การจัดทาแผนการบริหารจดั การปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงของยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) : ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ความสอดคล้องของ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ: แผนแม่บทการบริหารจัดการน้าท้ังระบบ และสอดคล้องของ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้าของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2569): ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟู สภาพป่าต้นน้าที่เส่ือมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน กลยุทธ์: การอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ในพื้นที่ดินเส่ือมโทรมและชะล้างพังทลายของดิน โดยมีเป้าหมายสาคัญสูงสุด คือ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมได้รับ การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูให้สามารถใช้ท่ีดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามศักยภาพของพ้ืนที่ ไม่น้อยกว่า 20 ลา้ นไร่ ภายใน 20 ปี คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจดั การโครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟ้ืนฟู พื้นที่ เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พื้นท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ได้ดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและความต้องการของชุมชน และการรับฟัง ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ทาให้ได้ ตน้ แบบแผนการบริหารจัดการโครงการที่กรมพฒั นาที่ดนิ สามารถนาไปใช้ในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน ด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้บรรลุ เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนบริหาร จดั การนา้ ของประเทศ การกาหนดกรอบแนวคิดจากหลักการ เขา้ ใจ เข้าถึง และพฒั นา โดยการนาฐานข้อมลู ดา้ นทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดินปัญหาและการชะล้างพังทลายของดิน เป็นตัวกาหนดพ้ืนท่ีเป้าหมาย จากสภาพปัญหา สาหรบั นาไปใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพฒั นา และเน้นกระบวนการ มีส่วนร่วมของชุมชน บูรณาการข้อมูลเชิงสหวชิ าการเพื่อใช้ในการพัฒนาและวางแผนการใช้ที่ดิน กาหนด มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ และความต้องการของชุมชน เพ่ือให้ได้เขตอนุรักษ์ดินและน้าที่มีการบริหารจัดการเชิงระบบ เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์พื้นท่ี การเกษตรไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเหมาะสมตามศักยภาพของทด่ี นิ โดยสามารถสรุปผลการจดั ทาแผน บรหิ ารจดั การป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพื้นท่เี กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษด์ ินและน้า ดังน้ี
จากการศึกษาและสารวจข้อมูลดินในพ้ืนท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือจัดทา ฐานข้อมูลและประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน โดยเน้นด้านการชะล้างพังทลายของดิน ท้ังน้ีเพื่อนาไปสู่ การวเิ คราะหแ์ นวทางการใชท้ ่ดี ินดา้ นการเกษตร และกาหนดมาตรการเพื่อปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของ ดินและอนุรักษ์ดินและน้าท่ีเหมาะสม ผลการจาแนกสภาพปัญหาของดินหรือข้อจากัดต่อการใช้ท่ีดินด้าน การเกษตร แบ่งเป็น 5 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) กลุ่มดินเค็ม เป็นดินเค็มด่างมีเกลือโซเดียมสูงซ่ึงมีผลต่อ การเจริญเติบโตของพืช มีโครงสร้างไม่เหมาะสม มีเน้ือท่ีประมาณ 60,540 ไร่ หรือร้อยละ 56.47 (2) กลุ่มดินลึกปานกลางบนที่ดอน ท่ีมีสมบัติทางกายภาพของดินไมดี ดินค่อนขางแนนทึบ โครงสร้าง ไมเหมาะสมอาจขาดแคลนน้าไดในชวงฤดูเพาะปลูก มีเน้ือที่ประมาณ 23,845 ไร่ หรือร้อยละ 22.24 (3) กลุ่มดินลึกปนทรายบนที่ดอน มีความอุดมสมบูรณ์ต่า เส่ียงต่อการขาดแคลนน้าในฤดูเพาะปลกู เน้ือท่ี ประมาณ 10,926 ไร่ หรือร้อยละ 10.19 (4) กลุ่มดินเหนียวในท่ีลุ่ม สมบัติทางกายภาพของดินไมดี ดินคอ่ นข้างแนนทึบ โครงสรางไมเหมาะสม นา้ ซมึ ผานไดชา อาจขาดแคลนนา้ ไดในชวงฤดูเพาะปลูก เนื้อที่ ประมาณ 6,885 ไร่ หรือรอ้ ยละ 6.42 (5) กลุ่มดินปนทรายในท่ลี ุม่ ความอุดมสมบรู ณค่อนขางต่า เสีย่ งต่อ การขาดน้าในฤดูเพาะปลูก เน้ือที่ประมาณ 3,770 ไร่ หรือร้อยละ 3.52 นอกจากนั้นเป็นพ้ืนที่ชุมชน แหลง่ นา้ และเบ็ดเตลด็ อืน่ ๆ ลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ต้ังอยู่ในลุ่มน้าหลักแม่น้ามูล (05) ลุ่มน้าสาขาลาเชิงไกร (0506) มีพื้นท่ี 181.8304 ตารางกิโลเมตร (113,644 ไร่) มีปริมาณน้าท่าคิดเป็น 77.62 ล้านลูกบาศก์ เมตรต่อปี ซ่ึงถือว่ามีปริมาณน้าท่ีสามารถเก็บกักไว้ใช้เพ่ือการเกษตรได้ในปริมาณมากเพียงพอ ลักษณะ ของลมุ่ นา้ ห้วยทา่ แคมกี ารวางตัวตามแนวทิศตะวันตก-ตะวนั ออก มลี าน้าสาคัญได้แก่ ห้วยดา่ น หว้ ยสวาย หว้ ยสันเทียะ ทไ่ี หลลงหว้ ยทา่ แคบริเวณตาบลโนนไทย และหว้ ยท่าแคไหลลงลาเชิงไกรบรเิ วณเขตระหว่าง ตาบลจันอัดและเมืองปราสาท อาเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา นอกจากน้ียังมีหนองน้า บึงธรรมชาติ เช่น หนองจิก หนองทานบ บึงปากปลาคาบ โดยมีเนื้อที่ในพ้ืนท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแคประมาณ 1,302 ไร่ และ ยังมีแหล่งน้าท่ีสร้างข้ึนได้แก่ อ่างเก็บน้าบ้านโนนตากลาง สระน้าบ้านดอนเท้า สระน้าบ้านด่านจาก อ่างเก็บน้าบ้านพูลถวาย สระน้านาหว้า สระน้าบ้านไร่ สระจระเข้ เป็นต้น มีเนื้อท่ีประมาณ 1,196 ไร่ มพี ้ืนที่แหล่งนา้ รวมในโครงการประมาณรอ้ ยละ 2.33 การเปล่ียนแปลงการใช้ท่ีดินในพ้ืนที่เกษตรกรรมในภาพรวมมีแนวโน้มลดลงจากปี พ.ศ. 2558 (98,381 ไร่) โดยมีเน้ือที่ลดลงประมาณ 2,692 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.73 ของเน้ือที่เดิม เนื่องจากการ
เพ่ิมขึ้นของพื้นท่ีเมือง ภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ในพ้ืนท่ีเกษตรโดยเฉพาะพื้นที่นามีแนวโน้ม ลดลง จากเดิมเนื้อท่ี 76,089 ไร่ เป็น 61,534 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 32.27 ของเนื้อที่เดิม ส่วนพื้นที่ปลูก พืชไร่ เกษตรผสมผสาน ไม้ผล ไม้ยืนต้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คาดว่าเป็นเพราะกลไกของตลาดด้านราคาและ นโยบายของภาครฐั จากการสง่ เสรมิ การลดพื้นท่ที านาไม่เหมาะสม พื้นที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อย โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 76.61 ของเนื้อท่ีท้ังหมด โดยมีสภาพพ้ืนที่ส่วนใหญ่ค่อนข้าง ราบเรียบ การใช้ที่ดินเป็นการทานา และพื้นที่ท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับปานกลาง ปรมิ าณการสูญเสยี ดนิ 2-5 ตันต่อไรต่ อ่ ปี สภาพพนื้ ทส่ี ว่ นใหญ่ค่อนขา้ งราบเรียบ โดยมปี รมิ าณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีสภาพพ้ืนท่ีเป็นลูกคลื่นลอดลานเล็กน้อย มีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูกพืชไร่ ได้แก่ มนั สาปะหลงั และอ้อยโรงงาน ครอบคลุมพน้ื ทรี่ ้อยละ 23.39 ของเนื้อท่ที ง้ั หมด พบบรเิ วณขอบทัง้ สองด้าน ของพื้นท่ีลุ่มน้า เม่ือพิจารณาถึงการประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพื้นท่ี แม้ในพื้นที่ท่ีมีการชะล้าง พังทลายในระดับน้อยถึงปานกลาง ก็ไม่ควรเพิกเฉยต่อการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้า และหากมีการ ละเลยหรือมีการจัดการท่ีไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการอาจส่งผลกระทบที่รุนแรงขึ้น ก่อให้เกิด ปญั หาการสูญเสียดนิ ปรมิ าณและคุณภาพผลผลติ และสง่ ผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต การจดั การดิน น้า ปยุ๋ จนสง่ ผลใหเ้ กษตรกรมีค่าใชจ้ า่ ยทเี่ พิ่มสงู ขึ้นตามไปด้วย จากการศึกษาข้อมูลเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะในพื้นท่ีได้รับผลกระทบจากการชะล้าง พังทลายของดิน พบว่าเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้าง พังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน เม่ือพิจารณาความต้องการ วิธีการรักษาและป้องกัน การชะล้างพังทลายของดิน จะเห็นว่าเกษตรกรมีความต้องการ ทาบ่อดักตะกอนดิน ร่องน้า ฝายกั้นน้า เมื่อพิจารณาผลกระทบด้านต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพชื ในพื้นท่ีท่ีมีระดับการชะล้างพังทลายของดินต่างกัน จะเห็นว่าต้นทุนการผลิตของแต่ละพืช มีแนวโน้ม สงู ขนึ้ ตามระดับความรนุ แรงของการชะลา้ งพังทลายของดนิ ทเี่ พิม่ ขน้ึ โดยเฉพาะในพน้ื ท่ปี ลูกมนั สาปะหลัง ซึ่งต้นทุนเพิ่มขึ้นอาจเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงต้นทุนผันแปรในการผลิต เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าเมล็ด พนั ธ์ุ ค่าปุ๋ย นอกจากนยี้ งั พบวา่ ผลผลติ ของทกุ พืชลดลงตามความรนุ แรงของการชะลา้ งพังทลายของดิน ในการคัดเลือกพ้ืนท่ีเพื่อดาเนินการ โดยอาศัยปัจจัยหลักและเกณฑ์ท่ีกาหนด สาหรับพิจารณา จัดลาดับความสาคัญมี 6 ด้าน ประกอบด้วย (1) ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน (2) สภาพปัญหาของทรัพยากรดิน (3) การใช้ที่ดิน (4) กิจกรรมท่ีดาเนินงานในพื้นท่ี (5) แผนปฏิบัติงาน ของพื้นที่ (6) ความต้องการของชุมชน พบว่า บ้านบุ บ้านสระตอง บ้านสายออ บ้านกุดจิก ตาบลสายออ
บา้ นหนองแตว้ บ้านสระจระเข้ และบ้านโคกพรม บา้ นใหม่ ตาบลโนนไทย ซ่งึ ในแตล่ ะสภาพพ้นื ที่สว่ นใหญ่ มีลักษณะใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตามเพ่ือให้การดาเนินงานสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีและความ ต้องการของชุมชน สามารถนามาจัดทาแผนการดาเนินงานแบ่งออกเป็น 3 ระยะ โดยมีเป้าหมายไม่น้อย กวา่ 10,000 ไร่ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 (ปี 2563) ดาเนนิ การออกแบบผังรวมพร้อมกบั จัดทาแผนบริหารโครงการ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินพร้อมมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า ระยะที่ 2 (ปี 2564) ดาเนินการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินพร้อมแบบก่อสร้าง และการประเมินราคา ระยะท่ี 3 (ปี 2565) ดาเนินการจัดทาระบบอนุรักษ์ดินและน้าตามแบบและพื้นที่ เป้าหมายดาเนินการ โดยกาหนดให้มีแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการ ใชท้ ่ีดินบนพ้ืนฐานการมีสว่ นร่วม ดังนี้ แบ่งตามระดับ ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน ในพื้นท่ีท่ีมีระดับปานกลาง กาหนดมาตรการในการไถพรวน และปลูกพืชตามแนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ แนวหญ้าแฝก ทางลาเลียง ทางระบายน้า ฝายชะลอนา้ และบอ่ ดกั ตะกอนดนิ ส่วนระดบั รุนแรงนอ้ ย มีมาตรการเพิม่ เตมิ ตามลักษณะภมู ิประเทศ คอื การไถพรวนดิน การปรับระดับ และปรับรปู แปลงนา ส่วนใหญ่มีปัญหาดินเค็มและ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า กาหนดมาตรการโดยเน้นการเพ่ิมอินทรียวัตถุด้วยการปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชป๋ยุ สด การใช้ปุย๋ คอก นา้ หมักและปยุ๋ หมัก ในพื้นท่ีทางการเกษตรซ่ึงมีสภาพ ปัญหาการขาดแคลนน้า จึงกาหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตามความต้องการของชุมชน คอื สระเกบ็ น้า ฝายทดน้า การปรับปรุงลาน้า คลองสง่ น้า ระบบส่งน้าดว้ ยท่อ และระบบใหน้ า้ แบบ micro irrigation ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าเชิงบูรณาการ เพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เป็นรูปแบบการบริหารจดั การลุ่มนา้ เชงิ ระบบ ครอบคลุมทุกมิตแิ บบองคร์ วม ไดแ้ ก่ มิตทิ างกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดล้อม โดยกาหนดทิศทางจากสภาพปญั หาเป็นตวั นา ความรู้ทางวชิ าการทห่ี ลากหลาย สาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์จากงานวิจัย และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาท่ีดิน การอนุรักษ์ ดินและน้า ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นท่ี คัดเลือกวิธีการประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุม ประเด็นปัญหาของสภาพพ้ืนท่ีอย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากร ดิน ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปล่ียนแปลงของการใช้ท่ีดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้า สภาพภูมิ ประเทศ และส่ิงแวดลอ้ ม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีความเช่ือมโยงกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ
และสงั คม โดยนาขอ้ มูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือป้องกนั การชะล้างพังทลาย ของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ท้ังน้ี เพ่ือให้มีประสิทธิภาพเกิด ประสิทธิผล ถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้เกิดความตระหนักและ การเรียนรู้นาไปสู่การจัดการที่ถูกต้อง พร้อมท้ังการประเมินสถานการณ์การเปล่ียนแปลง โดยการติดตาม และประเมินผลตามตวั ชวี้ ดั เพือ่ ให้ทราบผลสาเรจ็ จากการดาเนนิ งานด้านการลดอัตราการชะล้างพังทลาย ของดนิ และดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมของชุมชนบรเิ วณบนพ้นื ที่ลุ่มนา้ สกู่ ารพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้าน การอนรุ ักษ์ดนิ และนา้ ให้เกษตรกรและชมุ ชนสามารถใช้ทีด่ นิ ไดอ้ ย่างย่ังยืน การดาเนินงานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีกลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงานในรูปแบบ คณะกรรมการและ คณะทางาน ในการจัดทาต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและ น้าให้บรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 และแผน แม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ดังน้ัน เพ่ือให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสมั ฤทธิใ์ นทางปฏบิ ัติ บรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ จึงจาเป็นต้อง ได้รับการขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคส่วน และให้เกิดการบูรณาการทุกระดับผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เพ่ือให้การบริหารจัดการทรัพยากรดิน และน้า มเี ปา้ หมายไปในทศิ ทางเดยี วกันควรมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ เพื่อ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ให้สามารถนาไปสกู่ ารวางแผน การกาหนด มาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมท่ีมีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายของดิน และพื้นท่ีดิน เสอื่ มโทรม โดยนาแนวทางการปฏิบัติงานไปกาหนดเป็นแผนงานโครงการ และกาหนดเป็นข้อตกลงการทางาน ระหวา่ งหน่วยงาน เน้นการทางานเชงิ บูรณาการ เพื่อขบั เคลื่อนองค์กรให้บรรลเุ ป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยจัดต้ังคณะทางานติดตาม ประเมินผลที่มีกลไกและเครือข่ายการดาเนินงานท้ังหน่วยงานท่ีปฏิบัติงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เชอื่ มโยงการประเมนิ ผลทุกมิติ ประกอบดว้ ย มติ ทิ างกายภาพหรือสิ่งแวดล้อม มิติสงั คม และ มิตเิ ศรษฐกจิ ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของงานได้ชัดเจน จนนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนาแผนการดาเนินงานโครงการ ใหเ้ กิดประสิทธผิ ลและมปี ระสิทธิภาพ
กรมพัฒนาท่ีดิน มีภารกิจสาคัญเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทรัพยากรท่ีดิน โดยการพัฒนาที่ดิน และอนุรักษ์ดินและน้า ซึ่งมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าจะช่วยปรับโครงสร้างพื้นฐานของที่ดิน ในพน้ื ทใ่ี ห้เหมาะสมกับการปลูกพชื พรอ้ มกบั ชว่ ยรักษาระบบนิเวศทางดนิ ให้เกิดการใช้ท่ีดนิ ได้อย่างย่ังยืน โดยก่อนเร่ิมดาเนินงาน จาเป็นต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์สภาพของท่ีดินในพ้ืนท่ีในการกาหนด มาตรการด้านอนรุ ักษ์ดินและน้าดว้ ยวธิ ีกลและวธิ พี ืชเฉพาะพ้นื ที่ เพ่อื ควบคุมหรือป้องกัน ความรุนแรงของ สภาพดนิ ปญั หาไมใ่ ห้ส่งผลกระทบก่อปัญหาเพม่ิ ขึน้ ในพื้นที่อ่ืน ดังน้ันกรมพฒั นาที่ดิน จงึ เปน็ หน่วยงานที่มี บทบาทสาคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรดินเชิงบูรณาการระดับลุ่มน้า โดยนาหลักวิชาการด้านการ อนุรักษ์ดินและน้า พิจารณาจากสภาพพ้ืนที่และความต้องการของชุมชนเป็นหลัก นอกจากนี้ยังศึกษา แนวนโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาล และท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ เพื่อนามาวิเคราะห์กาหนดมาตรการ ในแผนการใช้ท่ีดิน พร้อมข้อเสนอแนะด้านการจัดการพื้นท่ี ให้เป็นแนวทางในการใช้ที่ดินอย่างมี ประสทิ ธภิ าพและใช้ไดอ้ ยา่ งยั่งยืน คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ได้ดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ เพ่ือประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชงิ ระบบ สาหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดนิ และฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและความต้องการของชุมชน การรับฟังข้อคิดเหน็ ข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ท่ีปฏิบัติงานในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค ทาให้ได้แผนการบริหารจัดการโครงการท่ีกรมพัฒนาท่ีดิน สามารถนาไปใช้ในการขับเคลื่อนการ ดาเนนิ งานดา้ นการอนุรักษ์ดินและนา้ ให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรปู ประเทศ และแผน บรหิ ารจัดการน้าของประเทศ ในโอกาสน้ีขอขอบคุณ หน่วยงานภาคีเครือข่ายและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเกษตรกรในชุมชน พื้นท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ที่มีส่วนร่วมในการดาเนินงานโครงการให้สาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดีจนบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือนาข้อมูลแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้า ไปขยายผลในพื้นท่ีอื่นสู่การแก้ไข ปัญหาให้กับเกษตรกรท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพ้ืนที่ดินปัญหา ทาให้สามารถ ใช้ท่ีดินได้อย่างเหมาะสมตรงตามศกั ยภาพของพืน้ ท่ีและมีคุณภาพชวี ิตที่ดีขน้ึ คณะทางานฯ ตลุ าคม 2562
1.1 หลกั การและเหตุผล 2 1.2 วัตถุประสงค์ 3 1.3 กรอบแนวคดิ การดาเนนิ งาน 3 1.4 เป้าหมาย 4 1.5 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 4 1.6 สถานทีด่ าเนินการ 5 1.7 ระยะเวลาดาเนินการ 5 1.8 ผลผลิต 5 1.9 ผลลพั ธ์ 6 1.10 ผลกระทบ 6 1.11 ตัวชี้วัดความสาเร็จ 6 1.12 ผลประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 6 1.13 ผู้รบั ผิดชอบ 7 1.14 ทปี่ รึกษาโครงการ 7 1.15 การสง่ มอบงาน 7 2.1 การรวบรวมข้อมลู 11 2.2 การสารวจศึกษาและวเิ คราะห์ข้อมูลพนื้ ฐาน 11 2.3 การประเมนิ พ้นื ท่ีการชะลา้ งพงั ทลายของดิน 16 2.4 การจัดทาแผนการใชท้ ่ดี ินเพ่ือการอนรุ ักษด์ ินและนา้ 19 2.5 การรบั ฟังความคิดเหน็ จากผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย 21 2.6 การวเิ คราะหล์ าดับความสาคญั 23 2.7 การจัดทาแผนบริหารจัดการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่ 24 เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และน้า
3.1 ที่ตัง้ และอาณาเขต 28 3.2 สภาพภูมปิ ระเทศ 28 3.3 สภาพภมู ิอากาศ 32 3.4 ทรัพยากรดิน 34 3.5 ทรพั ยากรน้า 47 3.6 ทรพั ยากรป่าไม้ 51 3.7 ขอบเขตที่ดินตามกฎหมายและนโยบาย 51 3.8 สภาพการใชท้ ดี่ ิน 56 3.9 พืน้ ทเี่ สย่ี งตอ่ การชะลา้ งพงั ทลายของดิน 62 3.10 สภาวะเศรษฐกิจและสงั คม 66 3.11 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT) 73 4.1 ความเหมาะสมของดินสาหรบั การปลกู พชื เศรษฐกจิ 78 4.2 แผนการใชท้ ี่ดนิ 81 5.1 แผนบรหิ ารจัดการปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟืน้ ฟูพ้นื ที่ 94 เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และนา้ 100 5.2 ต้นแบบ (Model) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดินและฟืน้ ฟูพน้ื ทีเ่ กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ ินและนา้ 6.1 แนวทางการขบั เคลือ่ นแผนไปสกู่ ารปฏบิ ัติ 102 6.2 กลไกการขบั เคลื่อนแผนบริหารจัดการปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดนิ 104 และฟื้นฟูพ้ืนท่เี กษตรกรรม ด้วยระบบอนรุ กั ษ์ดินและนา้ ระยะ 20 ปี 105 (พ.ศ. 2562–2580) 6.3 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผน บริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้นื ฟพู ้นื ทเ่ี กษตรกรรม
6.4 แนวทางการติดตามและประเมนิ ผลตามแผนบริหารทรพั ยากรดินเพ่ือป้องกัน 107 การชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้นื ฟูพน้ื ที่เกษตรกรรม
2-1 ระดับความรนุ แรงของการชะล้างพังทลายของดิน 18 2-2 ช้ันของการกัดกรอ่ น 18 3-1 ความลาดชนั พืน้ ทีล่ ุม่ น้าห้วยท่าแค จังหวดั นครราชสมี า 32 3-2 สถติ ภิ ูมอิ ากาศ (ปี พ.ศ.2533-2562) ณ สถานตี รวจอากาศ จงั หวัดนครราชสมี า 33 3-3 ทรพั ยากรดิน พื้นทีล่ ุ่มนา้ ห้วยท่าแค จงั หวัดนครราชสมี า 42 3-4 ข้อมูลทดี่ ินของรัฐด้านทรัพยากรปา่ ไม้ จงั หวดั นครราชสมี า 51 3-5 พ้นื ทช่ี ั้นคณุ ภาพลุ่มนา้ พืน้ ทลี่ ่มุ นา้ หว้ ยทา่ แค จงั หวดั นครราชสีมา 53 3-6 สภาพการใชท้ ีด่ นิ พนื้ ที่ลุม่ น้าห้วยท่าแค จังหวดั นครราชสีมา 58 3-7 สภาวะเศรษฐกจิ และสังคม พ้นื ทลี่ ุ่มน้าหว้ ยทา่ แค จังหวัดนครราชสมี า 67 3-8 ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชในพ้ืนที่มี 70 ระดบั การชะล้างพังทลายของดนิ ต่างกนั 3-9 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนที่ลุ่มน้าห้วยท่าแค อาเภอโนนไทย 71 จงั หวัดนครราชสีมา ปีการผลิต 2562 3-10 ความรู้และความเข้าใจ และลาดับความต้องการของวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้าง 72 พงั ทลายของหนา้ ดนิ พ้นื ท่ีลมุ่ นา้ หว้ ยทา่ แค อาเภอโนนไทย จังหวดั นครราชสมี า ปีการผลติ 2562 3-11 ทัศนคตดิ ้านการยา้ ยถ่ินฐาน ปัญหาดา้ นการเกษตร และแนวทางแก้ไขของเกษตรกร 73 พื้นทลี่ ุ่มน้าห้วยท่าแค อาเภอโนนไทย จังหวดั นครราชสมี า ปกี ารผลิต 2562 4-1 ความเหมาะสมของทรัพยากรดิน และการปลูกพืชเศรษฐกิจ พ้ืนท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค 79 จังหวดั นครราชสีมา 4-2 แสดงเขตการใชท้ ีด่ นิ เพื่อการอนรุ กั ษ์ดินและน้า พ้ืนทีล่ มุ่ น้าหว้ ยทา่ แค จังหวดั นครราชสีมา 82 5-1 แผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดนิ และฟนื้ ฟูพ้นื ทเี่ กษตรกรรม 97 ลุ่มนา้ ห้วยทา่ แค จงั หวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2565) 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ 105 ทรัพยากรดนิ และน้าเพอ่ื ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพืน้ ที่เกษตรกรรม 6-2 กรอบตัวช้วี ัดในการตดิ ตามและประเมินผล 108 6-3 การจัดทาฐานขอ้ มลู เพ่อื ประเมินการเปล่ยี นแปลงตามตัวชี้วัดมิตกิ ายภาพเศรษฐกจิ 111 และสังคม
1-1 กรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการ 4 2-1 กรอบวิธกี ารดาเนินงาน 10 2-2 ประเดน็ การรบั ฟงั ความคดิ เห็นของชุมชนแบบมสี ว่ นรว่ ม 22 2-3 หลักการสาคัญในการจดั ทาแผนการบรหิ ารจดั การทีด่ ินและทรพั ยากรดนิ ของประเทศ 25 3-1 ทตี่ ้ังและอาณาเขต และลกั ษณะภมู ิประเทศ พน้ื ท่ลี มุ่ น้าห้วยทา่ แค จงั หวดั นครราชสีมา 29 3-2 เสน้ ชั้นความสงู พื้นทีล่ ่มุ นา้ ห้วยทา่ แค จังหวัดนครราชสีมา 30 3-3 ความลาดชัน พน้ื ท่ลี ่มุ นา้ ห้วยทา่ แค จงั หวดั นครราชสมี า 31 3-4 สมดลุ ของนา้ เพื่อการเกษตร (พ.ศ. 2533-2562) จังหวัดนครราชสีมา 33 3-5 ทรพั ยากรดนิ ลุ่มนา้ ห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสมี า 44 3-6 ปญั หาทรพั ยากรดนิ พ้ืนทล่ี ุ่มนา้ ห้วยท่าแค จงั หวดั นครราชสีมา 46 3-7 ทางน้าและแหลง่ นา้ พื้นที่ลุ่มน้าห้วยทา่ แค จังหวัดนครราชสีมา 49 3-8 ความสมั พันธ์ระหว่างปรมิ าณน้าทา่ เฉล่ียรายปีและพ้ืนทรี่ ับน้าฝนของลมุ่ น้ามลู 50 3-9 ชัน้ คณุ ภาพลมุ่ นา้ และแนวเขต สปก. พ้ืนทีล่ มุ่ นา้ หว้ ยทา่ แค จงั หวดั นครราชสีมา 55 3-10 แสดงสภาพการใชท้ ี่ดนิ พ้นื ท่ีลมุ่ นา้ หว้ ยท่าแค จงั หวัดนครราชสีมา 61 3-11 การสญู เสียดิน พ้ืนท่ีล่มุ น้าห้วยท่าแค จังหวดั นครราชสมี า 65 4-1 แผนการใช้ทด่ี ินเพื่อการอนุรักษด์ นิ และนา้ พื้นท่ีลุ่มน้าหว้ ยทา่ แค จงั หวดั นครราชสีมา 91 5-1 พ้นื ทลี่ ่มุ น้าเปา้ หมายในแผนปฏิบตั กิ ารเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟู 99 พื้นทีเ่ กษตรกรรม ลุ่มน้าห้วยท่าแค จงั หวดั นครราชสีมา 100 5-2 ตน้ แบบ (Model) แผนบริหารจัดการปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้นื ฟูพื้นที่ เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ พืน้ ท่ลี มุ่ น้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
1 1
12 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เกษตรกรทาการเกษตรอาศัยน้าฝน คิดเป็นร้อยละ 37 ของ พื้นท่ีประเทศ โดยมีพ้ืนที่เกษตรน้าฝน 119 ล้านไร่ ซึ่งเป็นแหล่งท่ีปลูกพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศ ได้แก่ ข้าว 49.24 ล้านไร่ อ้อย 11.47 ล้านไร่ มันสาปะหลัง 10.84 ล้านไร่ ข้าวโพด 6.40 ล้านไร่ ไม้ผล 11.10 ล้านไร่ สวนผัก 4.19 ล้านไร่ และ ยางพารา 25.78 ล้านไร่ (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2558) พื้นท่ีดังกล่าว มกั ประสบปญั หาขาดแคลนนา้ ในฤดูแล้ง ทาใหก้ ารใช้ประโยชน์ทรพั ยากรดนิ ได้ไม่เตม็ ศักยภาพ จาเปน็ ตอ้ ง ได้รับการพัฒนาแหล่งน้าให้พอเพียงกับความต้องการของเกษตรกร ประกอบกับในพ้ืนท่ีดังกล่าวอยู่ในพ้ืน ที่ดินปัญหาทางการเกษตรกรรม โดยสามารถจาแนกตามสาเหตุ ของการเกิดได้ 2 ประเภท คือ 1) ดินปัญหาที่เกิดตามสภาพธรรมชาติ มีเน้ือที่รวม 60 ล้านไร่ ได้แก่ ดินอินทรีย์ 0.34 ล้านไร่ ดินเปรี้ยวจัด 5.42 ล้านไร่ ดินทรายจัด 11.86 ล้านไร่ ดินตื้น 38.19 ล้านไร่ ดินเค็ม 4.20 ล้านไร่ (บางพื้นท่ีพบคราบเกลือ และมีผลกระทบจากคราบเกลือมีเน้ือที่ 11.50 ล้านไร่) และ 2) ดินปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ประโยชน์ท่ีดิน เช่น ดินดาน ดินปนเปื้อน ดินเหมืองแร่ร้าง เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีดินที่มีปัญหาเล็กน้อยที่เป็นข้อจากัด ทางการเกษตร เช่น ดินกรด ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่า เป็นต้น (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2561) ปัญหา ทรัพยากรดินดังกล่าวกระจายตัวอยทู่ ั่วประเทศ และเป็นปัจจัยสาคัญท่ีทาให้พ้ืนที่เกษตรน้าฝนไม่สามารถ ก่อสร้างแหล่งน้าขนาดใหญ่ได้ เน่ืองจากต้องใช้งบประมาณจานวนมากในการวางระบบเพื่อป้องกันไม่ให้ ปัญหาดินเกิดเพิ่มมากขึ้นจนก่อความเสียหายในวงกว้าง ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ปัญหาสาคัญอีกประการ หน่ึงท่ีส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมในปัจจุบันเกิดจากการใช้ท่ีดิน และการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ซ่ึงเป็นการเร่งให้เกิดกระบวนการชะล้างพังทลายของดินใน พื้นท่ีเกษตรกรรมเกิดขึ้นอย่าง ต่อเน่ือง ซึ่งการชะล้างพังทลายของดินเกิดจากกระบวนการที่สาคัญ คือ กระบวนการแตกกระจาย เมื่อ เม็ดฝนตกลงมากระทบกับก้อนดิน ทาให้ก้อนดินแตกเป็นเม็ดดินเล็ก ๆ ภายหลังท่ีเม็ดฝนกระทบก้อนดิน แล้วน้าบางส่วนก็จะไหลซึมลงไปในดิน เมื่อดินอ่ิมตัวจนน้าไม่สามารถ จะไหลซึมไปได้อีกแล้ว ก็จะเกิด น้าไหลบ่าพัดพาเอาก้อนดินเล็ก ๆ ที่แตกกระจายอยู่บนผิวดินไปด้วย และพัดพาไป และการตกตะกอน ทับถม เม็ดดินที่ถูกพัดพาไปกับน้าจะไหลลงสู่พ้ืนท่ีต่า ทาให้เกิดการสะสมตะกอนของดินในท่ีลุ่มต่า การชะล้างพังทลายของดิน เกิดจากสาเหตุใหญ่ 2 ประการ คือ 1) การชะล้างพังทลายโดยธรรมชาติ เป็นการชะล้างพังทลายซึ่งเกิดข้ึนตามธรรมชาติ โดยมีท้ังน้าและลมเป็นตัวการ เช่น การชะละลาย การพัดพาโดยลมตามชายฝั่งทะเลหรือในทะเลทราย การพัดพาดินแบบนี้เป็นแบบที่ป้องกันไม่ได้ และถ้าเกิดมักใช้เวลานาน เป็นการเกิดแบบค่อยเปน็ ค่อยไปและชา้ มาก และ 2) การชะล้างพังทลายโดยมี
3 ตวั เรง่ ท่ีมีมนุษย์หรอื สตั ว์เล้ียงเข้ามาชว่ ยเร่งให้มีการกัดกร่อน เพิ่มข้นึ จากการชะลา้ งพังทลายโดยธรรมชาติ เช่น การหักล้างถางป่าทาการเพาะปลูกอย่างขาดหลักวิชาการ ทาให้พื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม เกดิ การกัดกร่อนโดยลมและฝนและพัดพาดินสูญเสียไปได้เพิม่ ขึน้ การสูญเสยี ดินจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่ กับวิธีการที่ใช้ทาการเกษตร (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2558) กรมพัฒนาที่ดิน มีภารกิจสาคัญเกี่ยวกับการแก้ไข ปัญหาทรัพยากรที่ดิน โดยการพัฒนาท่ีดินและอนุรักษ์ดินและน้า ซึ่งมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า จะช่วยปรับโครงสร้างพื้นฐานของดิน ในพื้นท่ีให้เหมาะสมกับการปลูกพืช พร้อมกับช่วยรักษาระบบนิเวศ ทางดินให้เกิดการใช้ท่ีดินได้อย่างย่ังยืน โดยก่อนเริ่มดาเนินการต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์สภาพของ ทดี่ นิ ในพื้นที่กอ่ นเสมอ หากพน้ื ท่ีดาเนนิ การอยู่ในพืน้ ทีด่ ินปญั หา เช่น ดนิ เค็ม ดินต้ืน หรอื ดนิ ทราย จาเปน็ จะต้องมีการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้าด้วยวิธีกลและวิธีพืชเฉพาะพื้นที่ เพ่ือควบคุมหรือป้องกัน ไม่ให้ดินปัญหาเกิดการแพร่กระจายส่งผลกระทบก่อปัญหาเพิ่มข้ึนในพ้ืนท่ีอื่นต่อไป ดังนั้นกรมพัฒนาทดี่ ิน จึงเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทสาคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรดินเชิงบูรณาการระดับลุ่มน้า โดยนา หลักวิชาการและเทคนคิ ดา้ นการอนรุ ักษ์ดินและน้า มาใชเ้ ป็นมาตรการเพอ่ื ป้องกันการชะลา้ งพังทลายของ ดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ให้พ้ืนท่ีสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า โดยพิจารณาจากสภาพปัญหา พ้ืนท่ีและความต้องการของชุมชนเป็นหลัก นอกจากนี้ยังศึกษานโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาลและ ท้องถิ่นในระดับตา่ ง ๆ เพื่อนามาวิเคราะหก์ าหนดมาตรการในแผนการใช้ท่ดี นิ พร้อมข้อเสนอแนะดา้ นการ จัดการพื้นท่ี ให้เกิดการใช้ที่ดินอย่ างยั่งยืน สามารถใช้เป็นแนวทางใน การบริหารจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติทเ่ี หมาะสมและขยายผลสกู่ ารปฏบิ ัตใิ นพืน้ ที่อ่ืนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 1) เพ่ือศึกษาและประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟนื้ ฟพู นื้ ที่เกษตรกรรม 2) เพ่ือจัดทาแผนการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าท่ีมีการกาหนดมาตรการด้านการ ป้องกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟนื้ ฟพู ้ืนที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และน้า 3) เพ่ือให้ได้แผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ การจัดทาแผนการบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมดว้ ย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ความสอดคล้องของ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580): ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ความสอดคล้องของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ: แผนแม่บทการบริหารจัดการน้าทั้ง ระบบ และความสอดคล้องของยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้าของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2569) :
4 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้าที่เส่ือมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน กลยุทธ์ : การอนรุ ักษฟ์ ้นื ฟูพื้นที่เกษตรกรรมในพ้ืนทด่ี ินเสื่อมโทรมและชะลา้ งพังทลายของดิน โดยมเี ปา้ หมายสาคัญ สูงสุด คือ พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูให้สามารถใช้ท่ีดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามศักยภาพของพ้ืนที่ ไม่น้อยกว่า 20 ล้านไร่ ภายใน 20 ปี กาหนดกรอบแนวคิดจากหลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา โดยการนาฐานข้อมูลด้าน ทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดินปัญหาและการชะล้าง พังทลายของดิน เป็นตัวกาหนดพื้นท่ีเป้าหมาย จากสภาพปัญหาสาหรับนาไปใช้ในการบริหารจัดการยึด ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน บูรณาการข้อมูล เชิงสหวิชาการ นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนา และวางแผนการใช้ที่ดิน กาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ ดินและน้าให้สอคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของชุมชน เพื่อให้ได้เขตอนุรักษ์ ดินและน้าที่มีการบริหารจัดการเชิงระบบ พื้นที่การเกษตรสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกษตรกรสามารถใช้ทด่ี นิ ไดอ้ ย่าง ถกู ต้องเหมาะสมตามศักยภาพของดิน (ภาพที่ 1-1) ภาพที่ 1-1 กรอบแนวคดิ การดาเนนิ งานโครงการ จัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนุรักษ์ดนิ และนา้ พนื้ ทลี่ มุ่ นา้ ห้วยทา่ แค จงั หวัดนครราชสีมา ครอบคลุมพน้ื ที่ 107,202 ไร่ 1) การรวบรวมข้อมูล เป็นข้อมูลทุติยภูมิท่ีได้จากการรวบรวมเอกสารและงานวิชาการท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนาไปใช้ศึกษา วิเคราะห์ เชื่อมโยงสู่การจัดทาแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของ
5 ดนิ ดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้า ได้แก่ ฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดนิ ทรัพยากรนา้ สภาพภมู ิประเทศ สภาพ การใช้ท่ดี นิ เศรษฐกจิ และสังคม แผนการใช้ทด่ี ิน และขอ้ มูลการอนุรกั ษด์ ินและนา้ ท่ีเกี่ยวข้อง 2) การสารวจภาคสนาม ข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การชะล้างพังทลายของดิน ทรัพยากรดิน สภาพการ ใช้ท่ีดิน การเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้า สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม และสภาวะ เศรษฐกจิ สงั คม 3) การวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล การประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้า การประเมนิ การเปลี่ยนแปลงการใช้ทีด่ นิ และการสารวจขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ และสังคม 4) การประเมินพ้นื ที่การชะล้างพงั ทลายของดนิ 5) การจัดทาแผนการใช้ท่ีดินเพอ่ื ป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ 6) การรับฟังความคิดเห็นของชุมชนผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม การประชาพิจารณ์เพ่ือการ รับฟัง ความคิดเหน็ ของชมุ ชนตอ่ การดาเนินงานโครงการ 7) การวิเคราะห์ลาดับความสาคญั เพื่อกาหนดพืน้ ทีเ่ ป้าหมายในการดาเนนิ งาน 8) การจัดทาแผนบริหารจัดการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่ เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ 9) การประชาพิจารณ์เพื่อการรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดินและฟน้ื ฟพู ้ืนทเ่ี กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษด์ ินและน้า 10) นาเสนอ (ร่าง) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ี เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ต่อคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟ้ืนฟพู ื้นที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดินและนา้ 11) ปรับปรุง (ร่าง) แผนบริหารจัดการฯ และนาข้อมูลใช้เป็นต้นแบบการบริหารจัดการ ป้องกัน การชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ขยายผล และ ขับเคลอ่ื นการดาเนินงานโครงการระยะตอ่ ไป พ้นื ทลี่ มุ่ นา้ ห้วยทา่ แค จงั หวัดนครราชสมี า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1) ฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินในพื้นท่ีเกษตรกรรม และสถานภาพด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และเศรษฐกจิ และสังคม สาหรับเป็นขอ้ มูลพนื้ ฐานประกอบการ พิจารณา กาหนดแผนการใชท้ ่ีดนิ
6 2) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าท่ีมีการกาหนดมาตรการด้านการป้องกันและ ฟ้ืนฟู ทรัพยากรดนิ ตามสภาพปัญหาของพน้ื ทแี่ ละความต้องการของชมุ ชน 1) กรมพัฒนาท่ีดินมีแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและพ้ืนฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ ปี 2563 ในพนื้ ทลี่ ่มุ นา้ หว้ ยทา่ แค จังหวัดนครราชสมี า 2) มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าที่กาหนด มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ และ สามารถตดิ ตามการเปล่ยี นแปลงสถานภาพทรัพยากรดนิ ได้ตามตวั ช้ีวัดทกี่ าหนด 1) กรมพัฒนาท่ีดินสามารถขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้บรรลุ เป้าหมาย ตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรปู ประเทศ และแผนบริหารจัดการน้าของประเทศ 2) พื้นท่ีเกษตรกรรมมีแผนการจัดการการชะล้างพังทลายของดินและพื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วย ระบบอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ ทาใหเ้ กษตรกรสามารถใชท้ ีด่ นิ ได้อย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพน้ื ท่ี 1) เชิงปริมาณ - ร้อยละความสาเร็จในการจัดทาฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินสาหรับเป็นข้อมูล พืน้ ฐานประกอบการจัดทาแผนการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรดนิ ระดับล่มุ น้า (รอ้ ยละ 100) - จานวนพื้นที่ที่มีการกาหนดแนวทางด้านการป้องกันและฟ้ืนฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหา ของพื้นที่และจานวนพน้ื ทเ่ี ป้าหมายตามแผนปฏิบัติการ (ไมน่ ้อยกวา่ 10,000 ไร/่ ป)ี 2) เชิงคุณภาพ - ฐานขอ้ มูลด้านการชะล้างพังทลายของดนิ มีความถูกต้อง ครบถว้ น สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา ของพน้ื ที่ - มาตรการด้านการป้องกันและฟ้ืนฟูทรัพยากรดิน มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพพื้นท่ี และสามารถนาไปกาหนดแผนงานโครงการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 1) กรมพัฒนาท่ีดินมีต้นแบบแผนการบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และพ้ืนฟู พนื้ ท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับขับเคล่อื นการดาเนินงานดา้ นการอนุรักษ์ดนิ และน้า ใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ูปประเทศ และแผนบรหิ ารจดั การน้าของประเทศ
7 2) หน่วยงานที่ดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้า มีค่าดัชนีช้ีวัดที่สาหรับนาไปใช้ในการพัฒนา งานวิจยั ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปัญหาของพน้ื และสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงสถานภาพ ทรพั ยากรดนิ 3) กรมพัฒนาท่ีดินมีแนวทางการดาเนินงานจัดทาแผนบริหารจัดการที่เป็นไปตามมาตรฐาน หลัก วิชาการด้านอนุรักษด์ นิ และนา้ 4) เกษตรกรที่อยู่ในพ้ืนที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินปัญหา มีแผนบริหารการ จัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและพ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ทาให้ สามารถใช้ประโยชนท์ ่ดี ินไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตรงตามศกั ยภาพของพนื้ ที่ คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ พน้ื ท่ลี มุ่ น้าห้วยท่าแค จงั หวดั นครราชสีมา คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และนา้ 1) ส่งรายงานเบ้ืองต้น (Preliminary Report) ประกอบการประชุมประชาพิจารณ์ครั้งที่ 1 (วันที่ 30 มถิ ุนายน 2563) 2) ส่งรายงานฉบับกลาง (Interiminary Report) แผนการใช้ที่ดินเพื่อป้องกันการชะล้าง พังทลาย ของดินและฟืน้ ฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้า ประกอบการประชุมประชา พิจารณ์ครั้งที่ 2 (วันท่ี 14 สิงหาคม 2563) 3) ส่งร่างรายงานฉบับสมบรู ณ์ (Draft Final Report) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดิน เพ่ือป้องกัน การชะล้างพังทลายของดนิ และฟื้นฟูพืน้ ทเี่ กษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และน้า เสนอคณะกรรมการฯ 4) ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการชะลา้ ง พังทลายของดนิ และฟื้นฟูพ้ืนทเี่ กษตรกรรมด้วยระบบอนรุ กั ษ์ดินและน้า
8
9 2
2 10 การจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้า พืน้ ท่ลี ุม่ น้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา เปน็ การศกึ ษาและประเมินสถานภาพ ทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูดิน ในพ้ืนที่เกษตรกรรม มีการกาหนดมาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของแต่ละพื้นท่ี ผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมของชมุ ชน เพ่ือให้ได้แผนการบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ พ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ปี 2563 สาหรับนาไปขยายผลในพ้ืนท่ีอื่น ตามกรอบ วธิ ีการดาเนนิ งาน และข้ันตอนการดาเนินงาน (ภาพที่ 2-1) ดงั น้ี พื้นท่ีเป้าหมาย สารวจศกึ ษาข้อมลู ลมุ่ นา้ หว้ ยท่าแค มุ่งเนน้ การป้องกันการชะล้างของดินและ ฟน้ื ฟูพืน้ ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ย ระบบอนรุ ักษด์ นิ และน้า วเิ คราะห์ข้อมูล แผนการใชท้ ี่ดิน (รา่ ง 1) เพ่อื ปอ้ งกันการชะลา้ งของดนิ และฟน้ื ฟพู น้ื ที่ เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ ประชาพจิ ารณ์ (ครั้งที่ 1) (แผนการใช้ท่ดี นิ ฯ/พน้ื ทีด่ าเนินการ) ปรับปรุงพัฒนาแผน แผนบรหิ ารจดั การ แผนการใชท้ ด่ี ิน (ร่าง 2) เพอื่ ปอ้ งกันการชะล้างของดนิ และฟน้ื ฟพู นื้ ที่ การปอ้ งกนั การชะล้างของดิน เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรกั ษ์ดินและน้า และฟ้ืนฟูพ้นื ทเ่ี กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้า (ครั้งที่ 2) ประชาพจิ ารณ์ (แผนการใช้ทดี่ นิ ฯ/พื้นที่ดาเนินการ) ภาพที่ 2-1 กรอบวิธกี ารดาเนินงาน
11 การรวบรวมขอ้ มลู เพ่อื นาไปใชใ้ นการศึกษาและวเิ คราะห์เชื่อมโยงสู่การ จัดทาแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ประกอบด้วยข้อมูล แผนที่ เอกสารรายงาน และผลงานวิชาการหรือวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ ทรัพยากรดิน (มาตราส่วน 1 : 25,000) ปี พ.ศ. 2561 และข้อมูลลักษณะสมบัติดินบางประการ (กองสารวจดินและ วิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาท่ีดิน) ทรัพยากรน้า สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ปี พ.ศ. 2533 – 2562 (กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา) สภาพการใชท้ ี่ดนิ มาตราส่วน 1 : 25,000 ปี พ.ศ. 2562 ขอ้ มลู เศรษฐกจิ และ สังคม และแผนการใช้ท่ีดิน (กองนโยบายและแผนการใช้ท่ีดิน กรมพฒั นาท่ีดิน และกรมการพัฒนาชุมชน) ข้อมลู พ้ืนท่ีเขตป่าไมถ้ าวร ปี พ.ศ. 2561 (สานักเทคโนโลยีการสารวจและทาแผนท่ี กรมพัฒนาทด่ี ิน) และ ข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดิน ระบบการอนุรักษ์ดินและน้า ตลอดจนรวบรวมข้อมูลอื่น ๆ ทั้งใน รปู แบบดิจิตอลและส่ิงพิมพ์ จากหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง การสารวจศึกษาข้อมูลภาคสนามเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ตลอดจน ข้อมูลท่ีนอกเหนือจากที่มีอยู่ (ข้อ 2.1.1) และครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพ้ืนที่ อย่างแท้จริง ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ในการจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ดว้ ยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้า และวิเคราะห์การจัดลาดับความสาคัญของพืน้ ท่ีดาเนินการ ไดแ้ ก่ ทรพั ยากร ดิน ทรพั ยากรน้า สภาพการใชท้ ่ดี ิน การชะล้างพงั ทลายของดนิ และข้อมลู เศรษฐกิจและสงั คม การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิที่มีอยู่ และดาเนินการสารวจศึกษา และตรวจสอบดิน ในภาคสนามเพ่ิมเติมในการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรดินในพ้ืนที่ลุ่มน้าห้วยท่าแค เพ่ือสนับสนุนการ ประเมินการชะล้างพังทลายของดิน จัดทาแผนการใช้ที่ดิน และการกาหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้า แ ล ะ จั ด ท า แ ผ น บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น ใ น พื้ น ท่ี ลุ่ ม น้ า ห้ ว ย ท่ า แ ค มีข้ันตอนหลักในการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ สารวจศึกษาดินในภาคสนาม และวิเคราะห์สภาพ ปญั หาดนิ ทางการเกษตร ดังนี้ 1) ข้อมูลทรพั ยากรดิน การประเมินข้อมูลทรัพยากรดิน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนที่ดิน มาตราส่วน 1 : 25,000 ทม่ี อี ยู่ เพอ่ื เปน็ กรอบการพิจารณาการสารวจศกึ ษา เก็บขอ้ มูล และตรวจสอบดินในภาคสนาม เพ่ิมเติม โดยใช้ข้อมูลประกอบได้แก่ แผนท่ีภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข และแผนท่ีภูมิประเทศ เป็นแผนที่ พ้นื ฐานในการสารวจ โดยมีขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ดังนี้
12 (1) การปฏิบตั งิ านก่อนออกสนาม - การแปลข้อมูลในแผนท่ีภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข เพ่ือกาหนดขอบเขตพื้นท่ี โครงการ ถนน เสน้ ทางน้า การใช้ทด่ี นิ ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน และการชะลา้ งพงั ทลายของดิน - การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลดิน ข้อมูลทางธรณีวิทยา ข้อมูล สภาพภูมิประเทศ ร่วมกบั การแปลขอ้ มูลในแผนที่ภาพถา่ ยออร์โธสเี ชงิ เลข เพ่อื ใหท้ ราบถงึ สภาพพื้นที่ และ วิเคราะหพ์ ื้นท่ี เพื่ออนุมานลกั ษณะและสมบตั ิของดนิ เบ้อื งตน้ ในพนื้ ท่ีศึกษา - การเขียนขอบเขตดินเบื้องต้น โดยพิจารณาข้อมูลพ้ืนท่ที ่ีมีความเส่ียงต่อการชะ ล้างพังทลายของดินและข้อมูลอ่นื ๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบการกาหนดจุดเจาะสารวจดินบนแผนที่ ภาพถ่าย ออร์โธสีเชงิ เลข (2) การปฏบิ ัตงิ านในภาคสนาม - การเจาะสารวจดินตามจุดท่ีกาหนดไว้ในแผนท่ีภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข หรือ ในบริเวณพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยใช้สว่านเจาะดินลึก 200 เซนติเมตร หรือถึง ช้ันเช่ือมแข็งหรือแนวสัมผัสชั้นหินพื้น วางเรียงกันตามความลึก เพื่อตรวจศึกษาสมบัติทางเคมีและ ทาง กายภาพของดินทุกจุดด้วยเครื่องมือตรวจวดั ภาคสนาม - การบันทึกสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นท่ีศึกษา ได้แก่ วัตถุต้นกาเนิดดิน ภูมิสัณฐาน ความลาดชัน การชะล้างพังทลายของดิน การระบายน้าของดิน ความสามารถให้น้าซึมผ่าน ของดนิ ระดับน้าใตด้ ิน สภาพน้าท่วมขงั พืชพรรณและการใช้ที่ดิน - การศึกษาลักษณะสมบัติดินเพื่อใช้ในการจาแนกดิน เช่น ความหนาของชั้นดิน เน้ือดิน สีดิน โครงสร้างของดิน การจัดเรียงตัวของช้ันดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน การ เคล่ือนย้ายของ อนุภาคดินเหนยี ว ปรมิ าณการกระจายของรากพชื ค่าปฏกิ ิริยาดิน ชนดิ ของช้นิ ส่วน หยาบในดนิ หรือวัตถุ ตา่ ง ๆ ทพ่ี บในชั้นดิน เช่น ก้อนกรวด ลูกรังและเศษหนิ เป็นตน้ - การจาแนกดนิ ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ (Soil Survey Staff, 2014) ในระดับ ประเภทของชุดดินและดินคล้าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหน่วยแผนท่ีดินลงใน ภาพถ่ายออร์โธสี พร้อมท้ังปรับแก้ไขขอบเขตของดินในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขให้สอดคล้องกับสภาพ พ้ืนท่จี ริงในสนาม - การบันทึกลักษณะดิน สภาพพื้นที่ และเก็บตัวอย่างดินบริเวณที่เป็นตัวแทน ของหน่วยแผนที่ดิน สาหรับนาไปวิเคราะห์หาสมบัติกายภาพและทางเคมี เพ่ือประเมินความอุดมสมบูรณ์ ของดิน (3) การจัดทาแผนทดี่ ิน การจัดทาแผนที่ดิน และสรุปหน่วยแผนท่ีทั้งหมดในพื้นที่ลุ่มน้าห้วยท่าแค ในมาตราสว่ น 1 : 25,000
13 2) ขอ้ มูลทรัพยากรดินปัญหา การจัดทาข้อมูลและแผนที่ดินปัญหาหรือสภาพปัญหาดินทางการเกษตร มาตราส่วน 1 : 25,000 ในพน้ื ท่ีลุ่มนา้ หว้ ยทา่ แค ตามขัน้ ตอน ดังนี้ (1) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลดินเพ่ือการจาแนกตามลักษณะและสมบตั ิดนิ ประจาชุดดิน จาแนกประเภทและความรุนแรงของดินปัญหาต่อการผลิตพืช ตามปัญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติและ จากการใช้ทีด่ ิน รวมถงึ ดนิ ที่มปี ญั หาเล็กน้อยที่เป็นขอ้ จากัดทางการเกษตร (2) การจัดทาแผนที่ดินปัญหาและประเมินความรุนแรงของดินปัญหาในพ้ืนที่ดาเนินการ เพ่ือนาไปใช้ในแกไ้ ขฟนื้ ฟู และป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดิน รวมถงึ กาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ ดนิ และน้าเพื่อการใช้ทดี่ ินทางการเกษตรได้อยา่ งย่ังยนื การประเมินสถานภาพทรัพยากรน้า สาหรับนาไปใช้ในการประเมินการชะล้างพังทลายของ ดิน จัดทาแผนการใช้ที่ดิน กาหนดมาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์ดินและน้า การประเมินปริมาณน้าผิวดินท่ีไหลจากพ้ืนผิวดินสู่ร่องน้า ลาห้วย คลองและแม่น้า โดยอาศัยการคานวณ จากปรมิ าณน้าฝนท่ตี กลงมาบนพืน้ ทห่ี นง่ึ ๆ แล้วถูกดูดซับลงไปเก็บกักไว้ในดนิ และระเหยไปในอากาศ นา้ ท่ีเหลือจากกระบวนการต่าง ๆ เหล่าน้ี จะไหลลงสู่ร่องน้า ลาห้วย คลองและแม่น้าต่อไป อัตราการไหล และปริมาณน้าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความรุนแรง ปริมาณน้า ทิศทางลม ลักษณะความลาดเท ของพ้ืนที่ ประสิทธิภาพการเก็บกักน้าบนผิวดิน การใช้ท่ีดิน สมบัติของดิน และขนาดของพื้นท่ีรับน้า ท้ังนี้ เพ่ือให้ได้ฐานข้อมูลท่ีสอดคล้องกับหลักการสาคัญของการอนุรักษ์ดินและน้าท่ีเป็นการรักษาความชุ่มชื้น ในดิน การเกบ็ กักน้าไหลบ่าบนผิวดินไว้ใช้ในพ้ืนที่ เพ่ือประโยชน์สูงสดุ ตามศักยภาพของพืน้ ท่ีบรเิ วณน้ัน ๆ ในขณะเดียวกันจะต้องระบายน้าส่วนเกินท้ิงไปในพ้ืนที่ท่ีควบคุมได้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่ โดยเฉพาะการกัดเซาะพงั ทลายของดิน จงึ กาหนดการประเมินศักยภาพปรมิ าณน้าทา่ ดังนี้ การคานวณปรมิ าณน้าทา่ ดว้ ยวิธี Reginal Runoff equation (Lanning-Rush, 2000) โดยอาศัยความสมั พนั ธแ์ บบรเี กรซชั่น (regression) ระหว่างปริมาณน้านองสูงสุดเฉลย่ี และพื้นท่ีรับ น้าฝนจากข้อมูลสถานีวัดน้า ในลุ่มน้าต่างๆ ในลุ่มน้าขนาดใหญ่ เพ่ือหาปริมาณน้าท่าเฉลี่ยท่ีจุดต่าง ๆ ใน ลมุ่ นา้ ดังสมการ ������������ = ������������������ เมื่อ ������������ คือ ปริมาณนา้ นองสูงสดุ รายปเี ฉลยี่ (ลูกบาศก์เมตร/วนิ าที) ������ คือ พนื้ ที่รบั นา้ ฝน (ตารางกิโลเมตร) ������, ������ คอื คา่ คงทคี่ านวณจากกราฟ
14 1) การรวบรวมและตรวจสอบเอกสาร ทั้งในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลข และรายงานที่ เกย่ี วข้องกบั จังหวัดนครราชสมี า เพ่อื ใช้ในการกาหนดแนวทางการดาเนนิ งาน 2) การเตรียมขอ้ มลู ดาวเทยี มและภาพถ่ายออร์โธสี (1) ข้อมลู จากดาวเทียมไทยโชตท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยข้อมูลเชิงเลข (digital data) และข้อมลู เชิงภาพ (analog data) การเตรียมข้อมลู ดาวเทียม มีข้ันตอนการดาเนินงานดงั นี้ - การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (geometric correction) เน่ืองจาก ข้อมูลดาวเทียมที่ได้รับมา ยังมีความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ จาเป็นต้องดาเนินการแก้ไข ตาแหน่งให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ซ้อนทับกับช้ันข้อมูลอ่ืน ๆ ได้ โดยใช้ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข ของกรมพัฒนาที่ดนิ และแผนทภ่ี ูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 จากกรมแผนท่ีทหารเป็นข้อมลู อ้างอิง - การผลิตภาพจากข้อมลู ดาวเทยี มไทยโชต ภาพท่ใี ช้เปน็ ภาพผสมสเี ทจ็ (false color) สามช่วงคล่ืน เพื่อให้ภาพชัดเจนและง่ายต่อการวิเคราะห์มากข้ึน ทาการผสมสีดังน้ี ช่วงคลื่นอินฟราเรด ใกล้ (Near Infrared–NIR) ให้ผ่านตัวกรองแสงสีแดง (red filter) เนื่องจากช่วงคล่ืนอินฟราเรดใกล้เป็น ช่วงคลื่นที่พืชสีเขียวสะท้อนพลังงานมากที่สุด ดังน้ันบริเวณที่มีพืชใบเขียวอยู่ในภาพจะมองเห็นเป็นสแี ดง ชัดเจน ส่วนช่วงคล่ืนสีแดงให้ผ่านตัวกรองแสงสีเขียว (green filter) และช่วงคลื่นสีน้าเงินให้ผ่านตัวกรอง แสงสีน้าเงิน (blue filter) หลังจากน้ัน ทาการเน้นรายละเอียดของข้อมูลภาพด้วยข้อมูลภาพ ช่วงคลืน่ เดียวหรือภาพขาว-ดา ที่มรี ายละเอียดจุดภาพ 2 เมตร ซึ่งเทคนิคนห้ี รือท่ีเรยี กว่า Pansharpening method จะทาใหข้ ้อมลู ภาพสมี ีรายละเอยี ดจดุ ภาพเพ่ิมขนึ้ เทา่ กับ 2 เมตร - การผลิตภาพข้อมลู ดาวเทยี ม LANDSAT 8 OLI จะใชเ้ ทคนคิ ผสมสีเทจ็ (false color composite) โดยช่วงคล่ืนอินฟราเรดใกล้ Near Infrared (NIR) (0.85 - 0.88 ไมครอน) ผ่านตัวกรอง สีแดง ช่วงคลื่นอินฟราเรดคล่ืนส้ัน1 (Short Wave Infrared1: SWIR1) (1.57 - 1.65 ไมครอน) ผ่านตัว กรองสีเขียว และช่วงคลื่นสีแดง (0.64 - 0.67 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสีน้าเงิน เพื่อใช้ในการจาแนก พชื พรรณ (2) การวิเคราะห์ขอ้ มลู สภาพการใชท้ ่ดี ินจากข้อมูลดาวเทยี ม และภาพถ่ายออร์โธสเี ชงิ เลข โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูล คือ ความเข้มของสีและสี (tone/color) ขนาด (size) รูปร่าง (shape) เน้ือภาพ (texture) รูปแบบ (pattern) ความสูงและเงา (height and shadow) ความเกี่ยวพัน (association) และการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล (temporal change) เพ่ือวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ ที่ดิน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แล้วจึงนาช้ันข้อมูลที่ได้ทาการวิเคราะห์ ซ้อนทับกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข และข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชต เพ่ือจัดพิมพ์เป็นแผนที่สาหรับการ สารวจและตรวจสอบขอ้ มูลในภาคสนาม 3) การสารวจข้อมูลในภาคสนาม โดยสารวจและตรวจสอบรายละเอียดสภาพการใช้ที่ดินใน พน้ื ทีจ่ ริง พรอ้ มทั้งแก้ไขรายละเอียดให้มีความถูกตอ้ งตรงกบั สภาพปจั จบุ นั
15 4) การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจดั ทาทง้ั ฐานขอ้ มูลเชิง พื้นท่ี (spatial data) และฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนามและ ข้อมูลแผนทีจ่ ากส่วนท่เี กย่ี วขอ้ ง โดยนาเข้าและประมวลผลในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ดังนี้ (1) การสรา้ งฐานข้อมูลเชิงพืน้ ที่ เปน็ การนาเข้าข้อมูลในรูปแผนที่เชิงเลข เพ่ือใชว้ ิเคราะห์และ ประมวลผลเชิงพ้ืนท่ี (2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการนาเข้าข้อมูลด้านคุณลักษณะของแผนท่ีและ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี เพ่ือทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั้ง 2 ประเภท สาหรับ ใชใ้ นการวเิ คราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ 5) การจัดทาแผนท่ีและฐานข้อมูล สภาพการใช้ท่ีดินของพื้นที่ลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัด นครราชสีมา พ.ศ. 2563 การสารวจเก็บรวบรวบข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือประกอบการจัดทาแผนการใช้ท่ีดิน และแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและความเส่ือมโทรมของดิน ด้วยระบบอนุรักษ์ ดินและน้า โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรที่ปลกู พืชเศรษฐกิจสาคัญของพื้นท่ี ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลงั อ้อย และยูคาลิปตัส มขี ้นั ตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่สาคัญ ได้แก่ เกษตรกรผู้ให้สัมภาษณ์ ข้อมูลสถิติจาก หนว่ ยงานตา่ ง ๆ โดยสามารถจัดข้อมลู ได้ 2 ประเภท คอื (1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมจากการสารวจในภาคสนามด้วยวิธีการ สัมภาษณ์เกษตรกรในพ้ืนที่เป้าหมาย โดยการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้ตารางสาเร็จรูปของTaro Yamane ท่ีระดับความเช่ือม่ัน 90% ได้ขนาดจานวนตัวอย่างท้ังส้ิน 100 ตัวอย่าง แล้วทาการสุ่มตัวอย่าง ในการเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีแบบเจาะจง (purposive sampling) คือ เลือกเฉพาะเกษตรกรท่ีปลูกพืช (ข้าว มันสาปะหลงั ออ้ ย และยคู าลปิ ตัส) ในพ้นื ท่ีเปา้ หมาย และใชแ้ บบสอบถามในการสมั ภาษณ์เกษตรกร (2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมจากเอกสารวิชาการ ผลงานวิจัย รายงาน บทความ และระบบสบื ค้นทางอนิ เตอรเ์ น็ต เชน่ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ระบบการปลกู การดูแลรกั ษา และการเก็บเก่ยี ว เปน็ ตน้ เพือ่ เปน็ ขอ้ มูลสาหรบั อ้างองิ และประกอบการศึกษาต่อไป 2) การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ แล้วทาการตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของ ขอ้ มลู และประมวลผล จากน้ันวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชงิ พรรณนา (descriptive analysis) แสดงผลเปน็ คา่ ร้อยละ และ/หรือคา่ เฉลยี่ แบ่งการวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั นี้
16 (1) การวิเคราะหข์ อ้ มลู ท่ัวไปของครัวเรือนเกษตร ความรู้ ความเขา้ ใจ ด้านการอนรุ ักษ์ดิน และน้า ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดิน ตลอดจนทัศนคติ ปัญหาและความต้องการความ ช่วยเหลือจากรัฐของเกษตรกร (2) การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ปัจจัยการผลิต โดยใช้ปริมาณและมูลค่าปัจจัยการผลิตที่ สาคัญ ได้แก่ การใช้พันธุ์ การใช้ปุ๋ยชนิดต่าง ๆ (ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยอินทรีย์) การใช้สารป้องกันและกาจัด วัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช การใช้แรงงานคน และแรงงานเครื่องจักร โดยวิเคราะห์และสรุปข้อมูลมาเป็น ค่าเฉลีย่ ตอ่ พื้นท่ี 1 ไร่ (3) การวเิ คราะห์ขอ้ มูลต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ ได้แก่ - การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ การผลติ ประกอบดว้ ย ต้นทุนทัง้ หมด ต้นทนุ ผนั แปร และ ตน้ ทนุ คงท่ี โดยมวี ธิ ีการคานวณต้นทุน ดงั น้ี ตน้ ทุนทั้งหมด = ต้นทนุ ผันแปร + ตน้ ทุนคงที่ ต้นทุนผันแปร เป็นค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตที่จะเปล่ียนแปลงไปตาม ปริมาณการผลิต ค่าใช้จ่ายประเภทน้ี เกษตรกรสามารถเพ่ิมหรือลดได้ในช่วงระยะเวลาการผลิตพืช เช่น คา่ พันธุ์ ค่าปยุ๋ คา่ แรงงานคน ค่าแรงงานเครอ่ื งจกั ร ค่าซอ่ มแซมอปุ กรณ์การเกษตร และค่าขนสง่ ผลผลิต เป็นต้น ต้นทุนคงที่ เป็นค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนแก่เกษตรกร ถึงแม้จะไม่ได้ทาการผลิตพืช เน่ืองจากค่าใช้จ่ายประเภทนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิตพืช เช่น ค่าเช่าท่ีดินที่ใช้ในการ ปลูกพืช ค่าภาษีที่ดินซ่ึงต้องเสียทุกปี ไม่ว่าที่ดินผืนน้ันจะใช้ประโยชน์ในปีน้ัน ๆ หรือไม่ก็ตาม การวเิ คราะหผ์ ลตอบแทนการลงทุน มีวธิ ีการคานวณ ดงั นี้ ผลตอบแทนเหนอื ต้นทนุ ทงั้ หมด = ผลต่างระหว่างมูลค่าผลผลิตทง้ั หมดกบั ต้นทุนทงั้ หมด อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนท้ังหมด (Benefit-cost Ratio: B/C Ratio) เป็น การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงนิ เพอ่ื ใชใ้ นการตัดสินใจในการลงทนุ วา่ ควรจะลงทุนในการผลติ หรือไม่ เป็นการวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันเฉลี่ยต่อไร่ของผลตอบแทนกับต้นทุนทั้งหมดตลอด ช่วงปีท่ีทาการผลิต โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการใด ๆ คือ B/C Ratio ท่ีมีค่า มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ถ้า B/C Ratio มากกว่า 1 หมายความว่า ผลตอบแทนที่ได้รับจากการผลิตพืช มากกวา่ ค่าใช้จา่ ยหรือต้นทนุ ท่เี สียไป หรือถา้ B/C Ratio เท่ากับ 1 หมายความวา่ ผลตอบแทนที่ไดร้ ับจาก การผลติ พืชเทา่ กบั ค่าใชจ้ า่ ยหรือต้นทุนที่เสยี ไปพอดี การประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพื้นท่ีโครงการฯ โดยอาศัยสมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation, USLE) (Wischmeier and Smith, 1965) ซ่ึงสมการน้ีถูกพัฒนาข้นึ มา
17 เพ่ือใช้ประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนที่เกษตร และเป็นการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดจาก การกระทาของน้า ไมร่ วมถึงการชะลา้ งพงั ทลายท่ีเกิดจากลม ดังสมการ A = R K LS C P สมการดังกล่าวพิจารณาการชะล้างพังทลายของดินจากการตกกระทบของเม็ดฝน (raindrop erosion) และแบบแผ่น (sheet erosion) ไม่ครอบคลมุ ถึงการชะล้างพงั ทลายแบบร้ิว (rill erosion) และ แบบร่อง (gully erosion) (Wischmeier and Smith, 1965) ซ่ึงปัจจัยท่ีนามาพิจารณาในสมการ ได้แก่ ปรมิ าณน้าฝน ความแรงของน้าฝน ลักษณะของดนิ ลักษณะของพชื คลุมดิน สภาพของพน้ื ที่และมาตรการ ระบบอนรุ ักษ์ดนิ และนา้ รายละเอยี ดแตล่ ะปัจจยั ท่เี ก่ยี วข้อง ดังนี้ 1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับฝน (erosivity factor: R) เป็นค่าความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ของเม็ดฝน ที่ตกกระทบผิวหน้าดินกับปริมาณความหนาแน่นของฝนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซ่ึงความสัมพันธ์นี้ได้มีผู้ ศึกษาและนามาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง (มนูญ และคณะ, 2527 และKunta, 2009) ในการศึกษานี้ได้ นาคา่ สหสัมพนั ธ์ระหวา่ งค่าปัจจยั การกัดกร่อนของฝนสอดคลอ้ งตามวธิ กี ารของ Wischmeier (กรมพัฒนา ท่ีดิน, 2545; มนูญ และคณะ, 2527) มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลปริมาณน้าฝนเฉล่ียรายปี (average annual rainfall) ในช่วงระยะเวลา 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) ได้ค่าปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับฝนสาหรับพื้นที่ โครงการฯ 2) ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับลักษณะของดิน (erodibility factor: K) เป็นค่าความคงทนของดินภายใต้ สภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกัน ดินแต่ละชนิดจะทนต่อการชะล้างพังทลายท่ีแตกต่างกัน สอดคล้องตาม หลักการของ Wischmeier นั้น สามารถวิเคราะห์ค่าปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับลักษณะดินนี้จากภาพ Nomograph โดยประเมินได้จากสมบัติของดิน 5 ประการคือ (1) ผลรวมปริมาณรอ้ ยละดินของทรายแป้ง และปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก (2) ปริมาณร้อยละของทราย (3) ปริมาณร้อยละของ อินทรียวัตถุในดิน (4) โครงสร้างของดิน และ (5) การซาบซึมน้าของดิน (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2545) ได้มี การศกึ ษาปัจจยั ดงั กลา่ ว และใหค้ า่ ปัจจัยที่เกย่ี วข้องกบั ลกั ษณะของดนิ สอดคล้องตาม 3) ปัจจยั ที่เกย่ี วข้องกบั สภาพภูมปิ ระเทศ (slope length and slope steepness factor:LS) เป็น ปัจจัยท่เี ก่ยี วข้องกับความลาดชัน และความยาวของความลาดชนั ตามปกตแิ ล้วค่าการชะลา้ งพังทลายของ ดินน้นั จะแปรผันตรงกับความลาดชนั สูงและความยาวของความลาดชัน ในการศกึ ษานไ้ี ดใ้ ช้ขอ้ มูลความสูง จากแบบจาลองระดับความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model, DEM) โดยคานวณทั้งสองปัจจัย สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ (Hickey et al., 1994) 4) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการพืช (crop management factor: C) เป็นปัจจัยที่เก่ียวข้องกับ พืชคลุมดิน ซึ่งพืชแต่ละชนิดย่อมมีความต้านทานในการชะล้างพังทลายของดินท่ีแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ ความสูงของต้น ลักษณะพุ่ม หรือการยึดอนุภาคดินของรากพืชน้ัน ๆ เป็นต้น ในกรณีที่ไม่มีพืชปกคลุมดิน น้ัน ค่าปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการพืชน้ีจะมีค่ามากท่ีสุด ในท่ีนี้คือ 1.00 ส่วนกรณีท่ีพืชปกคลุมดิน สามารถต้านทางการชะล้างพังทลายของดินได้ดีจะให้ค่าปัจจัยนี้น้อย นอกจากน้ี ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการ
18 จัดการพืชนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับสภาพภูมิอากาศในพ้ืนที่นัน้ ๆ เนื่องจากสภาพภูมิอากาศน้ันมีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืช 5) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ดินและน้า (conservation factor: P) เป็นปัจจัยที่แสดงถึง มาตรการอนุรักษ์ดนิ และน้าในพ้ืนท่ีนน้ั ๆ เชน่ การปลกู พืชตามแนวระดับ (contouring) การปลูกพืชสลับ ขวางความลาดเอยี ง (strip cropping) การปลกู พชื ในพ้ืนที่ทีม่ ีคันนาเป็นต้น ในที่นใี้ ชค้ า่ ตามการศึกษาของ กรมพัฒนาท่ีดิน (2545) จากค่าปัจจัยท้ัง 5 ปัจจัยนั้น สามารถนามาคานวณการสูญเสียดินสอดคล้องตาม สมการการสูญเสียดินสากลได้บนฐานข้อมูลแบบราสเตอร์ (raster) โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากผลการคานวณค่าการสูญเสียดินนนั้ สามารถนามาจัดชั้นความรนุ แรงของการสญู เสยี ดินทาให้ทราบถึง ขอบเขตของพื้นท่ีมีปัญหา เนื่องจากการสูญเสียดินเพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนอนุรักษ์ดินและน้าใน พื้นที่ตอ่ ไป ตารางท่ี 2-1 ระดบั ความรุนแรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ระดับความรนุ แรงของการชะล้างพงั ทลาย ค่าการสญู เสียดนิ (ตนั /ไร/่ ปี) นอ้ ย 0-2 ปานกลาง รนุ แรง 02-May รุนแรงมาก May-15 รนุ แรงมากทส่ี ุด 15-20 มากกวา่ 20 ท่มี า: กรมพฒั นาท่ดี ิน (2545) ตารางท่ี 2-2 ชัน้ ของการกัดกรอ่ น (degree of erosion classes) สญั ลักษณ์ ชอื่ เรียก การสูญเสียของชั้นดนิ (%) E0 ไมม่ ีการกร่อน (non eroded) 0 E1 กร่อนเลก็ น้อย (slightly eroded) 0 - < 25 E2 กร่อนปานกลาง (medium eroded) E3 กร่อนรุนแรง (severe erosion) 25 - 75 E4 กร่อนรนุ แรงมาก (very severe erosion) >75 - <100 ที่มา: กรมพฒั นาท่ีดิน (2551) 100
19 การจัดทาแผนการใช้ที่ดิน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางภูมิสารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) เพ่ือจัดทาแผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้า โดย การประมวลผล ข้อมูลทางกายภาพได้แก่ ประเภทการใช้ท่ีดิน การประเมินคุณภาพลุ่มน้า สภาพภูมิอากาศ สภาพ เศรษฐกิจและสงั คม ดงั น้ี วิเคราะหป์ ระเภทการใช้ที่ดนิ จากชนดิ ของพชื ลกั ษณะการดาเนนิ งาน และสภาพการผลิตใน การใช้ท่ีดินทั้งทางด้านกายภาพและสภาพเศรษฐกิจสังคม ซ่ึงได้แก่ รูปแบบการผลิต การเขตกรรม การ จัดการ เงินทุน และขนาดของกิจการ เป็นต้น โดยใช้ข้อมูลเหล่านม้ี าวิเคราะห์เพื่อคัดเลือกประเภทการใช้ ที่ดินที่เหมาะสม (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2562) กับความต้องการการผลิตพืชของเกษตรกรในท้องถิ่นน้ัน การคัดเลือกประเภทการใช้ท่ีดินมีวิธีการโดยวิเคราะห์ข้อมูลดินร่วมกับข้ อมูลสภาพการใช้ท่ีดินมาจัดทา หน่วยท่ีดนิ หลงั จากน้นั ถึงดาเนนิ การเก็บข้อมลู ตามเน้ือท่สี ภาพการใช้ทีด่ ินที่มีมากทสี่ ุดในล่มุ น้า การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยท่ีดินต่อการใช้ ประโยชน์ท่ีดินประเภทต่าง ๆ ในระดับการจัดการท่ีแตกต่างกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี กรมพัฒนาท่ีดินเลือกใช้วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการของ FAO Framework ซ่ึงมีจานวน 2 รูปแบบ แต่ในการประเมินคุณภาพท่ีดินเบ้ืองต้นจะทาการประเมินเพียงด้านเดียว คือ การประเมิน ทางด้านคุณภาพ เปน็ การประเมินเชิงกายภาพว่าท่ดี ินนน้ั ๆ มคี วามเหมาะสมมากหรือน้อยเพียงใดต่อการ ใช้ท่ีดินประเภทต่าง ๆ โดยศึกษาการประเมินคุณภาพดินร่วมกับประเภทการใช้ท่ีดินที่ได้กาหนดเป็น ตัวแทนการเกษตรกรรมหลักในลุ่มน้า การวิเคราะห์ได้คานึงถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชใน แต่ละด้านของดินที่แตกต่างกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินที่แตกต่างกันไปตามวัตถุต้นกาเนิดของดิน ซ่ึง คณุ ลักษณะทีด่ นิ ทใ่ี ช้ในการแสดงค่าเพือ่ วดั ระดับการเจริญเติบโตแตกต่างกนั คุณภาพท่ีดินที่นามาประเมินสาหรับการปลูกพืช ในระบบ FAO Framework ได้กาหนดไว้ ทั้งหมด 25 ชนิด แต่ที่นามาพิจารณาเพื่อประเมินความเหมาะสมของที่ดินในแต่ละประเภทการใช้ที่ดิน มี จานวน 8 คุณภาพท่ดี ิน ประกอบด้วย 1) ระบอบอุณหภมู ิ (Temperature regime: T) คุณลักษณะท่ีดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ ค่าเฉล่ียอุณหภูมิในฤดูเพาะปลูก เพราะอุณหภูมิมี อทิ ธิพลต่อการงอกของเมล็ด การออกดอกของพืชบางชนิด และมีสว่ นสัมพันธ์กับกระบวนการสังเคราะห์แสง ซ่ึงส่งผลกระทบตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื
20 2) ความชุม่ ช้นื ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ พืช (Moisture availability: M) คุณลกั ษณะที่ดนิ ทเ่ี ป็นตัวแทน ได้แก่ ระยะเวลาการทว่ มขงั ของน้าในฤดฝู น ปริมาณน้าฝน เฉล่ียในรอบปีหรือความต้องการน้าในช่วงการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ได้พิจารณาถึงลักษณะของ เนื้อดนิ ซงึ่ มีผลตอ่ ความสามารถในการอุ้มน้า ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อพชื 3) ความเป็นประโยชนข์ องออกซเิ จนต่อรากพชื (Oxygen availability: O) คุณลักษณะท่ีดินท่เี ปน็ ตัวแทน ไดแ้ ก่ สภาพการระบายน้าของดิน ท้งั นเี้ พราะพืชโดยท่ัวไป รากพืชตอ้ งการออกซเิ จนในกระบวนการหายใจ 4) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (Nutrient availability: S) คณุ ลกั ษณะที่เป็นตวั แทน ไดแ้ ก่ ปริมาณธาตอุ าหารพชื ในดิน 5) ความเสียหายจากน้าท่วม (Flood hazard: F) คุณลักษณะที่ดินท่ีเป็นตัวแทน ได้แก่ จานวนคร้ังท่ีน้าท่วมในช่วงรอบปีท่ีกาหนดไว้ หมายถึง พืชได้รับความเสียหายจากการที่น้าท่วมบนผิวดินช่ัวระยะเวลาหนึ่งหรือเป็นน้าที่มีการไหลบ่า การท่นี ้าทว่ มขังจะทาให้ดนิ ขาดออกซเิ จน ส่วนนา้ ไหลบา่ จะทาให้รากพชื ได้รับความกระทบกระเทอื น หรอื รากอาจหลุดพ้นผิวดินขึน้ มาได้ ความเสียหายจากนา้ ท่วมไม่ใช่จะเกิดกับพชื เท่าน้ัน แตย่ งั ทาความเสียหาย ใหก้ ับดนิ และโครงสร้างพนื้ ฐานต่าง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการใชท้ ดี่ ิน 6) สภาวะการหยง่ั ลึกของราก (Rooting conditions: R) คุณลักษณะที่ดินท่ีเป็นตัวแทน ได้แก่ ความลึกของดิน ความลึกของระดับน้าใต้ดิน และ ชั้นการหย่ังลึกของราก โดยความยากง่ายของการหย่ังลึกของรากในดินมีปัจจัยที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ลักษณะ เน้อื ดนิ โครงสรา้ งของดิน การเกาะตัวของเมด็ ดนิ และปริมาณกรวดหรือเศษหินท่พี บบนหนา้ ตัดดิน 7) ศักยภาพในการใชเ้ ครื่องจักร (Potential for mechanization: W) คุณลักษณะทีด่ ินท่ีเป็นตัวแทน ได้แก่ ความลาดชันของพ้ืนท่ี ปริมาณหินโผล่ ปรมิ าณก้อน หิน และการมเี น้อื ดนิ เหนียวจดั ซ่งึ ปจั จัยทัง้ 4 นีอ้ าจเป็นอุปสรรคตอ่ การไถพรวนโดยเครื่องจักร 8) ความเสยี หายจากการกดั กรอ่ น (Erosion hazard: E) คณุ ลกั ษณะทด่ี ินทีเ่ ปน็ ตวั แทน ไดแ้ ก่ ความลาดชนั ของพื้นที่ การจาแนกความเหมาะสมของท่ีดินตามหลกั เกณฑ์ของ FAO Framework เป็นการประเมนิ ศกั ยภาพของที่ดนิ สาหรับการปลูกพืชหรือประเภทการใช้ที่ดิน โดยการพิจารณาเปรยี บเทียบความสัมพันธ์ ระหว่างคุณภาพท่ีดินกับความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการเจริญ เติบโตของพืชหรือประเภทการใช้ ท่ดี นิ วา่ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั ใด และมขี ้อจากัดใดบ้าง โดยได้จาแนกความเหมาะสมออกเป็น 4 ชน้ั คอื S1 : ชัน้ ท่ีมีความเหมาะสมสูง S2 : ช้นั ที่มคี วามเหมาะสมปานกลาง
21 S3 : ชนั้ ทมี่ คี วามเหมาะสมเล็กนอ้ ย N : ชนั้ ทไี่ ม่มีความเหมาะสม จากการประเมินคุณภาพที่ดินสามารถสรุปพ้ืนท่ีที่มีศักยภาพในการปลูกพืชแต่ละชนิดโดย พจิ ารณาจากเน้ือที่ประเภทการใช้ท่ีดนิ ที่ดาเนนิ การปลูกจริงและมเี นื้อที่การปลูกพชื มากที่สุดในลุ่มน้าห้วย ท่าแค จานวน 5 ประเภทการใช้ที่ดิน เป็นพืชตัวอย่างที่นามาพิจารณาช้ันความเหมาะสมตามศักยภาพ ของเน้ือที่ลุ่มน้า ทั้งน้ีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทาแผนการใช้ท่ีดิน จะต้องวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพการใช้ที่ดิน ร่วมกับข้อกฎหมายที่เก่ียวข้องภายในพื้นท่ีโครงการฯ โดยการ วิเคราะห์อยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ต้องรักษาสภาพป่าไม้และระบบนิเวศของพ้ืนท่ีไว้ ร่วมกับการใช้พ้ืนที่ให้ เหมาะสมกับศักยภาพของท่ีดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ภายใต้ข้อจากัดการใช้ที่ดินของภาครัฐ และต้องสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจสงั คมของชุมชนในพื้นที่ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการ มสี ่วนรว่ มของชุมชนและภาครัฐในการพิจารณาจัดทาแผนการใช้ท่ีดนิ ในพ้ืนท่โี ครงการฯ เพื่อใหเ้ กดิ การใช้ พ้ืนที่อย่างยั่งยืน และคงไว้ซึ่งสมดุลของระบบนิเวศรวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์ในแง่ของการฟื้นฟูและ อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ 1) กลุ่มเป้าหมายและพน้ื ทดี่ าเนินการ การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายบริเวณลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา จานวน 7 ตาบล โดยเลือกจากตัวแทนชุมชน หมอดินอาสา ตัวแทนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานราชการที่ เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี รวมกลุ่มเป้าหมายท่ีจะเข้าร่วมการประชุม จานวน 50 คน ซึ่งเป็นตัวแทนของพ้ืนที่ ดาเนินการ ดงั น้ี (1) ตาบลโนนไทย อาเภอโนนไทย (2) ตาบลสายออ อาเภอโนนไทย (3) ตาบลด่านจาก อาเภอโนนไทย (4) ตาบลมะคา่ อาเภอโนนไทย (5) ตาบลเมอื งปราสาท อาเภอโนนสูง (6) ตาบลจันอัด อาเภอโนนสงู (7) ตาบลหนองหอย อาเภอพระทองคา
22 2) ประเดน็ การรบั ฟงั ความคิดเห็น กาหนดพ้ืนที่ตามสภาพพ้ืนที่และปัญหาที่พบในลุ่มน้าเป็น พ้ืนท่ีที่มีความเสี่ยงต่อการ ชะล้างพังทลายปานกลาง พ้ืนที่ที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายน้อย แต่ทรัพยากรดินมีความเสื่อม โทรม โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเห็น คือ ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลาย ของดนิ สภาพปัญหาของพน้ื ทแ่ี นวทางการแก้ไขปัญหา (ภูมปิ ญั ญาและตามหลักวิชาการ) และการกาหนด เปา้ หมายในการดาเนินงาน ความรู้ ความเขา้ ใจ ตอ่ การชะลา้ งพังทลาย ของดนิ สภาพปญั หาของพนื้ ที่ ลมุ่ นา้ ห้วยท่าแค การจัดการ จ.นครราชสมี า ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และ นา้ แนวทางแกไ้ ข/ภูมิ พื้นทนี่ าร่อง ปัญญา+วชิ าการ ภาพท่ี 2-2 ประเด็นการรับฟงั ความคดิ เห็นของชมุ ชนแบบมสี ว่ นรว่ ม 1) จัดทา (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า เพื่อประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงาน ภาครัฐ ประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อการจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พื้นท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ในวัน พฤหสั บดี ที่ 23 กรกฎาคม 2563 เวลา 08.30 น. - 16.30 น. ณ หอ้ งประชมุ องค์การบริหารสว่ นตาบล โนนไทย อาเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัด ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล
23 2) ปรับปรุงแก้ไข (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ก่อนนาเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ ป้องกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟพู น้ื ที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษด์ นิ และนา้ การกาหนดพื้นท่ีเป้าหมายเพ่ือดาเนินกิจกรรม (implement) ประกอบการจดั ทาแผนปฏิบัติการให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาพื้นที่และความต้องการของชุมชน ด้วยการวิเคราะห์ลาดับความสาคัญเป็นการ กาหนดพ้ืนท่ีนาร่องโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้าพน้ื ที่ลุ่มน้าหว้ ยทา่ แค จังหวดั นครราชสมี า จากขอบเขตพื้นทีล่ ุ่มนา้ จานวน 107,203 ไร่ เม่ือผ่านกระบวนการวิเคราะห์จากข้อมูลทุติยภูมิเบ้ืองต้นทั้งรูปแบบรายงานและแผนที่ ประกอบด้วย ข้อมูลดินและสภาพดินปัญหา การชะล้างพังทลายของดิน การใช้ที่ดิน และแผนการใช้ท่ีดิน จากข้อมูล หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และการสารวจข้อมูลจากสภาพพื้นท่ีดาเนินการจริงในปัจจุบัน และการรับฟังความ คดิ เหน็ ต่อแนวทางการป้องกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟืน้ ฟูพน้ื ท่ีเกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษ์ดิน และน้า จะทาให้ได้เกณฑ์ (criteria) สาหรับนามาใช้ในการกาหนดพื้นที่เป้าหมายและกาหนดแผนงาน/ โครงการสนับสนุนการดาเนินงานโครงการได้ เช่น ระดับความรุนแรงของพื้นที่ชะล้างพังทลายของดิน (soil erosion) แหลง่ นา้ สถานการณ์ภัยแลง้ และน้าทว่ ม สถานภาพทรัพยากรดนิ ระบบอนรุ ักษด์ นิ และน้า การใช้ท่ีดิน และการมีส่วนร่วมหรือการยอมรับของชุมชนในการคัดเลือกพื้นท่ีดาเนินการ ปัจจัยหลักท่ี นามาพิจารณา 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ระดับความรุนแรงของการชะล้าง 2) สถานภาพทรัพยากรดิน 3) การใช้ท่ีดิน 4) กิจกรรมที่ดาเนินงานในพื้นท่ี 5) แผนปฏิบัติงานของพ้ืนท่ี 6) ความต้องการของชุมชน โดย มีเกณฑ์การให้คะแนน ดงั น้ี 1) ระดับความรุนแรงของการชะลา้ ง สงู = 3 คะแนน ปานกลาง = 2 คะแนน ตา่ = 1 คะแนน 2) สถานภาพทรัพยากรดนิ เสอ่ื มโทรม = 2 คะแนน ไม่เส่ือมโทรม = 1 คะแนน 3) การใช้ทด่ี ิน นาขา้ ว (พืชหลกั ) = 3 คะแนน พืชไร่ (พชื รอง) = 2 คะแนน ไมผ้ ล/ไม้ยนื ต้น (พชื รอง) = 1 คะแนน
24 4) กิจกรรมทีด่ าเนินงานในพืน้ ท่ี ไมเ่ คยมี = 2 คะแนน เคยมี = 1 คะแนน 5) แผนการดาเนนิ งานในพนื้ ที่ ปี 2563 แหล่งนา้ ปรับปรงุ ดิน ระบบอนรุ ักษด์ นิ และนา้ = 3 คะแนน = 2 คะแนน แหล่งนา้ และปรบั ปรุงดนิ = 1 คะแนน แหล่งนา้ หรือปรบั ปรุงดนิ = 3 คะแนน = 2 คะแนน 6) ความตอ้ งการของชุมชน = 1 คะแนน ต้องการแหล่งนา้ และระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ ตอ้ งการแหลง่ น้าหรือระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้า ตอ้ งการงานด้านอ่นื ๆ แผนปฏบิ ตั กิ ารเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟืน้ ฟูพน้ื ท่ีเกษตรกรรม ล่มุ น้าห้วยท่าแค ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2565) และระยะ 1 ปี เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะ ล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ให้สามารถนาไปสู่การวาง แผนการกาหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นท่ีเกษตรกรรรมท่ีมีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของ ดินและพ้ืนท่ีดินเสื่อมโทรม นาไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรมและยั่งยืน รวมท้ังสามารถ แปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ท่ีสอดคล้องกับประเด็น ปญั หาและบรู ณการการดาเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมสี ว่ นร่วมจากภาคผี ู้มสี ่วนได้เสียที่ เกยี่ วข้อง
25 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง หลักภมู สิ ังคม หลักธรรมาภบิ าล หลักการส่วนร่วมของ หลกั การอนุรกั ษด์ นิ และนา้ ประชาชน หลักการสาคญั หลกั การพฒั นาท่ยี ดึ คน หลักการบรหิ ารจดั การเชิง เปน็ ศนู ย์กลาง ระบบนเิ วศ หลักการพัฒนาท่ียงั่ ยืน หลกั การระวังไว้ก่อน หลักการพัฒนาที่มุ่ง ผลสัมฤทธ์ิ ภาพที่ 2-3 หลักการสาคัญในการจัดทาแผนการบรหิ ารจดั การทดี่ ินและทรัพยากรดนิ ของประเทศ ท่มี า: สานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (2561) การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้า ได้นาหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า การบริหาร จัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องดาเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความ เช่ือมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้า ป่าไม้ และชายฝ่ัง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความม่ันคงของประเทศ โดยให้คานึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชน หลักธรรมาภิบาล การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การกระจายอานาจ การมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนและภูมิ สังคม ดงั นน้ั เพอื่ ให้แผนบริหารจดั การแปลงไปสูก่ ารปฏิบัติ จงึ ได้จัดทาแผนปฏิบตั ิการ ระยะ 4 ปี โดยนาเสนอต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้า ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม (interdisciplinary) ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยกาหนดทิศทาง จากสภาพปัญหาเป็นตัวนา (problem orientation) ความรู้ทางวิชาการท่ีหลากหลายสาขาผ่าน กระบวนการคิด วิเคราะห์ จากงานวิจัย (research) และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาท่ีดิน การอนุรักษ์ดิน และนา้ ผา่ นกระบวนการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน (participation approach)
26
27 3
3 28 พืน้ ที่ลุ่มนา้ หว้ ยท่าแค จังหวัดนครราชสมี า มีพนื้ ท่ีรวมทัง้ ส้ิน 171.52 ตารางกิโลเมตร หรอื 107,203 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 15 14’ ถึง 15 34’ องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 101 98’ ถึง 102 17’ องศา ตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งของลุ่มน้าสาขาลาเชิงไกร (0506) ลุ่มน้าหลักแม่น้ามูล (05) พ้ืนท่ีส่วนใหญ่อยู่ใน อาเภอโนนไทย (ร้อยละ 80.96 ของพื้นท่ีลุ่มน้า) อาเภอพระทองคา (ร้อยละ 13.26 ของพ้ืนท่ีลุ่มน้า) และ อาเภอโนนสงู (ร้อยละ 5.78 ของพน้ื ท่ลี ุ่มน้า) จังหวดั นครราชสมี า มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ (รูปท่ี 3.1) ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ ตาบลหนองหอย อาเภอพระทองคา จงั หวดั นครราชสมี า ทศิ ใต้ ติดต่อ ตาบลสาโรง ตาบลกาปัง อาเภอโนนไทย ตาบลโคกสูง อาเภอเมือง และ ตาบลจนั อดั อาเภอโนนสูง จังหวดั นครราชสมี า ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อ ตาบลมะค่า อาเภอโนนไทย และตาบลเมืองปราสาท อาเภอโนนสูง จงั หวัดนครราชสมี า ทิศตะวนั ตก ติดต่อ ตาบลพังเทียม อาเภอพระทองคา ตาบลบัลลังก์ และตาบลค้างพลู อาเภอโนนไทย จงั หวัดนครราชสีมา ภูมิประเทศในพื้นที่พ้ืนท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแคส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นพื้นท่ีราบเรียบจนถึงค่อนข้าง ราบเรียบ (ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์) ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 84.15 ของพ้ืนที่ลุ่มน้า พื้นท่ีลูกคลื่น ลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย (ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์) ครอบคลุมพ้ืนที่ร้อยละ 12.37 ของพ้ืนที่ลุ่มน้า พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด (ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์) ครอบคลุมพ้ืนที่ร้อยละ 3.31 ของพื้นท่ีลุ่มน้า และพ้ืนท่ีลูกคลื่นลอนชัน (ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์) ครอบคลุมพ้ืนที่ร้อยละ 0.17 ของพื้นท่ีลุ่มน้า มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 164-214 เมตร โดยจุดสูงสุดอยู่ทางเหนือของพ้ืนที่ ลาดลงมาทางดา้ นใต้ และมียกขอบสูงขึน้ มาทางดา้ นตะวันตกเฉยี งใต้ (รปู ท่ี 3.2 )
29 ภาพที่ 3-1 ทตี่ ง้ั และอาณาเขต และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ พ้นื ที่ล่มุ น้าหว้ ยทา่ แค จงั หวัดนครราชสมี า
30 ภาพที่ 3-2 เส้นชนั้ ความสงู พนื้ ท่ลี มุ่ น้าห้วยทา่ แค จังหวดั นครราชสมี า
31 ภาพท่ี 3-3 ความลาดชัน พื้นท่ีล่มุ นา้ ห้วยทา่ แค จังหวดั นครราชสมี า
32 เน้อื ที่ ไร่ รอ้ ยละ ตารางท่ี 3.1 ความลาดชนั พ้ืนทลี่ มุ่ น้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสมี า 90,211 84.15 13,261 12.37 ความลาดชนั 3,549 3.31 ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซ็นต์ 182 0.17 ความลาดชนั 2-5 เปอร์เซ็นต์ ความลาดชนั 5-12 เปอร์เซน็ ต์ 107,203 100.00 ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ รวม พน้ื ท่ีลุ่มน้าห้วยทา่ แค จงั หวดั นครราชสมี า อยบู่ รเิ วณตอนบนของจังหวดั นครราชสีมา ได้รับอทิ ธิพล ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากน้ียังมีพายุดีเปรสช่ันและพายุใต้ฝุ่น พัดผ่านมาจากทะเลจีนใต้เข้ามาเป็นคร้ังคราว ส่งผลทาให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ได้แก่ ฤดูฝนจะเกิดในช่วง เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาวจะเกิดในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์และฤดูร้อน จะเกิดในชว่ งเดอื นมนี าคมถึงเดือนเมษายน จากข้อมูลอุตุนิยมวิทยา โดยสถานีตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา มีลกั ษณะภมู อิ ากาศในพนื้ ท่ี ดงั น้ี (ตารางท่ี 3-2) อุณหภูมิ มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.7 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน 36.7 องศาเซลเซยี ส และอุณหภูมิตา่ สุดในเดอื นมกราคม 19.1 องศาเซลเซยี ส ปริมาณน้าฝน มีปริมาณน้าฝนรวมตลอดปี 1,092.6 มิลลิเมตร โดยมีปริมาณน้าฝนสูงสุด ในเดือนกนั ยายน 230.3 มลิ ลเิ มตร และปริมาณน้าฝนต่าสดุ ในเดือนธนั วาคม 2.8 มลิ ลเิ มตร ความช้ืนสัมพัทธ์ มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 70.8 เปอร์เซ็นต์ โดยมีความช้ืนสัมพัทธ์สูงสุดใน เดือนกนั ยายน 81.0 เปอรเ์ ซ็นต์ และตา่ สดุ ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 62.0 เปอรเ์ ซ็นต์ การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูก จากการวิเคราะห์สถานการณ์สมดุลของน้า เพื่อการเกษตรด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้าฝนเฉล่ียรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน้าเฉลี่ยรายเดือน (Evapotranspiration : ETo) ซึ่ ง ค า น ว ณ โ ด ย ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม Cropwat for Windows Version 8 .0 โดยพิจารณาจากช่วงระยะที่น้าฝนอยู่ท่ีเหนือระดับเสน้ 0.5 ของค่าศักยภาพการคายระเหยน้า (0.5 ETo) เป็นหลัก (รูปที่ 3-3) พบว่า ระยะเวลาในการปลูกพืชที่เหมาะสมกับจังหวัดนครราชสีมาอยู่ในช่วงปลาย เดอื นกมุ ภาพนั ธถ์ ึงต้นเดือนพฤศจกิ ายน
33 ตารางท่ี 3.2 สถติ ภิ ูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศจังหวัดนครราชสีมา (ปี พ.ศ.2533-2562) เดือน อณุ หภูมิ (°ซ) ความช้ืน ปรมิ าณ จานวน ศกั ยภาพการ ปริมาณฝน สัมพัทธ์ นา้ ฝน วันทฝี่ นตก คายระเหยนา้ ใชก้ าร ต่าสดุ สูงสุด เฉลย่ี (%) (มม.) (วัน) (มม.)* (มม.) ม.ค. 19.1 30.9 24.7 66 9.3 1.8 48.4 9.2 ก.พ. 21.1 33.5 27 62 13.2 2.5 49 12.9 มี.ค. 23.6 35.6 29.1 63 47.4 5.9 62.6 43.8 เม.ย. 25.1 36.7 30.1 66 76.8 8.7 67.5 67.4 พ.ค. 25.4 35.3 29.4 73 147.1 14.4 71 112.5 ม.ิ ย. 25.4 34.7 29.3 73 112.2 13.8 68.1 92.1 ก.ค. 25 33.9 28.8 74 127.6 15 70.1 101.5 ส.ค. 24.8 33.4 28.3 76 173.2 18.2 69.1 125.2 ก.ย. 24.3 32.3 27.6 81 230.3 18.7 64.2 145.4 ต.ค. 23.6 31.4 27.1 78 133 11.2 60.5 104.7 พ.ย. 21.5 30.8 26 71 19.7 3.7 52.5 19.1 ธ.ค. 19.2 29.9 24.4 66 2.8 1.4 48.4 2.8 เฉลี่ย 23.2 33.2 27.7 70.8 -- -- รวม - - - - 1,092.60 115.3 731.3 836.6 ทมี่ า : กรมอตุ ุนยิ มวิทยา (2563) ; * จากการคานวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 250 มม. ปรมิ าณนา้ ฝน 200 การระเหยและคายน้า 150 0.5 การระเหยและคายน้า 100 50 0 เดือน ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ชว่ งขาดนา้ ช่วงนา้ มากพอ ช่วงขาดน้า ช่วงเพาะปลูกพชื ภาพท่ี 3.4 สมดลุ ของนา้ เพื่อการเกษตร จงั หวัดนครราชสีมา ปี พ.ศ. 2533-2562
34 จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินในระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 ในพ้ืนท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค ซึ่งมีเน้ือท่ีครอบคลุม 107,203 ไร่ สามารถจาแนกเป็นหน่วยแผนที่ได้ 17 หน่วย แผนท่ี (ตารางท่ี 3-3 และภาพที่ 3-4) ประกอบด้วย ระดับหน่วยจาแนก มี 9 ชุดดิน (9 หน่วยแผนท่ี) ดนิ คล้าย 4 ดิน (5 หน่วยแผนท่ี) หนว่ ยเชิงซอ้ น 1 หนว่ ย (1 หน่วยแผนท)่ี และ 2 หน่วยแผนทเี่ บ็ดเตลด็ ดงั น้ี 1) ชุดดินจัตุรสั (Ct) การจาแนกดนิ Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs. สภาพพน้ื ที่ ค่อนข้างราบเรยี บถึงลกู คลนื่ ลอนลาดเล็กน้อย มคี วามลาดชัน 1-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ภูมสิ ัณฐาน บริเวณพ้นื ทีท่ ่ีเหลือค้างจากการกัดกร่อนของหินตะกอนเน้ือทรายแป้งทีม่ ปี ูนปน วตั ถุต้นกาเนดิ ดนิ เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ของวัสดุท่ีพัฒนามาจากหินตะกอนเนื้อทราย แปง้ ทมี่ ปี นู ปน และมีแคลเซียมคาร์บอเนตเปน็ องคป์ ระกอบสูง การระบายนา้ ดี การไหลบา่ ของน้า ปานกลาง การไหลบ่าของน้าบนผวิ ดนิ ปานกลางถงึ เรว็ ลักษณะสมบตั ขิ องดิน ดินลึกมากปานกลางถึงชั้นหินพื้น ดินบนเป็นดินร่วนเหนียว สีน้าตาลปนแดง ดินล่างเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง สีน้าตาลปนแดงหรือสีแดง ในช่วง 50-100 ซม จะพบชั้นหินผุ ถัดจากช้ันหินผุจะเป็นหินแข็งซ่ึงเป็นหินพื้น ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 6.5-8.0) ในดินบน และ เป็นกลางถงึ ด่างปานกลาง (pH 7.0-8.0) ในดนิ ลา่ ง ขอ้ จากดั สมบัติทางกายภาพของดินไม่ดี ดินค่อนข้างแน่นทึบ น้าซึมผ่านได้ช้า มีเศษหิน ปะปน อาจขาดแคลนนา้ ไดใ้ นชว่ งฤดูเพาะปลูก ดินจตั รุ ัสที่พบมี 1 หน่วยแผนที่ดนิ ได้แก่ - หน่วยแผนท่ีดิน Ct-siclB คือชุดดินจัตุรัส มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปน ทรายแปง้ ความลาดชนั 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ มเี น้อื ท่ี 15,034 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 14.03 ของพื้นท่ีล่มุ น้า 2) ชุดดนิ ห้วยแถลง (Ht) การจาแนกดนิ Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults. สภาพพน้ื ท่ี ราบเรียบถึงลกู คล่นื ลอนลาด ความลาดชนั 0-12 เปอรเ์ ซ็นต์ ภูมสิ ณั ฐาน พืน้ ทเี่ กือบราบ หรือทเ่ี กือบราบ (Peneplain) วัตถุต้นกาเนดิ ดนิ เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับท่ี หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบท่ีถูก ชะมาทบั ถมอยู่บริเวณพื้นทีท่ เี่ หลือคา้ งจากการกัดกร่อน การระบายน้า ดี การซึมผ่านไดข้ องน้า เร็ว การไหลบา่ ของนา้ บนผิวดนิ ปานกลางถึงเร็ว
35 ลกั ษณะสมบัติของดิน ดินลกึ มาก เนอ้ื ดนิ เป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดนิ รว่ นปนทราย สนี า้ ตาลปนเทา ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย และเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายในดินล่างท่ีลึกลง ไป มีสีน้าตาลหรือสีน้าตาลปนเหลือง พบจุดประท่ีความลึกมากกว่า 100 เซนตเิ มตร ปฏกิ ิรยิ าดินเปน็ กรดจัดถงึ กรดเลก็ น้อย (pH 5.5-6.5) ในดนิ บน และ เป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดนิ ล่าง ข้อจากดั เน้ือดินคอ่ นขา้ งเปน็ ทราย ความอดุ มสมบรู ณต์ ่า เส่ียงตอ่ การขาดแคลนน้าในฤดู เพาะปลกู ชดุ ดินห้วยแถลงทพ่ี บมี 1 หนว่ ยแผนทีด่ ิน ไดแ้ ก่ - หน่วยแผนที่ Ht-slB คือ ชุดดินห้วยแถลง มีเน้ือดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ มีเน้ือท่ี 4,157 ไร่ หรือรอ้ ยละ 3.88 ของพนื้ ทีล่ มุ่ น้า 3) ชดุ ดินกุลารอ้ งไห้ (Ki) การจาแนกดนิ Fine-loamy, mixed, active, isohyperthermic Typic Natraqualfs. สภาพพน้ื ท่ี ราบเรียบถึงคอ่ นขา้ งราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ภมู ิสัณฐาน ตะพักลาน้า วตั ถตุ ้นกาเนดิ ดนิ ตะกอนนา้ พามาทบั ถม การระบายนา้ เลว การซมึ ผา่ นได้ของนา้ ปานกลางถงึ ชา้ การไหลบา่ ของน้าบนผวิ ดิน ช้า ลักษณะสมบัติของดนิ ดินลึกมาก ดินบนหนา 10-25 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วน ปนทราย สีน้าตาลปนเทา สีน้าตาล หรือสีน้าตาลอ่อน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด มากถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH 5.0-6.5) ส่วนดินล่าง ซ่ึงเป็นช้ันสะสมเกลือ มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียว ปนทราย สีเทาปนชมพู หรือสีเทาอ่อน หรือสีน้าตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเป็น ด่างเล็กนอ้ ยถึงเปน็ ดา่ งจดั มีคา่ ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH 7.5-8.5) บางบรเิ วณ พบก้อนปูนปะปน มีจุดประสีน้าตาลแก่ และ/หรือ สีน้าตาลปนเหลือง หรือสี เหลืองปนน้าตาล ตลอดทุกช้นั ดนิ ในฤดแู ล้งจะมคี ราบเกลืออยู่บนผิวหน้าดิน ข้อจากัด เป็นดินเค็มด่าง มีเกลือโซเดียม ซ่ึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีโครงสร้าง ไมเ่ หมาะสม ชดุ ดินกลุ าร้องไห้ท่พี บมี 1 หนว่ ยแผนที่ ได้แก่ - หน่วยแผนท่ีดิน Ki-slA คือชุดดินกุลาร้องไห้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ ต์ มเี นอื้ ท่ี 4,0220 ไร่ หรือรอ้ ยละ 3.75 ของพน้ื ทล่ี ุม่ นา้ 4) ชุดดนิ คง (Kng) การจาแนกดนิ Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Oxyaquic (Kandic) Paleustalfs. สภาพพนื้ ท่ี คอ่ นข้างราบเรยี บถึงลูกคล่ืนลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 1-5 เปอร์เซน็ ต์
36 ภมู สิ ณั ฐาน พื้นทเ่ี กอื บราบ หรือทเ่ี กอื บราบ (Peneplain) วัตถตุ ้นกาเนิดดนิ เกดิ จากการสลายตวั ผุพงั อยู่กบั ท่ีหรือตะกอนของหินตะกอนเน้ือหยาบท่ีถูกชะมา ทบั ถมอยู่บริเวณพื้นท่ีท่เี หลือคา้ งจากการกดั กร่อน การระบายน้า ดีปานกลาง การซมึ ผา่ นไดข้ องนา้ ปานกลาง การไหลบา่ ของน้าบนผวิ ดิน ปานกลาง ลักษณะสมบตั ิของดิน ดินลึกมาก ดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้าตาลเข้ม หรือน้าตาล ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียว สีน้าตาล หรือสีน้าตาลปนเหลือง อาจพบสีเทาปนน้าตาล สีเทา หรือสีเทาปนชมพู ในดนิ ล่างที่ลึกลงไป พบจุดประสนี ้าตาลแกห่ รือสเี หลืองปนแดง ภายในความลึก กอ่ น 100 เซนตเิ มตร จากผิวดนิ อาจพบก้อนเหลก็ สะสมในดินลา่ ง ปฏกิ ิริยาดิน เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบน และเป็นกรดปานกลาง ถึงด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0) ในดินล่าง ข้อจากัด ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย เส่ียงต่อการขาดแคลนน้า ในฤดเู พาะปลูก ชุดดนิ คงทีพ่ บมี 1 หนว่ ยแผนที่ดนิ ไดแ้ ก่ - หน่วยแผนที่ Kng-slB คือ ชุดดินคง มีเน้ือดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ มเี น้อื ท่ี 920 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 0.86 ของพ้นื ที่ลุม่ น้า 5) ชุดดินขามทะเลสอ (Kts) การจาแนกดนิ Coarse-loamy, mixed, active, isohyperthermic Aquic Natrustalfs. สภาพพ้นื ท่ี ราบเรยี บถงึ ค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ภูมสิ ณั ฐาน ส่วนต่าของพ้นื ทเ่ี กอื บราบ วัตถตุ ้นกาเนิดดิน ตะกอนเน้ือหยาบ และหรือการสลายตัวผุพังอยู่กับท่ีของหินทราย และได้รับ อิทธิพลจากหนิ เกลอื การระบายน้า ดีปานกลางถึงค่อนขา้ งเลว การซมึ ผ่านได้ของน้า ปานกลางถึงชา้ การไหลบ่าของน้าบนผิวดนิ ช้า ลักษณะสมบตั ิของดนิ ดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้าตาลปนเทา ดินล่างเป็น ดินร่วน หรือดินร่วนปนทราย สีเทาหรือสีเทาปนชมพู ซึ่งเป็นช้ันสะสมโซเดียม ที่แลกเปลี่ยนได้ พบจุดประสีน้าตาล เหลืองปนน้าตาล ตลอดหน้าตัดดิน ใน ฤดูแลง้ พบคราบเกลือลอยหน้า ส่วนในดนิ ลา่ งลกึ กว่า 1 เมตร เป็นดินรว่ นสีเทา หรือเทาปนเขียว ลึกลงไปพบช้ันดินเหนียวปนทราย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง เป็นกลาง (pH 5.0-7.0) ในดนิ บน และด่างเล็กน้อยถงึ เป็นด่างจัด (pH 7.5-8.5) ในดินลา่ ง บางบริเวณพบก้อนปูนปะปน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145