดเก็บและข้อมูลส่วนตัวไม่ให้เสียหาย สูญหาย หรอื ถูกโจรกรรมจากผู้ไม่หวังดีในโลกไซเบอร์ การจัดการความเปนส่วนตัว (Privacy Management) การจัดการความเปนส่วนตัว เปนความสามารถในการจัดการกับความเปนส่วนตัวของตนเองและของผู้อืน การใช้ข้อมูลออนไลน์รว่ มกัน การแบ่งปนผ่านสือดิจิทัล ซึงรวมถึงการบรหิ ารจัดการ รูจ้ ักปองกันข้อมูลส่วนบุคคลของตนเอง เช่น การแชรข์ ้อมูลต่าง ๆ ด้วยเครอื งมือดิจิทัล การขโมยข้อมูลอัตลักษณ์ เปนต้น โดยต้องมีความสามารถในการฝกฝนใช้เครอื งมือ หรอื วิธีการในการปองกันข้อมูลตนเองได้ เปนอย่างดี รวมไปถึงปกปดการสืบค้นข้อมูลต่างๆ ในเว็บไซต์ เพือรกั ษาความเปนส่วนตัวความเปนส่วนตัวในโลกออนไลน์ คือสิทธิการปกปองข้อมูลความส่วนตัวในโลกออนไลน์ของผู้ใช้งานทีบุคคลหรอื การบรหิ าร จัดการข้อมูลส่วนตัว รวมถึงการใช้ดุลยพินิจปกปอง ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทีเปนความลับของผู้อืน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการตัดสินของบุคคลว่าควรเชือ ไม่ควรเชือ ควรทํา หรอื ไม่ควรทําบนความคิดเชิงเหตุและผล มีความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลทีถูกต้องและข้อมูลทีผิด ข้อมูลทีมีเนือหาเปนประโยชน์และข้อมูลทีเข้าข่าย

อันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ทีน่าตังข้อสงสัยและน่าเชือถือได้ เมือใช้อินเทอรเ์ น็ต ทราบว่าเนือหาใดมีประโยชน์ รูเ้ ท่าทันสือและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และประเมิน ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทีหลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในสือดิจิทัล เช่น ข่าวปลอม เว็บไซต์ปลอม ภาพตัดต่อ ข้อมูลอันทีเท็จ เปนต้น รอ่ งรอยทางดิจิทัล (DIGITAL FOOTPRINTS) รอ่ งรอยทางดิจิทัล เปนความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลว่าจะหลงเหลือรอ่ งรอย ข้อมูลทิงไว้เสมอ รอ่ งรอยทางดิจิทัล อาจจะส่งผลกระทบในชีวิตจรงิ ทีเกิดจากรอ่ งรอยทางดิจิทัลเข้าใจผลลัพธ์ทีอาจเกิดขึน เพือนาํ มาใช้ในการจัดการกับชีวิตบทโลกดิจิทัลด้วยความรบั ผิดชอบ ข้อมูลรอ่ งรอยทางดิจิทัล เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสต์ข้อความหรอื รูปภาพ ไฟล์งานต่าง ๆ เมือถูกส่งเข้าโลกอินเทอรเ์ น็ตแล้ว จะทิงรอ่ งรอยข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานไว้ ให้ผู้อืนสามารถติดตามได้ และจะเปนข้อมูลทีระบุตัวบุคคลได้อย่างง่ายดาย

ค(DวาIมGเIหT็นAอLกเEหM็นใจPแAลTะสHรYา้ ง)สัมพันธภาพทีดีกับผู้อืนทางดิจิทัล ความเห็นอกเห็นใจและสรา้ งสัมพันธภาพทีดีกับผู้อืนทางดิจิทัล เปนความสามารถในการ เข้าใจผู้อืนการตอบสนองความต้องการของผู้อืน การแสดง ความเห็นใจและการแสดงนาํ ใจ ต่อผู้อืนบนโลกดิจิทัลได้อย่างเหมาะสมมีปฏิสัมพันธ์อันดีต่อคนรอบข้าง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพือนทังในโลกออนไลน์และในชีวิตจรงิ ไม่ด่วนตัดสินผู้อืนจากข้อมูลออนไลน์แต่เพียงอย่าง เดียวและจะเปนกระบอกเสียงให้ผู้ทีต้องการความช่วยเหลือในโลกออนไลน์ จะเห็นว่าความฉลาดดิจิทัลในระดับพลเมืองดิจิทัลเปนทักษะทีสาํ คัญสาํ หรบั นักเรยี น และบุคคลทัวไปในการสือสารในโลกออนไลน์เปนอย่างยิง ทังเอกลักษณ์พลเมืองดิจิทัลการ บรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล การจัดการการกลันแกล้งบนไซเบอรก์ ารจัดการความ ปลอดภัยบนระบบเครอื ข่าย การจัดการความเปนส่วนตัวการคิดอย่างมีวิจารณญาณ รอ่ ง 8รอยทางดิจิทัล ความเห็นอกเห็นใจและสรา้ งสัมพันธภาพทีดีกับผู้อืนทางดิจิทัล หากบุคคลมีทักษะและความสามารถทัง ประการจะทําให้บุคคลนันมีความสามารถในการใช้ อินเทอรเ์ น็ตในการบรหิ ารจัดการควบคุม กํากับตน รูผ้ ิดรูถ้ ูก และรูเ้ ท่าทัน เปนบรรทัดฐานในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเหมาะสม เรยี นรูท้ ีจะใช้เทคโนโลยีอย่างชาญ ฉลาด และปลอดภัย

THYOANUK


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook