Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 7_5 มี.ค. 64

รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 7_5 มี.ค. 64

Published by ศศิธร ได้ไซร้, 2021-03-10 06:32:51

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 7_5 มี.ค. 64

Search

Read the Text Version

85 ตารางที่ 3-23 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สญู เสียดินในระดบั ปานกลาง (ตอ่ ) รายการ ปกี ารผลิต 2562/63 ร้อยละ ชว่ งเวลาปลูก/เก็บเก่ยี วยางพารา ปลูก เดือน/ปี(ร้อยละของเกษตรกร) 12.87 20.45 ส.ค.-48 15.89 พ.ค.-53 21.57 พ.ค.-54 29.22 ก.ค.-55 ม.ิ ย.-56 100.00 เดอื นเก็บเก่ยี ว(ร้อยละของเกษตรกร) ส.ค.-ก.พ.. 780.68 ปรมิ าณผลผลิต 275.46 ข้าวโพด(กก./ไร) ยางพารา(กก./ไร)่ * 100.00 การใชป้ ระโยชนผ์ ลผลติ ข้าวโพด(รอ้ ยละของปริมาณผลผลติ ) ขาย 100.00 การใช้ประโยชนผ์ ลผลติ ยางพารา(ร้อยละของปรมิ าณผลผลิต) ขาย สถานทจ่ี ำหน่ายผลผลิตข้าวโพด ทบ่ี ้าน(รอ้ ยละของปรมิ าณผลผลิต) 15.69 ทไี่ ร่(รอ้ ยละของปริมาณผลผลติ ) 58.59 จดุ รบั ซ้ือทอ้ งถ่ิน(รอ้ ยละของปริมาณผลผลติ ) 25.72 สถานทจี่ ำหน่ายผลผลิตยางพารา 30.49 ทบ่ี า้ น(ร้อยละของปรมิ าณผลผลิต) 54.88 จดุ รบั ซือ้ ท้องถนิ่ (รอ้ ยละของปริมาณผลผลิต) จดุ รบั ซ้อื นอกท้องถ่นิ (รอ้ ยละของปริมาณผลผลิต) 14.63 ท่มี า : จากการสำรวจ 2563 *หมายเหตุ : ยางพารา ขายยางกอ้ นถว้ ย จากการวเิ คราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวโพดในพื้นท่ีทำการเกษตรทีม่ ีความรุนแรงของ การสูญเสียดินในระดับปานกลาง (ตารางที่ 3-24) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดทั้งที่เป็นเงิน สดและไม่เป็นเงินสด รวม 5,702.59 บาทต่อไร่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดมีรายได้เฉลี่ย 5,886.33 บาทต่อ ไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดในพื้นที่ทำการเกษตรที่มี ความรุนแรงของการสญู เสยี ดนิ ในระดับปานกลางขาดทนุ ในการปลกู ข้าวโพด 183.74 บาทต่อไร่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

86 ตารางที่ 3-24 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ ข้าวโพด ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรท่ี มคี วามรนุ แรงของการสญู เสียดนิ ในระดับปานกลาง ขา้ วโพดปกี ารผลติ 2562/63 รายการ ต้นทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร่) เปน็ เงินสด ไม่เปน็ เงินสด รวม รวมต้นทนุ การผลิต 4,690.37 1,012.22 5,702.59 1. ต้นทนุ ผันแปร 4,690.37 587.11 5,277.48 1.1 ค่าวัสดกุ ารเกษตร 2,139.77 0.00 2,139.77 พนั ธ์ุ 689.14 0.00 689.14 ปยุ๋ เคมี สตู ร 15-15-15 245.89 0.00 245.89 สูตร 16-20-0 423.75 0.00 423.75 สตู ร 20-10-12 0.00 0.00 0.00 สตุ ร 8-3-8 0.00 0.00 0.00 สูตร 46-0-0 211.29 0.00 211.29 ปยุ๋ คอก/ปุย๋ หมกั มลู วัว 0.00 0.00 0.00 สารปอ้ งกนั และปราบวชั พืช 187.95 0.00 187.95 สารปอ้ งกนั และปราบศตั รพู ืช 235.87 0.00 235.87 นำ้ มันเชือ้ เพลิงและหล่อลื่น 145.88 0.00 145.88 1.2 คา่ แรงงานคน 1,644.59 587.11 2,231.70 1.3 ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์การเกษตร 252.29 0.00 252.29 1.4 คา่ ขนสง่ ผลผลติ 195.17 0.00 195.17 1.5 ดอกเบี้ยเงินกู้ 458.55 0.00 458.55 2. ตน้ ทนุ คงที่ 0.00 425.11 425.11 ค่าเสื่อมเคร่ืองมือและอุปกรณก์ ารเกษตร 0.00 425.11 425.11 ผลผลิตเฉลีย่ ตอ่ ไร่ (กก./ไร)่ 780.68 ราคาตอ่ หน่วย (บาท/กก.) 7.54 รวมมูลค่าผลผลติ (บาท/ไร)่ 5,886.33 ผลตอบแทนเหนือต้นทนุ เงนิ สด (บาท/ไร)่ 1,195.96 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร (บาท/ไร่) 608.85 ผลตอบแทนเหนือตน้ ทนุ ท้งั หมด (บาท/ไร)่ 183.74 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพาราในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดิน ในระดับปานกลาง (ตารางที่ 3-25) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตยางพาราทั้งที่เป็นเงินสดและไม่เปน็ เงินสด รวม 5,638.77 บาทตอ่ ไร่ เกษตรกรผูป้ ลกู ข้าวโพดมรี ายไดเ้ ฉล่ีย 5,060.20 บาทต่อไร่ เม่อื พิจารณา ผลตอบแทนเหนือต้นทนุ ทงั้ หมด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในพื้นที่ทำการเกษตรท่ีมีความรุนแรงของ การสญู เสยี ดินในระดบั ปานกลางขาดทุนในการปลกู ยางพารา 578.57 บาทตอ่ ไร่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

87 ตารางท่ี 3-25 ต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลิตยางพารา ปกี ารผลติ 2562/63 ในพ้ืนท่ที ำการเกษตรที่ มคี วามรนุ แรงของการสญู เสียดินในระดบั ปานกลาง ยางพาราปกี ารผลติ 2562/63 รายการ ต้นทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร่) รวมต้นทนุ การผลิต เปน็ เงินสด ไม่เปน็ เงินสด รวม 1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 1,903.58 3,735.19 5,638.77 1.1 ค่าวสั ดุการเกษตร พันธ์ุ 1,903.58 3,622.61 5,526.19 ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 993.27 82.61 1,075.88 สตู ร 26-2-0 สูตร 20-10-12 0.00 82.61 82.61 สุตร 8-3-8 สูตร 46-0-0 0.00 0.00 0.00 ปุ๋ยคอก/ปยุ๋ หมกั มูลววั 289.33 0.00 289.33 สารปอ้ งกันและปราบวัชพืช 0.00 สารป้องกนั และปราบศตั รพู ืช 0.00 0.00 0.00 นำ้ มันเช้อื เพลงิ และหลอ่ ล่นื 0.00 0.00 0.00 212.37 0.00 212.37 1.2 ค่าแรงงานคน 0.00 0.00 0.00 1.3 คา่ ซอ่ มแซมอุปกรณก์ ารเกษตร 0.00 0.00 0.00 1.4 คา่ ขนสง่ ผลผลิต 0.00 0.00 0.00 1.5 ดอกเบีย้ เงินกู้ 491.57 3,540.00 491.57 2. ตน้ ทุนคงที่ 0.00 0.00 3,540.00 คา่ เสอ่ื มเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์การเกษตร 344.11 0.00 344.11 ผลผลิตฉลี่ยตอ่ ไร่ (กก./ไร่) 68.87 0.00 68.87 ราคาต่อหน่วย (บาท/กก.) 497.33 112.58 497.33 รวมมลู คา่ ผลผลิต (บาท/ไร)่ 0.00 112.58 112.58 ผลตอบแทนเหนือต้นทนุ เงินสด (บาท/ไร)่ 0.00 112.58 ผลตอบแทนเหนอื ต้นทุนผันแปร (บาท/ไร)่ 275.46 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทงั้ หมด (บาท/ไร่) 18.37 5,060.20 ทม่ี า : จากการสำรวจ 2563 3,156.62 -465.99 -578.57 3) พื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับน้อย จะพบในที่ลุ่ม เกษตรกรมี การใช้ประโยชนท์ ีด่ ินเพ่อื ปลกู ข้าวและข้าวโพด (ตารางที่ 3-26) ภาวะการผลิตข้าวในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับน้อย เกษตรกร ปลูกข้าวพันธุ์สันป่าตอง และพันธุ์ กข.10 คิดเป็นร้อยละ 75.33 และ 45.67 ของเกษตรกรที่ผลิตข้าว แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

88 ทั้งหมด ตามลำดับ เปน็ พืน้ ที่ปลกู ข้าวในพื้นท่ีเกษตรเขตชลประทาน และเปน็ พ้นื ทปี่ ลูกข้าวในพ้ืนท่ีเกษตร อาศัยน้ำฝน คิดเป็น ร้อยละ 56.34 และ 43.66 มีช่วงเวลาปลูก อยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม และมีช่วงเวลาเก็บเกี่ยว อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ผลผลิตเฉลี่ย 745.66 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกรขายผลผลิตบางส่วนและเก็บไว้บริโภคเองบางส่วน คิดเป็นร้อยละ 65.45 และ 34.55 ของ ปริมาณผลผลิตข้าวทั้งหมด ตามลำดับ สถานที่รับซื้อผลผลิตข้าว จำแนกเป็น การรับซื้อ ณ จุดรับซื้อ ท้องถิ่น และการรับซื้อในหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 32.90 และ 12.55 ของปริมาณผลผลิตทั้งหมด ตามลำดับ ภาวะการผลิตข้าวโพดในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับน้อย เกษตรกรปลูกขา้ วโพดพันธ์ุ ไพโอเนยี ซีพี888 ดีคาลบ์ และพนั ธุล์ ูกผสมราคาถกู เชน่ มะมว่ งคู่ คิดเปน็ ร้อย ละ 75.24 65.78 46.78 18.97 ของเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดทั้งหมด เกษตรบางรายมีการเลือกใช้หลาย สายพันธุ์ควบคู่กันไป เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดในเขตเกษตรอาศัยน้ำฝน มีช่วงเวลาปลูก อยู่ระหว่างเดือน พฤษภาคม - กรกฎาคม มีช่วงเวลาเก็บเกี่ยว อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ผลผลิตเฉล่ีย 723.78 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกรขายผลผลิตทั้งหมด ตามสถานที่รับซื้อผลผลิตข้าวโพด จำแนกเป็น การ รบั ซอ้ื ณ จุดรับซื้อในทอ้ งถิน่ การรับซ้ือในหม่บู า้ น และการรบั ซือ้ ณ จุดรบั ซ้ือนอกท้องถ่ิน คิดเป็นร้อยละ 54.64 25.78 และ 19.58 ของปริมาณผลผลิตท้งั หมด ตามลำดับ ตารางที่ 3-26 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สูญเสยี ดนิ ในระดับน้อย รายการ ปีการผลิต 2562/63 ร้อยละ ชนิดพืชและพนั ธ์ุ 10.00 ข้าวนาพันธุ์(รอ้ ยละของเกษตรกร) 75.33 สนั ป่าตอง1 (รอ้ ยละของเกษตรกรทีผ่ ลิตขา้ วนา) กข.10 (ร้อยละของเกษตรกรทผี่ ลติ ข้าวนา) 45.67 ขา้ วโพดพันธ์ุ(รอ้ ยละของเกษตรกร) 14.00 ดีคาลบ์ (ร้อยละของเกษตรกรทผี่ ลิตข้าวโพด) 46.78 ซพี ี 888 (ร้อยละของเกษตรกรทผี่ ลิตขา้ วโพด) 65.78 ไพโอเนยี (ร้อยละของเกษตรกรทผี่ ลิตขา้ วโพด) 75.24 ลุกผสมราคาถูก เชน่ มะม่วงคู่ 18.97 แหล่งน้ำทใ่ี ชผ้ ลิตข้าวนา(ร้อยละของเกษตรกร) 56.34 อา่ งเกบ็ ห้วยนำ้ แหง แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

89 ตารางที่ 3-26 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สูญเสียดินในระดบั น้อย (ต่อ) รายการ ปกี ารผลิต 2562/63 รอ้ ยละ นำ้ ฝน 43.66 แหล่งนำ้ ท่ใี ช้ผลติ ขา้ วโพด(รอ้ ยละของเกษตรกร) 100.00 น้ำฝน ช่วงเวลาปลูก/เกบ็ เกี่ยวข้าวนา 64.55 15.67 เดือนปลูก(รอ้ ยละของเกษตรกร) 19.78 พ.ค. ม.ิ ย. 78.44 ก.ค. 21.56 เดอื นเกบ็ เก่ียว(ร้อยละของเกษตรกร) 45.78 พ.ย. 24.98 ธ.ค. 29.24 ช่วงเวลาปลกู /เก็บเกยี่ วขา้ วโพด 32.89 ปลูก เดือน/ปี(ร้อยละของเกษตรกร) 67.11 พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. เดอื นเก็บเกีย่ ว(ร้อยละของเกษตรกร) พ.ย. ธ.ค. ปรมิ าณผลผลติ 745.66 ข้าวนา(กก./ไร) 723.78 ขา้ วโพด(กก./ไร)่ * 34.55 การใช้ประโยชนผ์ ลผลติ ขา้ วนา(ร้อยละของปรมิ าณผลผลติ ) 65.45 บริโภค ขาย 100.00 การใชป้ ระโยชนผ์ ลผลติ ขา้ วโพด(รอ้ ยละของปริมาณผลผลิต) 32.55 ขาย 32.90 สถานทจ่ี ำหนา่ ยผลผลติ ข้าวนา ท่บี ้าน(ร้อยละของปรมิ าณผลผลิต) จดุ รบั ซือ้ ทอ้ งถน่ิ (รอ้ ยละของปรมิ าณผลผลิต) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

90 ตารางที่ 3-26 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สูญเสียดนิ ในระดบั นอ้ ย (ต่อ) รายการ ปีการผลิต 2562/63 ร้อยละ สถานทจ่ี ำหน่ายผลผลิตข้าวโพด ท่ีบา้ น(รอ้ ยละของปรมิ าณผลผลิต) 25.78 จุดรบั ซื้อทอ้ งถิ่น(ร้อยละของปรมิ าณผลผลติ ) 54.64 จุดรบั ซ้อื นอกทอ้ งถน่ิ (ร้อยละของปริมาณผลผลติ ) 19.58 ท่มี า : จากการสำรวจ 2563 จากการวเิ คราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวในพน้ื ท่ที ำการเกษตรทีม่ ีความรนุ แรงของการ สูญเสียดินในระดับน้อย (ตารางที่ 3-27) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตข้าวทั้งที่เป็นเงินสดและไม่เป็น เงินสด รวม 6,899.86 บาทต่อไร่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวมีรายได้เฉลี่ย 10,036.58 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณา ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในพื้นทีท่ ำการเกษตรทีม่ ีความรุนแรงของการ สูญเสยี ดินในระดับน้อยมีกำไรจากการปลูกข้าว 3,136.72 บาทตอ่ ไร่ ตารางที่ 3-27 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าว ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มี ความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับน้อย ข้าวโพดปีการผลติ 2562/63 รายการ ต้นทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร่) เป็นเงนิ สด ไม่เปน็ เงนิ สด รวม รวมตน้ ทุนการผลติ 4,955.83 1,944.03 6,899.86 1. ตน้ ทุนผันแปร 4,955.83 1,678.99 6,634.82 1.1 คา่ วัสดุการเกษตร 2,478.42 0.00 2,478.42 พนั ธุ์ 489.90 0.00 489.90 ปุ๋ยเคมี สตู ร 15-15-15 321.39 0.00 321.39 สูตร 16-20-0 756.40 0.00 756.40 สูตร 20-10-12 0.00 0.00 0.00 สตุ ร 8-3-8 0.00 0.00 0.00 สตู ร 46-0-0 469.20 0.00 469.20 ปยุ๋ คอก/ปยุ๋ หมัก มลู วัว 120.00 0.00 120.00 สารป้องกนั และปราบวัชพชื 175.66 0.00 175.66 สารป้องกนั และปราบศตั รพู ชื 56.88 0.00 56.88 นำ้ มนั เชื้อเพลงิ และหล่อลนื่ 88.99 0.00 88.99 1.2 ค่าแรงงานคน 1,965.30 1,678.99 3,644.29 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

91 ตารางที่ 3-27 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าว ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มี ความรนุ แรงของการสญู เสียดินในระดับน้อย (ตอ่ ) ข้าวโพดปกี ารผลติ 2562/63 รายการ ตน้ ทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร)่ เปน็ เงนิ สด ไม่เปน็ เงินสด รวม 1.3 คา่ ซ่อมแซมอปุ กรณก์ ารเกษตร 0.00 0.00 0.00 1.4 ดอกเบีย้ เงนิ กู้ 325.69 0.00 325.69 2. ต้นทนุ คงที่ 0.00 265.04 265.04 ค่าเส่ือมเครอ่ื งมือและอุปกรณก์ ารเกษตร 0.00 265.04 265.04 ผลผลิตเฉลีย่ ตอ่ ไร่ (กก./ไร่) 745.66 ราคาตอ่ หน่วย (บาท/กก.) 13.46 รวมมูลค่าผลผลติ (บาท/ไร่) 10,036.58 ผลตอบแทนเหนอื ตน้ ทุนเงนิ สด (บาท/ไร่) 5,080.75 ผลตอบแทนเหนือตน้ ทุนผันแปร (บาท/ไร)่ 3,401.76 ผลตอบแทนเหนอื ต้นทนุ ท้งั หมด (บาท/ไร่) 3,136.72 ที่มา : จากการสำรวจ 2563 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ ข้าวโพดในพ้ืนท่ีทำการเกษตรที่มีความรนุ แรงของการสูญเสียดินใน ระดับน้อย (ตารางที่ 3-28) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดทั้งที่เป็นเงินสดและไม่เป็นเงินสด รวม 4,864.95 บาทต่อไร่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดมีรายได้เฉลี่ย 5,681.67 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณา ผลตอบแทนเหนือต้นทนุ ทั้งหมด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดในพืน้ ที่ทำการเกษตรทีม่ ีความรนุ แรงของ การสญู เสียดินในระดับน้อยมีกำไรจากการปลกู ข้าวโพด 816.72 บาทตอ่ ไร่ ตารางที่ 3-28 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตขา้ วโพด ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรท่ี มคี วามรุนแรงของการสูญเสยี ดนิ ในระดบั นอ้ ย ขา้ วโพดปีการผลติ 2562/63 รายการ ต้นทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร)่ รวมต้นทนุ การผลิต เปน็ เงินสด ไมเ่ ปน็ เงินสด รวม 1. ตน้ ทุนผนั แปร 3,867.36 997.59 4,864.95 1.1 ค่าวสั ดุการเกษตร พนั ธ์ุ 3,867.36 732.55 4,599.91 ป๋ยุ เคมี สตู ร 15-15-15 2,129.84 0.00 2,129.84 สตู ร 16-20-0 สูตร 20-10-12 690.22 0.00 690.22 255.89 0.00 255.89 312.78 0.00 312.78 0.00 0.00 0.00 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

92 ตารางที่ 3-28 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตขา้ วโพด ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่ มีความรุนแรงของการสูญเสียดนิ ในระดบั น้อย (ตอ่ ) ข้าวโพดปกี ารผลติ 2562/63 รายการ ต้นทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร่) สุตร 8-3-8 เป็นเงินสด ไม่เปน็ เงนิ สด รวม สูตร 46-0-0 0.00 0.00 0.00 สารป้องกนั และปราบวชั พืช 0.00 210.98 0.00 210.98 สารป้องกนั และปราบศตั รูพชื 110.63 110.63 น้ำมันเชอื้ เพลงิ และหล่อลื่น 1.2 ค่าแรงงานคน 234.55 0.00 234.55 1.3 ค่าซอ่ มแซมอุปกรณ์การเกษตร 131.57 0.00 131.57 1.4 คา่ ขนส่งผลผลิต 1,230.88 732.55 1,963.43 1.5 ดอกเบยี้ เงินกู้ 0.00 2. ต้นทุนคงท่ี 0.00 0.00 0.00 180.95 0.00 180.95 ค่าเสื่อมเครือ่ งมอื และอุปกรณก์ ารเกษตร 325.69 265.04 325.69 ผลผลิตฉล่ียต่อไร่ (กก./ไร่) 265.04 ราคาตอ่ หนว่ ย (บาท/กก.) 0.00 รวมมลู คา่ ผลผลติ (บาท/ไร)่ 265.04 ผลตอบแทนเหนอื ตน้ ทุนเงนิ สด (บาท/ไร)่ 0.00 265.04 723.78 ผลตอบแทนเหนือตน้ ทุนผนั แปร (บาท/ไร่) ผลตอบแทนเหนอื ตน้ ทุนท้ังหมด (บาท/ไร)่ 7.85 ที่มา : จากการสำรวจ 2563 5,681.67 1,814.31 1,081.76 816.72 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

93 4 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

4 94 เขตการใช้ที่ดินเป็นผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพการใช้ ที่ดินรว่ มกบั ข้อกฎหมายที่เก่ียวข้องภายในพ้ืนทโี่ ครงการฯ โดยการวิเคราะห์อยภู่ ายใต้เง่ือนไขท่ีต้องรักษา สภาพป่าไม้และระบบนิเวศของพน้ื ที่ไว้ รว่ มกับการใช้พ้ืนทใี่ หเ้ หมาะสมกบั ศักยภาพของท่ีดินตามประเภท การใช้ที่ดิน ภายใต้ข้อจำกัดการใช้ที่ดินของภาครฐั และต้องสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจสังคมของชุมชน ในพืน้ ท่ีตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการมสี ่วนร่วมของชุมชนและภาครัฐในการพิจารณาจัดทำ แผนการใช้ที่ดินในพื้นที่โครงการฯ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์พื้นที่อย่างยั่งยืน และคงไว้ซึ่งสมดุลของ ระบบนเิ วศรวมทั้งก่อให้เกดิ ประโยชนใ์ นแงข่ องการฟ้ืนฟแู ละอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพน้ื ทโ่ี ครงการฯ ตอ่ ไป จากการวิเคราะห์ฐานข้อมูลเพื่อการพิจารณากำหนดเขตการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง สามารถกำหนดเขตการใช้ที่ดินทำกินในพื้นที่ ได้เป็น 5 เขตหลัก คือ 1) เขตพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย 2) เขตเกษตรกรรม 3) เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 4) เขตแหล่งน้ำ และ 5) เขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอก เขตปา่ ตามกฎหมาย (ตารางที่ 4-1 และภาพท่ี 4-1) โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ เขตพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายในพื้นที่โครงการฯ มีเนื้อที่ 60,010 ไร่ หรือร้อยละ 65.45 ของเนื้อท่ี ทั้งหมด พื้นที่ในเขตนี้เป็นบริเวณที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย รวมถึงบริเวณที่มีมติ คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่ดิน พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือ พน้ื ท่ีชน้ั คณุ ภาพลุ่มนำ้ ช้ันท่ี 1 และชน้ั ท่ี 2 และเม่ือพจิ ารณาตามวตั ถุประสงค์หลักของการประกาศเขตป่า ไม้ ความเหมาะสมของท่ดี ินต่อการทำเกษตรบนพื้นท่ีสูงในด้านความลาดชันของพ้ืนท่ีและความลึกของดิน สามารถกำหนดเขตการใชท้ ี่ดิน โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี เขตนี้มีเนื้อที่ 18,586 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 20.27 ของเนอ้ื ที่ท้งั หมด สภาพพ้ืนท่ีปจั จุบนั มีลักษณะเปน็ ป่าสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะการใช้พืน้ ทใ่ี นเขตคุ้มครองสภาพป่า จากการท่ีรฐั บาลมนี โยบายที่เด่นชดั ในการรกั ษาพืน้ ทปี่ ่าไม้ โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นปา่ สมบูรณ์ ใหค้ งสภาพอยู่ เพ่อื รกั ษาความสมดุลของระบบนิเวศภายในพน้ื ที่ลมุ่ น้ำ ดงั นัน้ ในการใช้พืน้ ที่ดังกลา่ วจึงควร ดำเนินการ ดังนี้ - ควบคุมมิให้มกี ารเปลยี่ นแปลงสภาพป่าตามธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบอ่ืน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

95 - ควรมีการบำรุงรกั ษาสภาพป่าธรรมชาติตามหลักวชิ าการ - ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทำลายป่าให้มีประสิทธิภาพและมีการ ปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเนอื่ ง รวมทง้ั ดำเนินการกับผ้กู ระทำผิดอย่างเดด็ ขาด - ถ้าบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ควรรีบดำเนินการ ปลูกปา่ ทดแทนโดยเร็ว และปอ้ งกันการบุกรกุ เพ่มิ - ควรส่งเสริมให้ราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ข้างเคียงเห็นคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ และมีส่วน ร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ เขตน้ีมเี น้อื ท่ี 1,255 ไร่ หรือร้อยละ 1.37 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ในเขตนี้ปัจจุบันมีสภาพเป็นพื้นที่ป่ารอสภาพฟื้นฟู และบาง บริเวณมีการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร ได้แก่ บริเวณที่มีการปลูกพืชไร่ ไร่หมุนเวียน ในสภาพพื้นที่มี ความลาดชันมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่มีการใช้พื้นที่เพื่อปลูกพืชไร่ ป่ารอสภาพฟื้นฟู และไร่ หมนุ เวยี น ข้อเสนอแนะการใชพ้ นื้ ที่ในเขตฟื้นฟูสภาพปา่ ธรรมชาติ - กำหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตน้ี เพื่อนำ กลับมาใชด้ ้านการเกษตรรวมท้ังปอ้ งกนั มใิ ห้มีการเปิดพ้นื ทีป่ า่ เพ่ือทำการเกษตรเพิม่ - ควรจดั ทำแนวกันไฟเพ่ือป้องกันไฟป่าท่ีอาจเกดิ ขึ้นไดจ้ ากธรรมชาตหิ รือจากกิจกรรมของ มนุษย์ เพ่ือให้ป่าไมม้ กี ารฟ้ืนตวั ตามธรรมชาติทสี่ มบูรณ์ เขตนี้มีเนื้อที่ 40,169 ไร่ หรือ รอ้ ยละ 43.81 ของเนอื้ ทท่ี ั้งหมด พน้ื ทีใ่ นเขตนี้ปจั จุบันเป็นบริเวณที่มีการใช้ที่ดนิ เพื่อการปลูกข้าวโพด พืช ไร่ผสม และยางพารา - เขตพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลาย ปานกลาง (หน่วยแผนที่ 132) มีเนื้อที่ 36,663 ไร่ หรือร้อยละ 39.98 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้ ปัจจุบันมีการใช้ที่ดิน เพื่อการปลูกพืชไร่ และยางพารา ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-35 เปอร์เซ็นต์ และเปน็ บรเิ วณซง่ึ มีความเสย่ี งต่อการชะลา้ งพงั ทลายในระดับปานกลางถงึ รนุ แรง - เขตพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายต่ำ (หน่วย แผนที่ 133) มีเนื้อที่ 2,883 ไร่ หรือร้อยละ 3.15 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้ปัจจุบันมีการใช้ที่ดินเพอื่ การปลูกข้าวโพด ในสภาพพื้นที่มีความลาดชันต่ำกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ และเป็นบริเวณซึ่งมีความเสี่ยงต่อ การชะล้างพงั ทลายในระดับน้อยถงึ ปานกลาง - เขตพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรควรมีการปรับรูปแปลงนา (หน่วยแผนที่ 134) มีเนื้อที่ 623 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.68 ของเน้ือทท่ี งั้ หมด พืน้ ที่เขตน้ีปัจจุบันมกี ารใช้ท่ดี ินเพ่ือการทำนา ในสภาพพื้นที่มี ความลาดชันต่ำกวา่ 35 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขอ้ เสนอแนะการใชพ้ ้นื ทีใ่ นเขตฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เง่อื นไข แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

96 - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่อง มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีดินป่าไม้ โดยมุ่งเน้นแกไ้ ขปัญหาในพื้นที่ป่าอนรุ ักษ์ตามกฎหมาย เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี กำหนดให้กรมป่าไม้สำรวจพื้นที่ที่มีการ ครอบครองใหช้ ดั เจน - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2540 เรื่อง แผนการจัดการทรพั ยากรทีด่ ินและป่าไมร้ ะดับพนื้ ที่ เพือ่ ใหเ้ กิดการบรหิ ารจัดการทรัพยากรทีด่ นิ และป่าไม้ อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรป่าไม้ท่ี เหลืออยู่รวมถึงฟื้นฟูป่าที่เสื่อมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้ ทรพั ยากรในพื้นที่ - ควรเพิ่มมาตรการในการอนุรักษ์ที่เข้มงวด จริงจังและต่อเนื่อง เพื่อคงสภาพป่าไม้ให้มีความ สมบูรณ์ โดยการพัฒนาดา้ นต่าง ๆ ต้องคำนึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศและผลกระทบต่อพ้ืนที่ลุ่มน้ำ ด้านล่าง โดยเฉพาะแนวทางจดั การให้พนื้ ทปี่ า่ ไม้เปน็ ตวั ควบคุมปริมาณนำ้ ในลุ่มน้ำในเวลาท่เี หมาะสม เช่น การสร้างฝายชะลอนำ้ ในบรเิ วณทีเ่ หมาะสม - ควรเร่งปลูกป่าทดแทนและฟื้นฟูสภาพป่าเพื่อรักษาระบบนิเวศลุ่มน้ำบริเวณพื้นที่ที่มีความ ลาดชันสูง และพนื้ ท่ีเสย่ี งต่อการชะล้างพังทลาย โดยเพม่ิ มาตรการอนุรกั ษด์ ินและน้ำท่เี หมาะสม เช่น การ ปลกู หญ้าแฝกและสร้างฝายชะลอน้ำ เปน็ ต้น - ควรสง่ เสริมและรณรงค์ใหร้ าษฎรในพ้นื ที่เหน็ ถึงคณุ คา่ ของทรัพยากรปา่ ไม้และมีสว่ นร่วมใน การดูแลและบำรงุ รกั ษาผนื ป่าในพื้นทีร่ ่วมกัน มเี นอื้ ท่ีประมาณ 24,631 ไร่ หรือร้อยละ 26.86 ของเน้อื ทที่ ัง้ หมด พน้ื ทีใ่ นเขตนี้อยนู่ อกเขตท่ีมีการ ประกาศเปน็ เขตป่าไมต้ ามกฎหมาย ซง่ึ เป็นพ้ืนที่ทำกนิ มีการออกเอกสารสทิ ธ์ิ (โฉนด สปก. คทช.) และจาก การพิจารณาสามารถแบ่งพนื้ ที่ตามความเหมาะสมของทีด่ ินและศักยภาพของพ้ืนท่ีได้เปน็ 4 เขตย่อย ดังนี้ มีเนื้อที่ประมาณ 1,680 ไร่ หรือร้อยละ 1.83 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้มีการใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกพืชไร่ ข้าวโพด ไร่หมุนเวียน หรือบริเวณที่มีการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น ในสภาพ พื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตฟื้นฟูสภาพพื้นท่ีเกษตรกรรม เพอื่ การรกั ษาระบบนิเวศตน้ นำ้ ดังนี้ - ภาครัฐควรกำหนดเป้าหมายในการควบคมุ การใชพ้ ื้นที่ในเขตดังกล่าวรวมถึงรณรงค์ใหม้ ี การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกป่าหรือระบบวนเกษตร และส่งเสริมมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่ เหมาะสมกบั สภาพพืน้ ที่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

97 - ส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยและสารปราบศัตรูพืชที่เป็นชีวภาพทดแทนการใช้สารเคมี เนือ่ งจากสารเคมจี ะตกค้างในดินและแหลง่ นำ้ และจะส่งผลต่อระบบนิเวศของพ้นื ทปี่ ลายนำ้ มีเนื้อที่ประมาณ 1,089 ไร่ หรือร้อยละ 1.19 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้มีการใช้ท่ีดิน เพื่อการปลูกข้าวโพด ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์ หรือบริเวณที่มีการปลูกยางพารา และสกั ในสภาพพ้นื ทมี่ ีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์ มีข้อเสนอแนะในการใชพ้ ้ืนท่ีเขตพนื้ ทีเ่ กษตรกรรม ท่ตี ้องเรง่ รัดดำเนินการจัดทำระบบอนุรักษด์ ินและน้ำ ดงั น้ี - ในบริเวณพื้นที่มีความลาดชันสูง และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย ควรจัดทำระบบ อนุรกั ษด์ ินและนำ้ เชน่ การปลูกไมย้ ืนต้นรว่ มกบั หญา้ แฝกขวางความลาดเทบนแนวคนั ดิน ทำอาคารชะลอ ความเร็วน้ำร่วมกับการใช้หญ้าแฝก ฝายชะลอน้ำ คันดินเบนน้ำ คูรับน้ำรอบขอบเขา เพื่อป้องกันการชะ ล้างพังทลายของดิน และช่วยเก็บความชื้นไว้ในดิน รวมทั้งมีการจัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับ สภาพพื้นท่ี และบำรงุ ดนิ ดว้ ยปยุ๋ หมกั หรอื ปุ๋ยคอก เพื่อเพ่ิมอินทรียวตั ถใุ หด้ นิ - ในกรณีที่เป็นดินดีหรือดินลึก ควรทำเป็นคันดินสำหรับปลูกพืชล้มลุกที่มีมูลค่าทาง เศรษฐกิจสูง หรอื ถา้ มีการปลกู ไม้ยืนตน้ ควรปลูกพืชคลุมดินรว่ มด้วย - ในกรณีที่เป็นดินตื้นไม่ควรปลูกพืชไร่หรือพืชล้มลุก ควรปลูกไม้ยืนต้นขวางความลาดเท ของพื้นที่ และปลูกพืชคลุมดินระหว่างต้นพืช และควรทำคันคูรอบเขาเพื่อระบายน้ำ ในกรณีที่ปลูกไม้ยืน ต้นและต้องการปลูกพืชแซมระหว่างแถวก่อนไม้ยืนต้นโตนั้นไม่ควรมีการไถพรวน เนื่องจากพื้นที่มีความ ลาดชันสงู ทำใหเ้ กดิ การสญู เสียหนา้ ดนิ ได้ง่าย มีเนอื้ ทป่ี ระมาณ 14,238 ไร่ หรือร้อยละ 15.53 ของเนอ้ื ที่ทง้ั หมด พน้ื ท่ีเขตน้มี ีการใช้ที่ดิน เพื่อการปลูกข้าวโพด ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ หรือบริเวณที่มีการปลูกยางพารา และสัก ในสภาพพ้ืนท่ีมคี วามลาดชัน 12-35 เปอรเ์ ซน็ ต์ มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่ควรส่งเสริมมาตรการในการอนุรักษ์ ดินและน้ำ โดยในบรเิ วณพน้ื ทีท่ ่มี ีความลาดชนั สูง และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายควรจดั ทำระบบอนุรักษ์ ดินและน้ำ โดยใช้ระบบพืชในการอนุรักษ์ดินและน้ำ เช่น การปลูกแถบหญ้าแฝก ปลูกพืชสลับเป็นแถบ หรือปลูกพืชคลุมดิน เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และช่วยเก็บความช้ืนไว้ในดิน รวมทั้งมีการ จัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และบำรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก เพื่อเพิ่ม อินทรยี วัตถุให้ดิน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

98 มีเนื้อที่ประมาณ 4,757 ไร่ หรือร้อยละ 5.19 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้มีการใช้ที่ดิน เพื่อการปลูกพืชไร่ ไรห่ มนุ เวยี น ไมผ้ ล และไมย้ ืนต้น ในสภาพพืน้ ที่มีความลาดชันน้อยกวา่ 12 เปอร์เซ็นต์ มีขอ้ เสนอแนะในการใช้พน้ื ที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอรเ์ ซ็นต์ ดังนี้ - ควรทำคันดินเบนน้ำเพ่ือป้องกันน้ำที่จะไหลบ่าเข้ามาจากพื้นที่ด้านนอก ซึ่งอาจจะทำ ความเสียหายให้แก่พืชในพื้นที่ได้ และยังช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และอาจต้องทำทางระบายน้ำ ออกจากพนื้ ทีแ่ ต่ถา้ มีทางนำ้ ธรรมชาติอยู่แล้วควรรักษาให้อยู่ในสภาพดี - ควรจัดระบบปลูกพืชให้เหมาะสมโดยการไถพรวน และปลูกพืชขวางความลาดเท และควร จัดใหม้ พี ชื ขึ้นปกคลุมหน้าดินตลอดทั้งปี สนับสนุนการปลูกไมโ้ ตเร็วควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ำ เน้นการ ทำการเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลายชนิดทั้งไม้ผล ไม้ ยนื ต้น พืชไร่ และพืชผกั - พัฒนากระบวนการผลิตไม้ผล ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสารพิษ เพิ่มศักยภาพการผลิตโดย ปรับปรุงโครงสร้างของดินดว้ ยการปลูกพืชตระกลู ถ่วั ในพื้นท่ี เพ่ือเพ่มิ อินทรียวตั ถแุ ก่ดิน สง่ เสริมการใช้ปุ๋ย อนิ ทรีย์ และผลติ ภณั ฑเ์ ทคโนโลยชี วี ภาพทดแทนการใช้ป๋ยุ เคมแี ละสารเคมี มีเนื้อที่ประมาณ 2,867 ไร่ หรือร้อยละ 3.12 ของเนื้อที่ทั้งหมด ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการใช้ ท่ีดนิ เพ่อื การทำนา ดินที่พบในบริเวณนี่เป็นดนิ ลึก มกี ารระบายน้ำดถี ึงดีปานกลาง และมกี ารทำคนั นา ดิน มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ตามธรรมชาตติ ่ำ สว่ นใหญแ่ หลง่ นำ้ ในเขตนี้พอเพียงสำหรับการเพาะปลูกในช่วงฤดูฝน เท่านั้น แต่ถ้าบริเวณใดมีปริมาณน้ำพอเพียงก็สามารถปลูกพืชครั้งที่สองได้ มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นท่ี เขตพืน้ ท่เี กษตรกรรมท่ีมกี ารทำนา ดังนี้ - ควรมีการปรับพื้นที่ในแปลงนา เพื่อรักษาระดับการขังของน้ำให้เหมาะสมในระยะที่ข้าว เจรญิ เตบิ โต - ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวตั ถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด เพ่ือช่วย ปรับปรุงโครงสร้างของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์สำหรับพืช ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีในอัตราส่วนที่ เหมาะสม มีเน้อื ท่รี วมประมาณ 2,048 ไร่ หรือรอ้ ยละ 2.23 ของเน้ือที่ทัง้ หมด ประกอบด้วย 1) ตัวเมืองและย่านการคา้ มีเน้อื ท่ีประมาณ 210 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.23 ของเนอ้ื ท่ที ั้งหมด 2) ชุมชน มเี นือ้ ท่ีประมาณ 1,789 ไร่ หรือรอ้ ยละ 1.95 ของเน้ือทท่ี ัง้ หมด 3) สถานทร่ี าชการและสถาบนั ต่างๆ มเี น้อื ทป่ี ระมาณ 31 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 0.03 ของเนื้อทท่ี ้งั หมด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

99 4) ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่ ท้ังหมด 5)สถานท่ีพกั ผ่อนหยอ่ นใจ มเี นอ้ื ทปี่ ระมาณ 5 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 0.01. ของเน้ือทที่ ้ังหมด 6) สุสาน ป่าชา้ มเี นอื้ ที่ประมาณ 3 ไร่ มเี นอื้ ท่รี วมประมาณ 831 ไร่ หรือร้อยละ 0.91 ของเน้อื ที่ท้งั หมด ไดแ้ ก่ แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ มีเนื้อ ที่ประมาณ 30 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่ทั้งหมด และแหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น มีเนื้อที่ประมาณ 801 ไร่ หรือร้อยละ 0.88 ของเน้ือที่ทง้ั หมด มีเนื้อที่ประมาณ 3,356 ไร่ หรือร้อยละ 3.66 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพเป็นป่า ค่อนข้างสมบรู ณ์แต่อยนู่ อกเขตป่าสงวนแห่งชาติ สภาพพ้ืนทโี่ ดยท่วั ไปมีความลาดชนั ค่อนข้างมาก รวมถึง พ้นื ที่ดนิ ต้นื มกี รวดหนิ ปะปนมาก พน้ื ทใี่ นเขตนี้กระจายตวั อยู่เป็นหยอ่ ม ๆ ตอ่ จากเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ซ่ึง ควรรกั ษาพ้นื ท่ีไวใ้ ชป้ ระโยชนร์ ่วมกันหรอื จัดทำเป็นปา่ ชมุ ชน ข้อเสนอแนะในการใช้พ้นื ทีเ่ ขตพื้นทค่ี งสภาพป่าไมน้ อกเขตปา่ ตามกฎหมาย - ควรมกี ารใชป้ ระโยชน์พืน้ ที่โดยปลกู ไม้โตเร็ว และยึดหลกั การใช้ที่ดนิ แบบผสมผสานระหว่างป่าไม้ กับการเกษตร - ควรป้องกันและรักษาสภาพป่าไม้ให้คงความสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพ โดยให้ ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การ เพือ่ ใหม้ กี ารใช้ประโยชน์จากไม้และของปา่ ร่วมกันอย่างพอเพยี งและย่งั ยืน เนื้อที่ประมาณ 820 ไร่ หรือร้อยละ 0.89 ของเนื้อที่ทั้งหมด โดยปัจจุบันมีสภาพเป็น ทุ่งหญ้า ธรรมชาติ บ่อดนิ ที่ทงิ้ ขยะ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

100 ตารางที่ 4-1 แผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัด นา่ น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

101 ภาพที่ 4-1 แผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนรุ ักษด์ ินและน้ำ ในพ้ืนทล่ี ่มุ น้ำหว้ ยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จังหวดั น่าน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

102 ตารางที่ 4-2 สรุปแนวทางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตการใช้ เนือ้ ท่ี สภาพพน้ื ท่ี สภาพปญั หา มาตรการ โครงการ/กจิ กรรม หน่วย ที่ดิน ไร่ รอ้ ยละ พ้ืนทท่ี มี่ กี าร งานรับผดิ ชอบ 57,645 62.88 ประกาศเปน็ เขต ทรัพยากรปา่ ไม้ กำหนดไว้เพื่อเป็นแหล่ง 1 เขตพ้นื ทป่ี า่ 18,595 20.28 ป่าไมต้ ามกฎหมาย เส่อื มโทรม ต้นน้ำลำธารควบคุมไม่ให้ กำหนดเขตพื้นที่โดย ทส ไม้ตาม 39,050 42.60 ปา่ ไม้สมบรู ณ์ บุกรกุ พนื้ ทป่ี า่ ดิน มีการเปลี่ยนแปลงไปใช้ หนว่ ยงานและชมุ ชน ,ชมุ ชน กฎหมาย 4,159 4.53 และสภาพพื้นทไ่ี ม่ ประโยชนใ์ นรปู แบบอ่ืน ๆ ป่าเสือ่ มโทรม หรือ เหมาะสมตอ่ ป ล ่ อ ย ใ ห ้ ฟ ื ้ น ก ล ั บ ค ื น สู่ สร้างจติ สำนึกให้เหน็ ทส 1.1 เขต 49 0.05 ไม้ละเมาะ การเกษตร สภาพป่าธรรมชาติ/เร่ง คุณค่าปา่ และ ,ชมุ ชน คุ้มครองสภาพ ปลูกป่าทดแทนให้เป็น ดำเนนิ การฟ้นื ฟสู าภพ ป่า 3,523 3.84 เขตปา่ ตาม เกษตรกรส่วนใหญ่ แหลง่ ตน้ นำ้ ลำธาร ปา่ ทส กฎหมาย พ้นื ทรี่ อ ป ล ู ก พ ื ช ไ ร ่ พื ช จัดการภายใต้เงื่อนไขต่าง ป้องกนั และควบคมุ ,ชุมชน 1.2 เขต 587 0.64 การพสิ จู น์สทิ ธิ / มี เชงิ เด่ียว บนพน้ื ที่ ๆ ของหน่วยงานเจ้าของ ไมใ่ หม้ กี ารบกุ รกุ พื้นท่ี ฟ้ืนฟูสภาพปา่ การใชพ้ น้ื ทที่ ำ บริเวณที่มีความลาด พ้นื ที่ เพ่มิ ในพ้นื ทีป่ า่ 24,630 26.85 การเกษตร ชันสูง จะเกิดการชะ อนรุ กั ษ์ ลา้ งพงั ทลาย พื้นที่อยู่นอกเขตที่ ของดินค่อนข้าง 1.3 เขต มีการประกาศเป็น รุนแรง ฟน้ื ฟู เ ข ต ป่ า ไ ม ้ ต า ม ทรพั ยากรธรร กฎหมายมีการใช้ มชาติ ภายใต้ พื้นที่เพื่อทำ เงื่อนไข การเกษตร - เขตพน้ื ทที่ ี่มี การใชท้ ่ดี นิ เพื่อการเกษตร ท่มี ีแนวโนม้ ของการชะล้าง พังทลายปาน กลาง - เขตพน้ื ทที่ ่มี ี การใชท้ ่ดี ิน เพื่อการเกษตร ที่มีแนวโนม้ ของการชะล้าง พังทลายต่ำ - เขตพนื้ ทที่ ีม่ ี การใชท้ ่ดี นิ เพ่ือการเกษตร ควรมกี ารปรับ รูปแปลงนา 2 เขต เกษตรกรรม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

103 ตารางท่ี 4-2 สรปุ แนวทางแผนการใช้ทดี่ ินเพ่ือการอนุรักษด์ ินและนำ้ ในพน้ื ทล่ี มุ่ น้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน (ต่อ) เขตการใช้ เน้ือที่ สภาพพน้ื ท่ี สภาพปญั หา มาตรการ โครงการ/กจิ กรรม หน่วยงาน ท่ดี นิ รบั ผิดชอบ ไร่ รอ้ ยละ 2.1 เขตฟ้นื ฟู พด, สภาพพน้ื ที 12,465 13.59 พืชไร่ บรเิ วณ เกิดการชะลา้ ง สง่ เสริมการใช้พ้ืนที่ด้วย สรา้ งจิตสำนกึ ให้เหน็ ชุมชน เกษตรกรรม อบต. เพื่อการรกั ษา slope 35-50% พังทลายของดนิ ใน ระบบวนเกษตร ปลูกป่า คุณคา่ ปา่ ตน้ นำ้ ระบบนิเวศต้น พด. น้ำ หรือไม้ยนื ตน้ ระดับรนุ แรงมาก 3 อย่าง ประโยชน์ 4 ,ชมุ ชน อบต. 2.3 เขตพื้นท่ี บรเิ วณ slope 50- ท่ีสดุ ดนิ มคี วามอุดม อย่าง ,สปก. เกษตรกรรมท่ี ,กษ., ควรส่งเสรมิ 75% สมบรู ณ์ต่ำ ในพ้ืนที่ กส,ปศ., มาตรการในการ สวพ. อนรุ กั ษ์ดนิ และ ดอนจะเป็นดนิ กรด- น้ำอยา่ งเขม้ ขน้ พด. ดินต้นื ,ชมุ ชน 2.4 เขตพน้ื ท่ี อบต. เกษตรกรรมทมี่ ี 423 0.46 พืน้ ท่ใี ชท้ ำ เกดิ การชะลา้ ง คันดนิ แบบ 5 แบบ 6 สร้างระบบอนุรกั ษ์ดนิ ,สปก. ความลาดชนั ,กษ. น้อยกว่า 12 การเกษตรบรเิ วณ พังทลายของดนิ ใน พรอ้ มไมผ้ ล ไม้ยนื ต้น และน้ำ การสง่ เสริม ,กสก., เปอรเ์ ซน็ ต์ ควร ปศ. แนะนำการ slope 12-35% ระดับรนุ แรงถึง และแนวแฝกคเู บนนำ้ การทำเกษตรทฤษฎี ,สวพ. จดั ระบบปลูก พชื รุนแรงมาก ดนิ มี ขอบเขา บอ่ ดกั ทาง ใหม่ การรวมกลมุ่ การ พด. ,ชุมชน 2.5 เขตพนื้ ที่ ความอดุ มสมบูรณ์ ลำเลยี งในไรน่ า และ ทำการเกษตรแบบ อบต. เกษตรกรรมที่ ,กษ., ควรมกี ารปรับ ต่ำ ในพืน้ ทด่ี อนจะ ฝาย/อา่ ง/แทงค์น้ำพร้อม แปลงใหญ่ การลดการ กสก., รปู แปลงนา ปศ. เปน็ ดนิ กรด-ดินต้นื ระบบกระจายน้ำ การ ใช้สารเคมี ,สวพ., กข,ชป. พฒั นาอาชพี เกษตรแบบ ยัง่ ยนื 8,889 9.69 พื้นทใี่ ชท้ ำ เกดิ การชะล้าง คนั ดิน พรอ้ มไม้ผล ไมย้ ืน สรา้ งระบบอนรุ กั ษด์ นิ การเกษตรที่ พังทลายของดนิ ใน ตน้ บ่อดกั ตะกอน และน้ำ สง่ เสริม slope <12% ระดบั ปานกลางถงึ ส่งเสริมการปรับปรุง เทคโนโลยี พด. การ รุนแรง ดนิ มีความ บำรงุ ดนิ ด้วยเทคโนโลยี ส่งเสริมการทำเกษตร อุดมสมบรู ณต์ ่ำ พด. พืชปุ๋ยสด บ่อนำ้ ใน ทฤษฎใี หม่ การ พืน้ ท่ีเปน็ ดนิ กรด ดนิ ไรน่ าขดุ ลอกคลอง ระบบ รวมกล่มุ การทำ มีศกั ยภาพทาง กระจายน้ำ การพฒั นา การเกษตรแบบแปลง การเกษตรปานกลาง อาชพี เกษตรแบบย่ังยนื ใหญ่ การลดการใช้ ถึงสงู สารเคมี 2,853 3.11 พื้นทท่ี ีม่ กี ารใช้ เกดิ การชะล้าง ปรบั รูปแปลงนา ส่งเสรมิ สรา้ งระบบอนุรกั ษ์ดนิ ประโยชนเ์ พอ่ื การ พงั ทลายของดนิ ใน การปรบั ปรงุ บำรงุ ดนิ และน้ำ สง่ เสริม ทำนา ระดับนอ้ ยถงึ ปาน ด้วยเทคโนโลยี พด. พชื เทคโนโลยี พด. ลด กลาง ดนิ มีความ ปุ๋ยสด ลดการเผาตอซงั การเผาตอซัง การ อดุ มสมบรู ณ์ต่ำ บอ่ นำ้ ในไรน่ า ขุดลอก ส่งเสรมิ การทำเกษตร คลองระบบกระจายน้ำ ทฤษฎีใหม่ การ การพัฒนาอาชพี เกษตร รวมกลุ่มการทำ แบบยั่งยนื การเกษตรแบบแปลง ใหญ่ การลดการใช้ สารเคมี การบริหาร จดั การเพอื่ ปลูกพชื หลังนา แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

104 ตารางท่ี 4-2 สรปุ แนวทางแผนการใชท้ ดี่ นิ เพื่อการอนุรักษด์ นิ และนำ้ ในพน้ื ท่ีลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวดั น่าน (ต่อ) เขตการใช้ เน้อื ที่ สภาพพน้ื ท่ี สภาพปัญหา มาตรการ โครงการ/กิจกรรม หน่วยงาน ทีด่ นิ รบั ผดิ ชอบ ไร่ ร้อยละ ชุมชนควรมมี าตรการใน 5 เขตพืน้ ที่ 2,354 2.57 สภาพเปน็ ปา่ การป้องกนั รกั ษา ชุมชน คงสภาพปา่ ไม้ สภาพป่าไว้ เพื่อให้เกดิ อบต. นอกเขตปา่ สมบรู ณ์ ความหลากหลายทาง ตามกฎหมาย ชวี ภาพและการใช้ ประโยชนร์ ว่ มกันของ พนื้ ที่ 5.1 พืน้ ท่ปี ่า 1,986 2.17 สมบูรณ์ 368 0.40 5.2 พ้ืนท่ลี ุม่ 29 0.03 6 เขตพืน้ ท่ี อืน่ ๆ 29 0.03 91,696 100.00 6.1 บอ่ ดนิ รวม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

105 5 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

106 5 การดำเนินการจัดทำแผนบรหิ ารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ ปี 2563 ในพ้ืนท่ีล่มุ นำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่านมี แผนการดำเนินการ ดังนี้ (ตารางท่ี 5-1) ตารางท่ี 5-1 แผนการดำเนินงาน กจิ กรรม เม.ย. เดอื น ก.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 25 1. การประชมุ และประสานงานคณะทำงาน 2. ขอบเขตพน้ื ที่เปา้ หมาย จำนวน 10 แหง่ 25 พ.ค. – 12 3. การสำรวจและจดั ทำขอ้ มูลพ้ืนฐาน ม.ิ ย. 4. การวเิ คราะห์ปญั หาและยกร่างแผนการใชท้ ่ดี ิน 18 เพ่อื ปอ้ งกนั การชะลา้ งฯ 16-26 5. การประชุมชีแ้ จงแผนฯ ครัง้ ที่ 1 : (ร่าง) 15 แผนการใช้ท่ดี ินเพ่อื การอนรุ ักษ์ดนิ และนำ้ (รายงานเบอ้ื งต้น) 16-31 6. การปรับปรงุ และแก้ไขแผนฯ 7. การประชุมช้แี จงแผนฯ ครัง้ ที่ 2 : แผนการใช้ 30 ท่ดี นิ เพอื่ การอนรุ ักษ์ดินและนำ้ และพ้ืนท่ี 3 ดำเนินการ 8. การวิเคราะหข์ ้อมูลและสรปุ แผนการใชท้ ่ีดิน พร้อมกำหนดมาตรการดา้ นการอนุรักษ์ดินและน้ำ และกลไกการขบั เคลือ่ น 9. การจดั ทำ และส่งรายงานแผนบริหารจดั การฯ 9.1 รายงานเบอ้ื งต้น 9.2 ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ : แผนบริหาร จดั การ 9.3 รายงานฉบบั สมบูรณ์ : แผนบริหารจดั การ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

107 การดำเนินการจัดทำแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นที่ เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ปี 2563 ในพื้นที่ลุ่มนำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ภายใต้ แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ น : การปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟนื้ ฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ ดินและน้ำ ระยะ 20 ปี ของกรมพัฒนาท่ีดิน สรปุ ผลการดำเนินงานต้ังแต่เดือนมกราคม – มิถุนายน 2563 ดังน้ี 1) ประสานงานขอ้ มลู ขอบเขตพ้นื ที่เปา้ หมายและขอ้ มลู พืน้ ฐานจากกรมพัฒนาทด่ี ิน 2) ประชุมคณะทำงานขบั เคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ครั้งที่ 1/2563 เพ่อื หารอื แนวทางในการดำเนินการจัดทำแผนบริหารจัดการ โครงการปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้ำ ลุ่มน้ำ หว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน ในวนั จันทร์ท่ี 25 พฤษภาคม 2563 3) สำรวจและจดั ทำข้อมูลพื้นฐาน วิเคราะห์พื้นท่แี ละชมุ ชนเบื้องตน้ ในวันอังคารท่ี 2 มิถุนายน 2563 4) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ เพื่อเตรียมความพร้อมและจัดเตรียมข้อมูลประกอบการจัดประชุมประชา พิจารณ์แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้ วย ระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ ลมุ่ นำ้ ห้วยน้ำแหง ปี 2563 ในวนั องั คารที่ 9 มิถนุ ายน 2563 5) ประชมุ คณะทำงานขบั เคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้นื ที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ เพื่อซักซ้อมความเข้าใจและขั้นตอนการดำเนินการจัดประชุมประชาพิจารณ์ แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรกั ษด์ นิ และนำ้ ลุม่ น้ำหว้ ยนำ้ แหง ปี 2563 คร้งั ที่ 1 ในวนั อังคารท่ี 16 มิถุนายน 2563 6) จัดประชุมประชาพิจารณ์แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟน้ื ฟพู ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและนำ้ ลมุ่ น้ำห้วยนำ้ แหง ปี 2563 คร้ังที่ 1 ในวันพฤหัสบดีท่ี 18 มิถุนายน 2563 เพื่อรับฟังความคิดเห็น โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเห็น คือ ความรู้ความเข้าใจ ของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน สภาพปัญหาของพื้นที่ แนวทางการแก้ไขปัญหา (ภูมิปัญญา และตามหลักวิชาการ) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของพื้นที่ร่วมกับชุมชน และการกำหนดเป้าหมายในการ ดำเนินงานรว่ มกนั 7) วิเคราะหป์ ัญหาและยกรา่ งแผนการใชท้ ด่ี นิ เพ่ือป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่ เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ ลุ่มน้ำหว้ ยน้ำแหง 8) ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพนื้ ที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษด์ ินและน้ำ เพื่อซักซ้อมความเข้าใจและข้ันตอนการดำเนินการจัดประชมุ ประชาพิจารณ์ แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ื นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ ลมุ่ น้ำหว้ ยนำ้ แหง ปี 2563 ครง้ั ท่ี 2 ในวนั อังคารที่ 14 กรกฎาคม 2563 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

108 9) จัดประชุมประชาพิจารณ์แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ปี 2563 คร้ังที่ 2 ในวันพุธที่ 15 กรกฎาคม 2563 1) กรอบวิธีการดำเนินงาน ภาพท่ี 5-1 กรอบวิธีการดำเนนิ งานกระบวนการมีสว่ นร่วม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

109 2) กลมุ่ เป้าหมายและพนื้ ท่ดี ำเนินการ การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายบริเวณลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน จำนวน 6 ตำบล 49 หมู่บ้าน โดยเลือกตัวแทนชุมชนจากผู้นำชุมชน หมอดินอาสาประจำตำบล และเกษตรกรผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง รวมกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมการประชุม จำนวน 60 คน ซึ่ง เปน็ ตัวแทนของพนื้ ทดี่ ำเนนิ การ ดงั น้ี 2.1) ตำบลน้ำตก จำนวน 40 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำตก กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หมอดินอาสา เกษตรกรผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้ง 7 หมู่บ้าน คือ บ้านพืชเจริญ บ้านน้ำพุ บ้านน้ำสระ บา้ นวงั กอก บา้ นเปา บา้ นไทยงาม บา้ นพชื มงคล 2.2) ตำบลนาน้อย จำนวน 8 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลนาน้อย กำนัน หมอดนิ อาสาประจำตำบล และเกษตรกรผู้มีส่วนได้สว่ นเสียในพื้นที่ล่มุ น้ำหว้ ยนำ้ แหง 2.3) ตำบลบัวใหญ่ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลบัวใหญ่ กำนนั หมอดนิ อาสาประจำตำบล 2.4) ตำบลศรีษะเกษ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลศีษะเกษ กำนนั หมอดินอาสาประจำตำบล 2.5) ตำบลเชียงของ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลเชียงของ กำนัน หมอดินอาสาประจำตำบล 2.6) ตำบลสันทะ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลสันทะ กำนัน หมอดินอาสาประจำตำบล 3) กำหนดการประชมุ รบั ฟงั ความคิดเห็น การประชุมประชาพิจารณ์แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ปี 2563 ครั้งที่ 1 เพื่อรับฟังความ คิดเห็น โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเหน็ คือ ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลาย ของดิน สภาพปัญหาของพื้นที่ แนวทางการแก้ไขปัญหา (ภูมิปัญญาและตามหลักวิชาการ) วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมของพื้นทรี่ ่วมกับชุมชน และการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานรว่ มกัน ในวันพฤหัสบดี ที่ 18 มิถุนายน 2563 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จงั หวัด น่าน มกี ำหนดการประชมุ ดังนี้ (ตารางท่ี 5-2) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

110 ตารางที่ 5-2 กำหนดการประชมุ รบั ฟังความคดิ เห็น เวลา กิจกรรม 8.30 น. – 9.00 น. - ลงทะเบยี น 9.00 น. – 9.30 น. - กลา่ วรายงานการประชุม โดย ผอ.อรรถพันธ์ ศรศี ุภโอฬาร ผอ.กลุ่มวางแผนการใชท้ ี่ดนิ สำนกั งานพัฒนาทีด่ นิ เขต 9.30 น. – 10.30 น. 7 - ประธานในพธิ ีกลา่ วเปดิ การประชมุ 10.30 น. – 10.45 น. โดย นายประศาสน์ สุทธารักษ์ ผ้อู ำนวยการสำนักงานพัฒนาท่ดี นิ เขต 7 10.45 น. – 11.30 น. - สภาพทว่ั ไป สภาพเศรษฐกจิ และสังคม - ทรพั ยากรดิน และพนื้ ทเ่ี ส่ียงตอ่ การชะลา้ งพังทลาย 11.30 น. – 12.00 น. - สภาพการใช้ทีด่ นิ สภาพทรัพยากรปา่ ไม้ - แผนการใช้ท่ดี นิ .ในเขตพ้นื ท่ีลุ่มนำ้ แหง 12.00 น. – 13.00 น. โดย กล่มุ วางแผนการใชท้ ีด่ นิ สำนกั งานพฒั นาที่ดนิ เขต 7 13.00 น. – 13.45 น. - พักรับประทานอาหารว่าง - แนวทางการปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้นื ฟูพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมดว้ ยระบบ 13.45 น. – 14.45 น. อนุรักษด์ ินและนำ้ และต้นแบบความสำเร็จในการอนรุ กั ษด์ นิ และน้ำในพื้นท่ลี มุ่ นำ้ แหง โดย สถานีพฒั นาทด่ี ินน่าน 14.45 น. – 15.00 น - แหลง่ นำ้ ตน้ ทุนและการพัฒนาระบบการกระจายน้ำเพื่อการเกษตร และต้นแบบ 15.00 น. – 16.00 น. ความสำเรจ็ ในการพัฒนาระบบกระจายน้ำเพ่ือการเกษตรอย่างเป็นระบบร่วมกับการ 16.00 น. – 16.30 น. อนุรกั ษ์ดนิ และนำ้ โดย สำนกั วศิ วกรรมเพอื่ การพฒั นาที่ดิน - พกั รับประทานอาหารกลางวัน - แบ่งกลุม่ เกษตรกรเพอ่ื สนทนากลมุ่ (Focus Group) รับฟงั ความคดิ เหน็ ในประเดน็ ความรู้ ความเข้าใจของเกษตรกรตอ่ การชะล้างพังทลายของดิน สภาพปัญหาของพน้ื ท่ี แนวทางการ แก้ไขปัญหา (ภมู ปิ ญั ญาและตามหลักวิชาการ) โดย คณะทำงาน - แบ่งกลุ่มเกษตรกรเพ่ือวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมในพน้ื ที่ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค แบบมสี ่วนรว่ มกับชมุ ชน โดย คณะทำงาน - พกั รับประทานอาหารวา่ ง - นำเสนอผลการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ (รายกลุ่ม) - กำหนดเป้าหมายในการดำเนนิ งานร่วมกนั - สรุปผลการดำเนนิ การประชาพจิ ารณ์ - ปดิ การประชุม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

111 4) รูปแบบการจดั ประชุม และสอื่ ประกอบการประชุมประชาพิจารณ์ ตารางท่ี 5-3 รูปแบบการจัดประชมุ และสือ่ ประกอบการประชมุ ประชาพจิ ารณ์ กิจกรรม/หน้าท่ี รูปแบบ/ส่อื /อปุ กรณ์ ผรู้ บั ผิดชอบหลกั 1. ดำเนินการขับเคล่อื นกิจกรรม คณะทำงาน สพข.7 2. ประสานงานในพ้ืนท่ี - เอกสารประกอบ คณะทำงาน สพข.7 การประชมุ แบบยอ่ สพด.น่าน 3. จดั เตรียมสถานทปี่ ระชมุ /โสตทศั น์/หนังสือเชญิ - สื่อสำหรับจัดนิทรรศการ (บอร์ด คณะทำงาน สพข.7 4. วิทยากร บรรยายเนอื้ หาสาระวิชาการพอสังเขป และแผนทขี่ นาด A1) คณะทำงาน สพข.7 - นำเสนอขอ้ มูลผ่านจอ สพด.นา่ น - สภาพท่ัวไป สภาพเศรษฐกจิ และสังคม โปรเจกเตอร์ สวพ. - ทรพั ยากรดิน และพืน้ ทเี่ สยี่ งตอ่ การชะลา้ งพังทลาย - สภาพการใช้ท่ีดนิ สภาพทรัพยากรป่าไม้ - ตวั แทนในการนำประชุมกลุ่มยอ่ ย คณะทำงาน สพข.7 - แผนการใช้ที่ดนิ .ในเขตพ้นื ที่ลุ่มนำ้ แหง (Focus Group) - แนวทางการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู - กระดาษฟลปิ ชาร์ท และขาต้งั ตัวแทนกลุ่มนำเสนอ พื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และต้นแบบ - ปากกา ผอ.สพข.7 ความสำเรจ็ ในการอนุรักษด์ ินและน้ำในพ้ืนท่ีลมุ่ น้ำแหง - สอื่ นำเสนอขอ้ มูลเบื้องต้น - แหล่งน้ำต้นทุนและการพัฒนาระบบการกระจายน้ำเพ่ือ และแผนท่ี (บอร์ดขนาด A1 และ กลุ่มวางแผนการใช้ การเกษตร และต้นแบบความสำเร็จในการพัฒนาระบบกระจาย A3) ทด่ี นิ สพข.7 นำ้ เพือ่ การเกษตรอย่างเป็นระบบรว่ มกบั การอนุรักษ์ดนิ และน้ำ - โครงสร้างประเด็นในการสนทนา 5. ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) กลุ่ม - นำเสนอผลสรปุ ของแต่ละกลุม่ 6. สรปุ ผลจากการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) - กลา่ วสรุปผลในภาพรวม 7. สรุปผลภาพรวมการประชาพิจารณ์แผนบริหารจัดการ โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี - รปู เล่มรายงาน เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ปี 2563 ครัง้ ท่ี 1 8. รายงานเบอื้ งต้น (Preliminary Report) รายงาน ความก้าวหน้าเสนอประธานคณะทำงานฯ และกรรมการฯ 5) โมเดลการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรดนิ และนำ้ เชิงบรู ณาการเพือ่ ปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดนิ โมเดลการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำเชิงบูรณาการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของ ดิน เป็นรูปแบบการบริหารจัดการลุ่มน้ำเชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม (Interdisciplinary) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

112 ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็น ตัวนำ (problem orientation) ความรูท้ างวชิ าการทหี่ ลากหลายสาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ จาก งานวิจัย (research) และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและน้ำ ผ่านกระบวนการมีส่วน รว่ มของชมุ ชน (participation approach) 6) การกำหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อดำเนินกิจกรรม (implement) เบื้องต้นให้สอดคล้องกับ สภาพพื้นที่ การกำหนดพื้นที่โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน จากขอบเขตพ้ืนที่ลุ่มน้ำ จำนวน 91,696 ไร่ เมอื่ ผ่านกระบวนการวเิ คราะห์จากข้อมูลทุติยภมู เิ บ้ืองต้น ประกอบดว้ ย ขอ้ มูลดนิ แผน ที่ดินปัญหา แผนที่การชะล้างพังทลายของดิน การใช้ที่ดิน ผลการประเมินคุณภาพดิน แผนการใช้ที่ดิน จากข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ขิ องหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง และการสำรวจข้อมูลจากสภาพพื้นทดี่ ำเนนิ การจริงในปัจจุบัน และการรับฟังความคิดเห็นต่อแนวทางโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ จะทำให้ได้เกณฑ์ (criteria) สำหรับนำมาใช้ในการกำหนดพื้นที่ เป้าหมายและกำหนดแผนงาน/โครงการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการได้ เช่น ระดับความรุนแรงของ พื้นที่ชะล้างพังทลายของดิน (soil erosion) พื้นที่ถือครอง แหล่งน้ำ สถานการณ์ภัยแล้งและน้ำท่วม ระบบอนุรกั ษด์ นิ และนำ้ การใช้ทีด่ ิน และการมีสว่ นร่วมหรอื การยอมรับของชุมชน การจัดทำแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรกั ษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือในการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้สามารถนำไปสู่การวาง แผนการกำหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของ ดนิ และพื้นทดี่ ินเส่ือมโทรม นำไปส่กู ารใชป้ ระโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และยัง่ ยนื รวมทั้งสามารถ แปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับประเด็น ปัญหาและบูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มีส่วนได้เสีย ท่ีเก่ียวขอ้ ง การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ำได้นำหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ การบริหาร จัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องดำเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศ มีการกระจายการถือครอง อย่างเปน็ ธรรม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ทีด่ ินเป็นไปอย่าง เหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความเชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้ำ ป่าไม้ และชายฝั่ง ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ โดยให้ คำนึงถึงสทิ ธิในทรัพยส์ นิ ของประชาชน หลกั ธรรมาภบิ าล การรับร้ขู อ้ มูลขา่ วสาร การกระจายอำนาจ การ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

113 มสี ว่ นรว่ มของประชาชน ชมุ ชนและภมู ิสังคม โดยนำขอ้ มูลผลการประเมนิ การสูญเสียดิน 3 ระดับ (ระดับ มาก ปานกลาง และน้อย) ข้อมูลสภาพดินปัญหาของพื้นที่ และการขาดแคลนน้ำ มาใช้ในการบริหาร จัดการสู่การกำหนดมาตรการและกิจกรรมในระดับพื้นที่ เพื่อเป็นต้นแบบการบริหารจดั การทรัพยากรดิน ระดับลุ่มน้ำในพื้นที่อื่น ๆ ครอบคลุมการแก้ไขและป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้น เกษตรกรรมครอบคลมุ ทั้งประเทศ การจัดกลุ่มของพื้นที่ในลุ่มน้ำตามลำดับความสำคัญของโครงการตามปัจจัยต่าง ๆ เพื่อกำหนด กรอบพื้นที่ดำเนินการตามปีงบประมาณ และคำแนะนำในการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน จะต้องนำพื้นที่ดำเนินการและคำแนะนำใน การบริหารจัดการ ไปศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการทจ่ี ะดำเนนิ การในพ้ืนทลี่ ุ่มน้ำยอ่ ย โดยมีการศึกษา ในด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป ทั้งด้านการออกแบบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำด้านต่าง ๆ โดยจัดการพื้นที่ ตามสภาพความรุนแรงของปัญหาและนำมาตรการการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหา ของพื้นที่เฉพาะพื้นที่ไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร ด้านความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์กบั เกษตรกรและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียในพ้นื ท่ี ผลกระทบของพ้ืนท่ีที่ดำเนนิ โครงการ ในกรณีที่มี โครงการและกรณีที่ไม่มีโครงการ โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากรให้ได้ประโยชน์สูงสุด เพื่อการ บริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยนำมาตรการ ต่าง ๆ มาปรับใช้ทั้งในทางพืชและทางวิศวกรรม โดยในการใช้มาตรการทางวิศวกรรมนั้นสามารถใช้ มาตรการด้านต่าง ๆ ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ในการออกแบบรายละเอียด และจะต้อง ปฏิบัตติ าม พ.ร.บ. วิศวกรรมด้วย เพื่อควบคมุ และจัดการพืน้ ที่ในการลดการชะลา้ งพังทลายและฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรม เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำในพื้นที่อืน่ ๆ ตามแผนปฏิบัตกิ าร รายปี ต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินการ ตามมาตรการต่าง ๆ ทีด่ ำเนนิ การลงไปในพน้ื ทใี่ ห้เหมาะสมมากขึ้น โดยการดำเนนิ การกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นทนี่ อกจากจะมกี ารดำเนินการตามแนวทางของกรมพัฒนา ที่ดินแล้วยังสามารถมีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ กระทรวงอื่น เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ในด้านการร่วมงานในพื้นทีป่ ่า ไม้ และอุทยาน การส่งเสริมอาชีพ การถ่ายทอดความรู้ และสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ สร้าง แรงจูงใจในการปรับเปลีย่ นการใชท้ ีด่ ิน แรงจงู ใจในการนำมาตรการด้านอนุรกั ษด์ นิ และนำ้ เข้าไปใช้ในพ้ืนที่ ของเกษตรกร จากการวิเคราะหส์ ภาพปัญหาของพนื้ ท่ี ข้อมลทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย ขอ้ มลู ทตุ ิยภูมิ และปฐมภูมิที่ได้จากการสำรวจภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหาของ สภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน (คุณสมบัติของ ดิน, สภาพดินปัญหา) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ด้านทรัพยากรน้ำ สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผ่าน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

114 กระบวนการมีส่วนรว่ มของชุมชน และการรบั ฟงั ความคิดเห็นของหนว่ ยงานในระดับพื้นท่ี เพื่อนำข้อมูลมา ประกอบการวิเคราะห์และจัดทำจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลถูกต้องตามสมรรถนะ และศกั ยภาพของทีด่ นิ และให้ผ้ทู เี่ ก่ียวขอ้ งได้เกิดการเรียนรู้นำไปสกู่ ารจัดการท่ีถูกต้องเหมาะสมและให้ได้ เครื่องมอื ในการใช้ทีด่ ินอย่างยั่งยืน เพ่ือลดอัตราการชะล้างพังทลายและการกดั ชะหน้าดิน การตกตะกอน และปริมาณสารพิษตกค้างที่เป็นผลมาจากการใช้ท่ีดินบนพื้นที่ลุ่มน้ำให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เกษตรกร และชมุ ชนสามารถใชป้ ระโยชนท์ ่ดี นิ ได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม จึงมกี ารกำหนดแนวทางและมาตรการที่ มีความสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา แผนการใช้ทีด่ นิ บนพน้ื ฐานการมสี ว่ นรว่ ม ประกอบดว้ ย 1) มาตรการด้านอนุรักษ์ดนิ และน้ำเพอื่ ปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลายของดิน แบง่ ตามระดับความรุนแรงของการชะล้าง ดงั น้ี (1) พื้นที่ที่มีการชะล้างรุนแรงมาก กำหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนว ระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ำ (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลำเลียง (farm road) คูรับน้ำขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ำ (waterways) ฝายชะลอนำ้ (check dam, weir) บอ่ ดักตะกอน (pond) 1.2) พื้นที่ที่มีการชะล้างปานกลาง กำหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนว ระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ำ (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลำเลียง (farm road) คูรับน้ำขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ำ (waterways) ฝายชะลอน้ำ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) 1.3) พื้นที่ที่มีการชะล้างรุนแรงน้อย กำหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนว ระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ำ (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลำเลียง (farm road) คูรับน้ำขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ำ (waterways) ฝายชะลอน้ำ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) การไถพรวนดนิ ลา่ ง (sub soiling) การปรบั ระดบั และปรับรูปแปลงนา 2) มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ดินที่พบส่วนใหญ่มีปัญหาดินต้ืน และมีความอุดมสมบรู ณ์ต่ำ จงึ กำหนดมาตรการ คอื ปลกู พชื คลุมดินปลูกพชื ปุ๋ยสดการใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชวี ภาพเพื่อเพ่ิมอินทรยี วัตถุ 3) มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ พื้นที่ทางการเกษตร พบปัญหา การขาดแคลนน้ำสำหรับพื้นที่เกษตรกรรรม จึงกำหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและความต้องการของ ชมุ ชน คอื อา่ งเกบ็ นำ้ สระเกบ็ นำ้ ฝายทดน้ำ การปรบั ปรุงลำน้ำ คลองสง่ นำ้ ระบบสง่ น้ำดว้ ยทอ่ และระบบ ให้น้ำแบบ micro irrigation ข้อแนะนำเพิ่มเติมในการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องตาม สภาพของพ้นื ที่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

115 การอนุรักษ์ดินและน้ำ ประกอบด้วย มาตรการหลายอย่างเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงพื้นที่ เพ่ือประโยชน์ทั้งทางตรงและทางออ้ ม การนำมาตรการตา่ ง ๆ ไปใชต้ ้องคำนึงถึงสภาพของพื้นทีใ่ นด้านต่าง ๆ ดังนั้นในการออกแบบสำหรับพื้นที่หนึ่ง ๆ จึงจำเป็นจะต้องใช้หลายมาตรการร่วมกันเพื่อให้เกิด ประโยชน์ และการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามแนวทางปฏิบัติและมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งในแต่ละมาตรการก็จะมีวิธีแยกย่อยต่อไปอีก โดยสามารถให้คำแนะนำสำหรับพื้นที่ที่มีความลาดชัน ต่างกันไป แต่ต้องพิจารณาตามความเหมาะตามสภาพการใช้ที่ดิน และคุณสมบัติทางกายภาพ (ความลึก หน้าดิน) ประกอบการออกแบบการจดั การพ้ืนทดี่ ้วย 1) พื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย ให้คำแนะนำในการนำมาตรการโดยให้หน่วยงานเจ้าของพื้นที่ นำไปดำเนนิ งาน ได้แก่ ฟ้ืนฟูทรพั ยากรป่าไม้ ปลกู แฝก ฝายชะลอน้ำ การปรบั ปรุงลำน้ำ 2) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชันน้อยกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การพรวนดินล่าง การจัดรูปแปลงทางลำเลียง (farm road) มาตรการปรับปรุงบำรุงดิน อ่าง เกบ็ น้ำ สระเกบ็ นำ้ ฝายทดน้ำ การปรับปรุงลำนำ้ คลองสง่ นำ้ ระบบส่งนำ้ ด้วยทอ่ ระบบให้น้ำแบบ micro irrigation 3) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 2-6 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ำ (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลำเลียง (farm road) คูรับน้ำขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ำ (waterways) ฝายชะลอน้ำ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบำรุงดิน อ่างเก็บน้ำ สระเก็บน้ำ ฝายทดน้ำ การปรับปรงุ ลำน้ำ คลองส่งน้ำ ระบบส่งน้ำดว้ ยทอ่ และระบบให้น้ำแบบ micro irrigation 4) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 6 – 12 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ำ (division terrace) แนวหญ้าแฝก ทางลำเลียง (farm road) คูรับน้ำขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ำ (waterways) ฝายชะลอน้ำ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบำรุงดิน อ่างเก็บน้ำ สระเก็บน้ำ ฝายทด น้ำ การปรับปรงุ ลำน้ำ คลองส่งนำ้ ระบบสง่ น้ำดว้ ยท่อ และระบบใหน้ ้ำแบบ micro irrigation 5) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 12 – 35 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ำ (division terrace) แนวหญ้าแฝก ทางลำเลียง (farm road) คูรับน้ำขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ำ (waterways) ฝายชะลอน้ำ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรบั ปรุงบำรงุ ดิน อา่ งเกบ็ น้ำ สระเก็บน้ำฝายทดน้ำ การปรบั ปรงุ ลำน้ำ คลองสง่ นำ้ ระบบสง่ น้ำด้วยทอ่ และระบบให้นำ้ แบบ micro irrigation แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

116 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

117 6 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

6 118 ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ต า ม แ ผ น บ ริ หา ร จ ัด ก า ร ป ้อ ง ก ั น ก า ร ช ะ ล ้ า งพ ั ง ท ล า ยข อ ง ด ิ น แ ล ะ ฟ ื ้ นฟ ู พ ื ้นที่ เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ มีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ และคณะทำงาน ประกอบด้วย คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และคณะทำงานจัดทำแผนการบริหารจัดการ โครงการปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของดินและฟืน้ ฟูพืน้ ท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้ำ พื้นท่ี ลุ่มน้ำย่อยแม่สาคร อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ในการจัดทำต้นแบบแผนการบริหารจัดการการชะล้าง พังทลายของดินและฟืน้ ฟูพ้ืนทีเ่ กษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ สำหรับขับเคล่ือนการดำเนินงาน ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิด ผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ จึงจำเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อน และผลักดนั จากทกุ ภาคสว่ นและใหเ้ กิดการบูรณาการทุกระดับและผา่ นกระบวนการมีสว่ นร่วม เพอื่ ให้การ บรหิ ารจดั การทรัพยากรดินและน้ำมเี ป้าหมายไปในทศิ ทางเดยี วกัน ควรมีแนวทางการดำเนนิ งาน ดังน้ี 1) สร้างความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกัน การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ให้สามารถนำไปสู่การวางแผน การกำหนด มาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้ างพังทลายของดินและพื้นที่ดิน เสือ่ มโทรม รวมทัง้ สามารถแปลงไปสู่การปฏิบตั ิได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ ท่ีสอดคลอ้ งกับประเด็นปญั หาและบูรณาการการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานโดยผา่ นกระบวนการมีส่วนร่วม จากภาคผี ูม้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทเี่ กย่ี วข้อง เพอื่ ให้หนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องเกิดการยอมรบั และตระหนักถึงความสำคัญ ของแผน และนำต้นแบบของแผนไปขยายผลสู่การปฏิบัตไิ ด้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 2) วิเคราะห์บทบาทและปรับบทบาทกระบวนการทำงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายการดำเนินงาน ทุกระดับตั้งแต่ระดับนโยบาย ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในด้านวิชาการท่ี เป็นกระบวนการหลัก (core process) และ กระบวนการสนับสนุน (support process) โดยนำแนว ทางการปฏิบัตงิ านไปกำหนดเป็นแผนงานโครงการ และกำหนดเป็นข้อตกลงการทำงานระหว่างหน่วยงาน เนน้ การทำงานเชิงบูรณาการเพ่อื ขบั เคลือ่ นองค์กรใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนดไว้ 3) พัฒนาระบบการติดตามและประเมนิ ผลเชิงบูรณาการ โดยจัดตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผล ที่มีกลไกและเครือข่ายการดำเนนิ งานทั้งหนว่ ยงานที่ปฏบิ ัติงานในส่วนกลางและส่วนภมู ิภาคเชื่อมโยงการ ประเมินผลตั้งแต่บริบท (concept) ปัจจัยนำเข้า (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

119 ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ทุกมิติ ประกอบด้วย มิติทางกายภาพหรือสิ่งแวดลอ้ ม มิติ สังคม และมิติเศรษฐกิจ ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของงานได้ชัดเจน จนนำไปสู่การปรับปรุงพัฒนา แผนการดำเนนิ งานโครงการใหเ้ กิดประสทิ ธผิ ลและมปี ระสทิ ธภิ าพ การกำหนดบทบาทหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้ำเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ไปสู่การปฏิบัติ ตามบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ได้แก่ ผู้บริหาร (อธิบดี รองอธิบดี) หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ส่วนกลาง หน่วยงานที่ปฏิบัติงานส่วนภูมิภาค รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ มีแนวทางการ ดำเนนิ งาน ดังนี้ ตารางที่ 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรพั ยากรดินและนำ้ เพ่ือปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้นื ฟูพนื้ ที่เกษตรกรรม ระดับหน่วยงาน แนวทางการขับเคลื่อน หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบ 1. ระดับนโยบาย (Policy Maker) อธบิ ดกี รม กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงาน คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการ พฒั นาท่ีดนิ และ ชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู ื้นทเี่ กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษด์ ินและนำ้ รองอธบิ ดกี รม กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงาน คณะทำงานจัดทำแผนการบริหารจัดการ พฒั นาทด่ี นิ โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนรุ ักษ์ดนิ และนำ้ และขบั เคลือ่ นงานวชิ าการด้านการกำหนดมาตรการ แนวทางการ จัดการดนิ และนำ้ ใหร้ องรับการแกไ้ ขปัญหาตามสภาพพ้ืนที่ กำกบั ดแู ลและตดิ ตามการดำเนินงาน ในการขบั เคลือ่ นแผนปฏิบตั ิการและแผนปฏบิ ัติ ราชการ ภายใต้แผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟน้ื ฟพู ้ืนทเ่ี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดินและนำ้ 2. ระดับปฏบิ ัติ (Operator) กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงานในระดับพื้นที่ และจัดตั้งคณะทำงาน จัดทำแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้นื ฟูพ้ืนทเี่ กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ คณะทำงานจัดทำ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน สู่ระดับพื้นที่ คณะทำงานด้านการติดตามและประเมินผลโครงการป้องกัน การชะล้างพงั ทลายของดนิ ด้วยระบบอนุรกั ษ์ดินและนำ้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

120 ตารางที่ 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรพั ยากรดินและนำ้ เพื่อป้องกนั การชะลา้ งพังทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพนื้ ท่ีเกษตรกรรม (ตอ่ ) ระดับหน่วยงาน แนวทางการขับเคล่ือน หน่วยงาน รับผิดชอบ 2.1 ส่วนกลาง 1) จัดประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และ กผง. ประสานความร่วมมือ โดยเปิดโอกาสให้หน่วยงานได้กำหนดแนวทางการ และคณะ ดำเนินงานรว่ มกนั สำหรบั ใช้เป็นกรอบแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการและ แผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมถึงการติดตามและประเมินผลที่ครอบคลุม ทุกมิติ 2) จดั ทำมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน จากต้นแบบแผนการบริหารจดั การโครงการ กผง. ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ และคณะ อนรุ ักษด์ ินและน้ำ สำหรับใชข้ ยายผลและขับเคล่อื นการดำเนินงานในพืน้ ที่ลุ่ม น้ำอืน่ ๆ 3) ขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงานในการจัดทำแผนการบริหารจัดการ คณะทำงานฯ โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วย ระบบอนรุ กั ษด์ ินและนำ้ ลุม่ น้ำ 4) ปรับบทบาทกระบวนการทำงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายการดำเนินงาน กสด. สวด. ด้านการสำรวจ วิจัยทรัพยากรดินและน้ำ การวิเคราะห์ดิน การวิเคราะห์ กนผ. กวจ. สภาพการใช้ที่ดิน การวางแผนการใช้ที่ดิน และการประเมินสถานภาพ สวพ. สสผ. ทรพั ยากรดนิ และการประเมินเชงิ เศรษฐสงั คม 5) กำหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้สอดคล้องกับแผนการใช้ ท่ดี ินเพ่ือป้องการการชะล้างพังทลายและฟ้นื ฟูพน้ื ทเี่ กษตรกรรม สวพ. กวจ. 6) จัดทำฐานข้อมูลการติดตามและประเมินผลในระดับภาพรวมและระดับ กวจ. กนผ. พนื้ ท่ี ครอบคลมุ การประเมินผลเชิงกายภาพ สงั คมและเศรษฐกจิ กผง. 2.2 ส่วนภมู ิภาค 1) จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการโครงการป้องกนั การชะล้าง สพข./สพด. พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ระดบั พนื้ ทลี่ ุม่ น้ำ 2) ประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานส่วนกลางและคณะทำงานจัดทำแผนการ สพข./สพด. บริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้ำ ให้เกดิ ความเข้าใจจนสามารถนำไป ถ่ายทอดแกห่ นว่ ยงานท่ีรับผิดชอบได้ 3) จัดทำแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพ้นื ท่เี กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำระดับลุม่ นำ้ 4) ขับเคลื่อนการดำเนินงานในระดับพ้นื ท่ใี ห้สอดคลอ้ งกับแผนบรหิ ารจดั การ 5) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในระดับพื้นที่ พร้อม รายงานผลการดำเนนิ งาน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

121 ตารางที่ 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและนำ้ เพ่ือป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟน้ื ฟูพน้ื ท่เี กษตรกรรม (ต่อ) ระดบั หนว่ ยงาน แนวทางการขบั เคลือ่ น หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบ 3. หนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ย (Network) (ตอ่ ) หน่วยงาน 1) ประสานความรว่ มมือในการกำหนดกรอบแนวทางการจดั ทำแผนบริหาร ระดบั จังหวดั จัดการทรัพยากรดินและน้ำ เพื่อเชื่อมโยงเป้าหมายการดำเนินงานกันใน ระดบั พน้ื ท่ี หน่วยงาน 2) สนบั สนุนการมีสว่ นรว่ มในการขับเคลื่อนแผนการบริหารจัดการโครงการ ภาครัฐและ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนรุ กั ษด์ นิ และนำ้ ระดับลุ่มนำ้ เอกชน 3) สร้างแนวทางหรือกำหนดรูปแบบการระชาสัมพันธ์ในการทำความ องค์กร เข้าใจกับประชาชนในพืน้ ที่อยา่ งเป็นรูปธรรม ปกครองสว่ น 4) ร่วมดำเนินกิจกรรมหรือโครงการเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากร ทอ้ งถนิ่ ดนิ และนำ้ เชงิ บูรณาการ หนว่ ยงาน 5) ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร พร้อมทั้งสร้างความ ภาครัฐและ ตระหนักและกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการ เอกชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน สื่อมวลชน การติดตามประเมินผลตามแผนปฏิบัติการ ที่มีการกำหนดกรอบตัวชี้วัดที่ครอบคลุมทุกมิติ ประกอบดว้ ย ประเดน็ การวัดและติดตามประเมนิ ผล ผจู้ ดั เกบ็ ตวั ชี้วดั และรายงานผล (ตารางที่ 6-2) พรอ้ ม ทั้งเสนอวิธีการจัดเก็บและตดิ ตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ในการ จัดทำฐานข้อมูลเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัด ประกอบด้วย ประเด็นการวัด รายการตรวจวดั ผู้รบั ผดิ ชอบฐานข้อมูลกลางและฐานขอ้ มูลเชงิ พน้ื ท่ี (ตารางท่ี 6-3) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

122 ตารางที่ 6-2 กรอบตวั ช้ีวดั ในการติดตามและประเมนิ ผล แผนบรหิ าร ตวั ชี้วัด ประเดน็ การวัด ผ้รู ับผิดชอบ จัดการ และตดิ ตามประเมินผล ตวั ชว้ี ดั ระยะสัน้ -ระยะกลาง ปี 2562 - มฐี านข้อมูลดา้ นการชะลา้ งพังทลาย - ฐานข้อมูลมีความถูกต้องตาม ผู้กำกบั ตวั ชว้ี ัด ของดิน (soil erosion) ในพ้นื ที่ หลกั วิชาการ กองแผนงาน เกษตรกรรม - มตี น้ แบบแผนการบรหิ ารจัดการ - ต้นแบบแผนบริหารจัดการได้รบั ผู้จัดเก็บและรายงาน ทรัพยากรดินระดับล่มุ นำ้ ทีม่ กี ารกำหนด ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ผลตามตัวชว้ี ัด มาตรการด้านการปอ้ งกันและฟน้ื ฟู และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง คณะทำงานฯ ทรัพยากรดนิ ตามสภาพปญั หาของแต่ละ - มาตรการด้านการอนุรักษ์ดิน พื้นที่ และน้ำได้รับการยอมรับจาก - มีการรูปแบบมาตรการดา้ นการอนรุ กั ษ์ เกษตรกรและชุมชน ดินและน้ำในระดบั ลมุ่ นำ้ นำรอ่ งสำหรับ ดำเนนิ การในระดับพืน้ ที่ ระยะสนั้ -ระยะกลาง ปี 2563 - 65 1. แผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดิน - จำนวนพื้นที่ที่มีการจัดทำแผนการ - แผนการบริหารจัดการทรัพยากร ผกู้ ำกบั ตวั ช้ีวัด บรหิ ารจัดการทรพั ยากรดินระดับลุ่มน้ำ ดินระดับลุ่มน้ำที่มีการกำหนด กองแผนงาน มาตรการด้านการป้องกันและ ผู้จัดเก็บและรายงาน ฟื้นฟูทรัพยากรดินสอดคล้องตาม ผลตามตวั ชีว้ ัด สภาพปัญหาของแต่ละพ้ืนที่ คณะทำงานระดับ พ้ืนทแ่ี ต่ละลุ่มนำ้ 2. โครงการป้องก ันการชะ ล ้ าง - ความสอดคล้องของมาตรการ ผกู้ ำกับตวั ชว้ี ดั พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำและ กองแผนงาน เกษตรกรรมลุ่มน้ำ จงั หวัดนา่ น ระยะในการดำเนินงานเป็นไป 2.1 ระดับผลผลิต (output) ตามแผน - ร้อยละความสำเร็จในการดำเนิน - พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการ ผู้จัดเก็บและรายงาน กิจกรรมตามมาตรการด้านการอนุรักษ์ ป้องกันและฟื้นฟู ไม่น้อยกว่า ผลตามตัวช้วี ดั ดนิ และนำ้ 10,000 ไร/่ ลุม่ น้ำ สพข./สพด. - จำนวนพื้นท่ีเกษตรกรรมไดร้ บั การ ปอ้ งกนั และฟื้นฟทู รพั ยากรดิน 2.2 ระดับผลลัพธ์ outcome) - จัดทำฐานข้อมูลเพื่อประเมิน ผู้จัดเก็บและรายงาน - ทรัพยากรดินสามารถใช้ประโยชน์ การเปล่ยี นแปลงตามตวั ชี้วัด เช่น ผลตามตัวช้วี ดั ที่ดินได้อย่างคุ้มค่า ลดการสูญเสียหนา้ ค่าการสูญเสียดิน คุณภาพดิน กสด./กวจ. ดินที่เป็นประโยชน์ต่อการผลิตภาค ความชื้นในดิน ปริมาณตะกอน การเกษตร ไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 80 เม่อื ดนิ และปรมิ าณการกักเกบ็ น้ำ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

123 ตารางท่ี 6-2 กรอบตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผล (ต่อ) แผนบริหาร ตวั ช้วี ัด ประเด็นการวัด ผ้รู ับผิดชอบ จดั การ และตดิ ตามประเมินผล ตวั ช้วี ัด เปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉล่ีย ในพ้ืนทรี่ ะดบั ลมุ่ น้ำ - รักษาและเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับ ดิน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เมื่อ เปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉลี่ยใน พน้ื ทรี่ ะดบั ลมุ่ น้ำ - เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำภาค สวพ./สพข. การเกษตร ดว้ ยการเพ่มิ แหล่งน้ำต้นทุน และระบบการกระจายน้ำ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉลี่ยในพ้นื ที่ระดับลุ่มน้ำไม่น้อย กว่า ร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบกับปี ฐาน หรือค่าเฉลี่ยในพื้นที่ระดับลุ่ม นำ้ ยอ่ ย - เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ กนผ./สพข. ที่ดินได้อย่างเหมาะสมตรงตาม ศกั ยภาพของพ้ืนท่ีไม่นอ้ ย 2.3 ระดบั ผลกระทบ (impact) -เพิม่ ผลผลติ ภาคการเกษตร -สำรวจข้อมูลเชิงสังคมเศรษฐกิจ กนผ./สพข. -เพิ่มรายได้ในครัวเรือนให้กับ เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง เกษตรกร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 เมื่อ หลงั ได้รบั ประโยชน์จากมาตรการ เปรียบเทียบกับปีฐาน หรือค่าเฉลี่ยใน ตามตวั ช้ีวดั ดา้ นสงั คมเศรษฐกจิ พ้นื ท่ีระดบั ลมุ่ นำ้ ย่อย -เพิ่มมูลค่าการผลิตภาคการเกษตร และผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ไม่ น้อยกว่า ร้อยละ 30 เมื่อเปรียบเทียบ กับปีฐาน หรือค่าเฉลีย่ ในพื้นท่รี ะดับลุ่ม นำ้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

124 ตารางที่ 6-3 การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัดมิติกายภาพ เศรษฐกิจและ สงั คม รายการตรวจวดั /ประเมิน** ผ้รู ับผิดชอบ (พ้นื ที่ดิน/ตะกอนถกู ชะล้าง หรือท่ที ับถม) ประเด็น ประเดน็ ตวั ชว้ี ดั * ฐานข้อมูลเชงิ พ้ืนที่ จดั ทำฐานขอ้ มูล 1. ข้อมูลดนิ และ กลาง สิ่งแวดลอ้ ม 1.1 อตั ราการสญู เสยี ของ - ปรมิ าณฝน (ความเข้มของฝน) ส่วนภมู ภิ าค 1. ผ้เู ชย่ี วชาญ 2. ข้อมูลน้ำ และ ส่งิ แวดลอ้ ม ดิน (สพข/สพด) ส่วนภูมิภาคและ 3. ข้อมลู พืช และส่งิ แวดลอ้ ม - ความคงทนตอ่ การถกู ชะลา้ งพงั ทลายของดนิ สว่ นกลาง ส่วนกลาง : - ความลาดชนั ของพน้ื ท่ี (กสด./กวจ/กนผ./ คดั กรองขอ้ มลู - การจดั การพชื สวด./สสผ./กทช./ - การปฏิบตั กิ ารปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของดนิ สวพ.) 2. กวจ. : จดั เกบ็ และ 1.2 ปริมาณดนิ หรอื - วัดความลึกของหน้าดินที่สูญหายไป หรือที่ทับถม นำเข้าฐานขอ้ มูลกลาง ตะกอนท่สี ญู หายไป โดยใชห้ ลักวดั หรอื หมดุ (pin) และประเมนิ เชิงวชิ าการ (กิโลกรัมตอ่ ไร่) - ขนาดพ้นื ที่ (ไร่) - ความหนาแนน่ ของดนิ 3. กผง. : ประเมนิ ภาพรวมเชิงนโยบาย - บอ่ ดักตะกอน 1.3 การเปลย่ี นแปลง - การทำคำบรรยายหน้าตัดดิน (สดี ิน เนื้อดิน จุดประสี ลักษณะและสมบตั ดิ นิ โครงสรา้ ดิน ทางกายภาพ และทาง ปรมิ าณรากพชื เปน็ ต้น) เคมี และชวี ภาพ - ความชืน้ ในดนิ หรอื น้ำในดิน - การกระจายตวั ของเม็ดดิน - ส่ิงมีชีวิตในดนิ - ปจั จยั ช้ีคา่ บรกิ ารเชิงระบบนิเวศ - ปริมาณสารตกค้างในดิน และตะกอนที่พัดไปทับถม อกี พ้ืนท่ีหนึ่ง 1.4 ปรมิ าณและมูลคา่ - ธาตุอาหารในดนิ สว่ นภมู ิภาค (สพข/สพด) การสญู เสยี ของธาตุ - ปริมาณอนิ ทรีย์คาร์บอนในดนิ สว่ นกลาง (กวจ./กสด./สวด.) อาหาร และคาร์บอนใน - การปลดปล่อยกา๊ ชเรอื นกระจก ดิน - การจัดการดนิ น้ำ ปุ๋ย และพืช - ราคาปุ๋ยที่ใช้ในพนื้ ที่ 2.1 ปริมาณตะกอนในน้ำ - นำ้ หนักของตะกอนในนำ้ และแหล่งนำ้ สว่ นภูมิภาค (สพข/สพด) และแหล่งน้ำ 2.2คณุ ภาพของนำ้ และ - ค่าความขุ่นของน้ำ และสมบัติที่เกี่ยวข้อง โดยชุด แหลง่ น้ำ (โดยเฉพาะนำ้ ทดสอบในสนาม สว่ นกลาง (สวพ./กสด./กวจ./ เพ่อื อุปโภคและบรโิ ภค) หรอื วเิ คราะหใ์ นห้องปฏิบตั ิการ สวด.) - สารปนเปื้อนในน้ำ เช่น โลหะหนัก สารเคมีตกค้าง ป๋ยุ 3.1 การเปลี่ยนแปลง - ชนิดพชื ส่วนภูมภิ าค 1. ผเู้ ชี่ยวชาญ (สพข/สพด) สว่ นภูมิภาคและ การใช้ทีด่ ิน - การจดั การพื้นท่ี เชน่ การเผา ส่วนกลาง (กนผ./กสด./ ส่วนกลาง : 3.2 การเจรญิ เติบโต - การปลดปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก กวจ./สวด.) คัดกรองขอ้ มูล 2. กวจ. : จดั เกบ็ และผลผลติ ตาม - ปริมาณการสญู หายของเมล็ดพนั ธ์ุ และนำเขา้ ฐานข้อมูลกลาง และ ชว่ งเวลาคาดว่าเกดิ - องค์ประกอบของผลผลติ ประเมินเชงิ วชิ าการ ชะล้างพังทลาย - คุณภาพผลผลติ - ความเสียหายตอ่ พชื เช่น พชื ลม้ ตาย แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

125 ตารางที่ 6-3 การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัดมิติกายภาพ เศรษฐกิจและ สงั คม (ต่อ) รายการตรวจวดั /ประเมิน** ผู้รับผิดชอบ (พนื้ ที่ดิน/ตะกอนถกู ชะล้าง หรือทท่ี ับถม) ประเดน็ ประเดน็ ตัวชี้วดั * ฐานข้อมูลเชงิ พ้ืนท่ี จัดทำฐานข้อมูล กลาง 4. สภาพ 4.1 รายได้ และสภาพ - ต้นทนุ การผลติ ส่วนภูมภิ าค 3. กผง. : ประเมนิ เศรษฐกจิ สงั คม ความเป็นอยู่ - รายจ่าย (สพข/สพด) ภาพรวมเชิงนโยบาย - คา่ แรง สว่ นกลาง (กนผ/กวจ.) หมายเหตุ : * พจิ ารณาตามสภาพภูมสิ ังคม ** วธิ กี ารเกบ็ ตวั อยา่ ง เก็บขอ้ มลู และวเิ คราะหต์ ัวอยา่ งและข้อมลู ตามระบบมาตรฐานสากล ผู้ประเมนิ ผลเชงิ นโยบาย : กองแผนงาน ผู้รวบรวมภาพรวม และประเมนิ ผลเชงิ วชิ าการ : กองวิจัยและพฒั นาการจดั การท่ดี ิน ผู้รวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ : สถานีพัฒนาที่ดิน สำนักงานพัฒนาท่ีดิน และหน่วยอื่น ๆ ที่ เก่ยี วขอ้ ง โดยประเมินจากประเด็น (1) พื้นที่เกิดการชะล้างพังทลายของดิน และ 2) พื้นที่ได้รับ ผลกระทบ การดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม มีแนวทางการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน โดยมีการ ดำเนนิ การในด้านต่าง ๆ ดงั นี้ 1) การติดตามความก้าวหน้า ในการดำเนินงานตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการและ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟืน้ ฟูพื้นที่เกษตรกรรม โดยการมีส่วนรว่ มของหน่วยงานต่าง ๆ ท้ัง ส่วนกลาง และระดับพื้นที่ โดยกำหนดให้มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี การติดตาม ประเมินผลสำเร็จ และผลกระทบจากการดำเนนิ งานตามแผนทุก 2 ปี มีการประเมินผลช่วงกลางแผน เพื่อปรับเป้าหมายและตัวชี้วัด ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ เปลย่ี นแปลงไป รวมท้ัง มกี ารประเมนิ ผลเมือ่ สน้ิ สดุ การดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ัติการ 2) จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน และผลสัมฤทธิ์ ของงานในแต่ละด้านตามแผน ทั้งด้านปจั จัยนำเขา้ (input) การบวนการทำงาน (process) ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ประกอบด้วย นักวิชาการจากส่วนกลาง นักวิชาการและ เจา้ หน้าทีผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิงานระดบั พ้ืนที่ และหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการติดตามประเมินผลตาม แผนปฏิบัตกิ าร ที่มีการกำหนดกรอบตวั ชี้วัดท่ีครอบคลุมทุกมิติ ประกอบด้วย ประเด็นการวัดและติดตาม ประเมินผล ผู้จัดเก็บตัวชี้วัดและรายงานผล (ตารางที่ 6-2) พร้อมทั้งเสนอวิธีการจัดเก็บและติดตาม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

126 สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ในการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อประเมินการ เปลย่ี นแปลงตามตัวช้วี ดั ประกอบด้วย ประเด็นการวดั รายการตรวจวดั ผ้รู บั ผิดชอบฐานข้อมูลกลางและ ฐานข้อมลู เชงิ พน้ื ท่ี (ตารางที่ 6-3) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

127 กรมการพฒั นาชมุ ชน. 2562. สรุปข้อมูลพน้ื ฐานระดับหมบู่ ้าน (กชช. 2ค) ปี 2562 ระดับตำบล. (Online). สืบค้นจาก www.rdic.cdd.go.th/nrd-service (15 กรกฎาคม 2562). กรมชลประทาน. 2562. ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยรายเดือนแม่น้ำน่าน ( Online). สืบค้นจาก http://www.hydro-1.net (10 กรกฎาคม 2562). กรมป่าไม้. 2560. แผนที่ขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ (ไฟล์ข้อมูล). กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อม. กรมพฒั นาทด่ี นิ . 2545. การประเมนิ การสูญเสยี ดินในประเทศไทย. กรมพฒั นาท่ีดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กรงุ เทพฯ. กรมพัฒนาทดี่ ิน. 2551. คมู่ อื การสำรวจดิน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 30/03/50. ส่วนมาตรฐาน การสำรวจจำแนกดนิ และท่ีดนิ สำนักสำรวจดนิ และวางแผนการใช้ทดี่ นิ . กรมพัฒนาทีด่ ิน. 2558. สถานภาพทรัพยากรดนิ และท่ดี ินของประเทศไทย. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 304 หนา้ . กรมพัฒนาที่ดิน. 2561. แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 161 หนา้ . มนู ศรีขจร อรรถ สมร่าง ไพบูลย์ ประโมจนีย์ สุทธิพงษ์ ประทับวิทย์ ไชยสิทธิ์ เอนกสัมพันธ์ และ ปทมุ พร ฟั่นเเพ็ง. 2527. การใช้สมการสูญเสียดินสากลสำหรับประเทศไทย. รายงานการประชุม วชิ าการ ประจำปี 2527, กองบรริ ักษท์ ่ีดิน กรมพฒั นาที่ดนิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2561. โครงการส่งเสริมศักยภาพ การขับเคลื่อนแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพฯ. Arnold, J.G., R. Srinivasan, R.S. Muttiah, and J.R. Williams. 1998. Large area hydrologic modeling and assessment. Part I: Model development: Journal of the American Water Resources Association 34 : 73-89. Hickey, R., Smith, A. and P. Jankowski. 1 9 9 4 . Slope Length Calculations from a DEM within ARC/INFO GRID: Computers, Environmental and Urban Systems, v. 18, no. 5. Kunta, K. 2009. Effects of Geographic Information Quality on Soil Erosion Prediction. Ph.D. Thesis ETH-Zurich. Lanning-Rush, J. 2000. Regional Equations for Estimating Mean Annual and Mean Seasonal Runoff for Natural Basins in Texas, Base Period 1961-90. United State Geological Survey, Water-Resources Investigations Report 00-4064. Austin, Texas. 34 p. Wischmeier, W.H. and D.D. Smith. 1965. Prediction Rainfall Erosion Losses from Cropland East of the Rocky Mountains: A Guide for Selection of Practices for Soil and Water Conservation. Agricultural Handbook, No. 282, 47 p. แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

128 ภาคผนวกท่ี 1 : คำอธบิ ายชุดดนิ ภาคผนวกที่ 2 : ภาพประกอบกิจกรรมการประชุมชี้แจงเพ่ือรบั ฟังข้อคิดเห็นของชมุ ชนต่อแนวทางการ ดำเนนิ งานของโครงการ ภาคผนวกที่ 3 : ภาพประกอบกจิ กรรมในการดำเนินงานในระดบั พืน้ ท่ี ภาคผนวกท่ี 4 : ภาพประกอบกิจกรรมประชมุ เพอ่ื รับฟงั ข้อคิดเห็นของผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียต่อ (รา่ ง) แผน บรหิ ารจัดการปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟพู ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วย ระบบอนุรักษด์ นิ และนำ้ ภาคผนวกที่ 5 : คำส่ังคณะกรรมการขบั เคล่ือนโครงการปอ้ งกนั การชะลา้ งของดนิ และฟ้ืนฟูพื้นที่ เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

129 ภาคผนวกที่ 1 : คำอธบิ ายชุดดิน ชุดดิน (soil series) หมายถึง หน่วยจำแนกดินระดับต่ำสุดของการจำแนกดินตามระบบ อนุกรมวิธานโดยถอื ลักษณะทางสัณฐานของดินเป็นหลกั เช่น ความหนาของชั้นดิน การจัดเรียงของชน้ั ดิน โครงสร้างดิน สีดินเนื้อดิน ปฏิกิริยาดิน การยึดตัว ปริมาณคาร์บอเนตและเกลือชนิดต่างๆ ฮิวมัส เศษหิน องคป์ ระกอบของแรใ่ นดนิ วัตถุต้นกำเนิดดนิ เปน็ ตน้ ดนิ คลา้ ยชดุ ดนิ (soil variants) หมายถึง หนว่ ยจำแนกดินระดับเดยี วกนั กับชุดดนิ ทีเ่ คยกำหนดไว้ แล้วซึ่งดินคล้ายชุดดินนี้มีลักษณะเด่นชัดพอที่จะกำหนดเป็นชุดดินใหม่ได้ตามระบบการจำแนกดิน แต่ เนื้อที่ที่พบดนิ ดังกล่าวจากการสำรวจยังมีเนื้อที่น้อยกว่า 20 ตารางกิโลเมตร จึงไม่สามารถกำหนดเปน็ ชุดดินใหม่ได้แต่เพื่อความสะดวกในการจดจำจึงเอาชื่อชุดดินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมากำหนด โดย ระบลุ กั ษณะทแ่ี ตกต่างจากชดุ ดินน้ัน เชน่ ดนิ คล้ายชดุ ดนิ มาบบอนแตม่ ีเน้อื ดนิ เปน็ ดนิ 1) ดนิ ตะกอนน้ำพาเชงิ ซ้อนทมี่ กี ารระบายนำ้ ดีปานกลางและเปน็ ดินร่วนหยาบ (AC-mw,col) การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Fluventic (Oxyaquic) Haplustepts สภาพพื้นท่ี ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรยี บ ความลาดชนั 0-2 เปอรเ์ ซน็ ต์ ภมู สิ ัณฐาน ที่ราบระหวา่ งเนนิ เขา วตั ถุต้นกำเนดิ ตะกอนน้ำพาใหม่ การระบายน้ำ ดปี านกลาง การซมึ ผ่านไดข้ องน้ำ ปานกลางถงึ ชา้ การไหลบา่ ของนำ้ บนผิวดิน ปานกลางถงึ ช้า ลกั ษณะสมบัติของดิน เป็นดินลึกถึงลึกมาก มีลักษณะการสลับชั้นของเนื้อดิน ดินบนเป็นดินร่วนปน ทราย สนี ้ำตาลหรือสีนำ้ ตาลเข้ม ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็นดินร่วนปนทรายหรือทรายปนดินร่วน สีน้ำตาลปนเทา สี นำ้ ตาล อาจพบ จุดประสีภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดนิ และอาจ พบกรวดทอ้ งน้ำ ปะปนในชน้ั ดนิ ลา่ ง ปฏกิ ิรยิ าดนิ เป็นกรดเลก็ นอ้ ยถึงเป็นกลาง (pH 6.5-7.0) ขอ้ จำกัด ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ รวมทั้งอาจมคี วามเสีย่ งเรอื่ งน้ำทว่ มฉับพลนั 2) ดินคล้ายชดุ ดนิ เชียงของท่ีมสี นี ้ำตาล (Cg-br) การจำแนกดิน (USDA) Very-fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiustults สภาพพื้นที่ ลูกคลนื่ ลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชนั 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ภูมสิ ณั ฐาน พ้ืนทเ่ี หลือคา้ งจากการกดั กร่อน วัตถตุ ้นกำเนดิ ดนิ การสลายตวั ผพุ ังอยู่กบั ทีแ่ ละเคลือ่ นยา้ ยมาในระยะทางไม่ไกลนกั ของหินอัคนี ทีเ่ ป็นกลางหรือเป็นด่างพวกแอนดไี ซต์ การระบายนำ้ ดี การซึมผ่านไดข้ องนำ้ ปานกลางถงึ เร็ว การไหลบ่าของนำ้ บนผิวดิน ปานกลางถึงเร็ว ลกั ษณะสมบตั ขิ องดิน เป็นดินเหนียวลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ำตาลเข้มถึง สี น้ำตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่าง แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

130 ข้อจำกดั เป็นดินเหนียวสีน้ำตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ความอดุ มสมบูรณ์ตำ่ เส่ยี งต่อการขาดน้ำเล็กนอ้ ยถึงปานกลางหากฝนทิง้ ชว่ ง พื้นทท่ี ่ีมคี วามลาดชันสงู ดนิ จะถกู ชะล้างพังทลายได้ง่าย 3) ชดุ ดนิ ลี้ (Li) การจำแนกดิน (USDA) Clayey-skeletal, mixed, semiactive, shallow, isohyperthermic Ultic Haplustalfs สภาพพนื้ ที่ ลูกคลื่นลอนลาดถึงเป็นเนินเขา มีความลาดชนั 5-20 เปอร์เซน็ ต์ ภมู สิ ัณฐาน เชิงเขา เนินเขา หรือบริเวณพ้ืนทท่ี เ่ี หลือค้างจากการกัดกร่อน วัตถตุ ้นกำเนดิ ดนิ การผพุ งั สลายตัวอยู่กบั ทีแ่ ละเคล่ือนยา้ ยมาเป็นระยะทางไม่ไกลนกั ของหิน ตะกอน เน้อื ละเอียดหรือหนิ ในกลุ่มและหนิ ที่แปรสภาพ การระบายนำ้ ดี การซึมผ่านได้ของน้ำ ปานกลาง การไหลบา่ ของนำ้ บนผิวดนิ ปานกลางถงึ เรว็ ลกั ษณะสมบัตขิ องดนิ เปน็ ดินตื้นหรือต้นื มากถึงช้นั เศษหินหนาแน่น บางบริเวณพบก้อนหินหรือเศษหิน บนผิวหน้าดิน ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียวปนเศษหิน สีน้ำตาลเข้มหรือ น้ำตาลปนแดงเข้ม ปฏกิ ิรยิ าดนิ เปน็ กรดปานกลางถงึ เป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็นดินเหนยี วปนเศษหนิ หนาแน่นมาก สแี ดงปนเหลือง หรอื เหลืองปนแดง ปฏิกริ ยิ าดินเป็นกรดจัดถึงเปน็ กรดเลก็ นอ้ ย (pH 5.5-6.5) ช้นั หินพน้ื ทีก่ ำลัง สลายตวั พบตงั้ แตร่ ะดบั ตน้ื ถงึ ลกึ ปานกลาง ขอ้ จำกัด เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแน่น พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะล้าง พังทลายได้ง่าย 4) ชุดดินแมร่ ิม (Mr) การจำแนกดิน (USDA) Loamy-skeletal, mixed, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults สภาพพืน้ ที่ ลกู คลนื่ ลอนลาดเลก็ นอ้ ยถงึ ลูกคล่นื ลอนลาด มีความลาดชนั 2-12 เปอร์เซน็ ต์ ภูมิสัณฐาน ตะพักลำน้ำระดับสงู วตั ถุตน้ กำเนิดดนิ ตะกอนน้ำพา การระบายน้ำ ดี การซึมผ่านไดข้ องนำ้ ปานกลางถงึ เรว็ การไหลบา่ ของนำ้ บนผิวดนิ ช้าถึงเร็ว ลกั ษณะสมบตั ิของดนิ เป็นดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นก้อนกรวดและหินมนเล็กหนาแน่นตั้งแต่ภายใน 50 เซนติเมตร จากผิวดิน ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวดและหินมนเลก็ สีน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรด เล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่างเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปน ทราย มีกรวดและหินมนเล็กปะปนอยู่หนาแน่นมาก มากกว่า ร้อยละ35 โดย ปริมาตร สีน้ำตาลปนเหลืองถึงแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึง เป็นกรดจดั (pH 4.5-5.5) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

131 ข้อจำกัด เปน็ ดินตืน้ ถึงชั้นกรวดและหินมนเล็ก ความอุดมสมบรู ณต์ ่ำ พ้ืนทท่ี ี่มคี วามลาดชัน สงู ดินจะถกู ชะล้างพังทลายไดง้ า่ ย 5) ชดุ ดนิ แมแ่ ตง (Mt) การจำแนกดนิ (USDA) Fine, kaolinitic, isohyperthermic Rhodic Kandiustults สภาพพ้ืนท่ี ลกู คลนื่ ลอนลาด มคี วามลาดชัน 5-12 เปอรเ์ ซน็ ต์ ภูมสิ ณั ฐาน ตะพักลำน้ำหรือเนินตะกอนรปู พัด วตั ถุต้นกำเนิด ตะกอนนำ้ พา การระบายนำ้ ดี การซมึ ผ่านได้ของน้ำ ปานกลาง การไหลบา่ ของน้ำบนผิวดิน ชา้ ถึงเร็ว ลกั ษณะสมบัติของดนิ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนถึงดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ำตาลปนแดงเข้ม ปฏิกิรยิ าดินเป็นกรดจัดถงึ เป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดนิ ลา่ งเป็นดนิ เหนียว สีน้ำตาลปนแดงถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5- 5.5) ขอ้ จำกดั ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เสี่ยงต่อการขาดน้ำปานกลางหากฝนทิ้งช่วง พื้นที่ที่มี ความลาดชนั สงู ดนิ จะถกู ชะลา้ งพังทลายไดง้ ่าย 6) ดินคลา้ ยชุดดินน่านท่เี ปน็ สีน้ำตาล (Na-br) การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Aeric Endoaqualfs สภาพพืน้ ที่ ราบเรียบถงึ คอ่ นข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอรเ์ ซ็นต์ ภูมสิ ัณฐาน ตะพกั ลำนำ้ วัตถตุ ้นกำเนดิ ดิน ตะกอนนำ้ พา การระบายนำ้ คอ่ นขา้ งเลว การซมึ ผา่ นไดข้ องนำ้ ช้า การไหลบ่าของนำ้ บนผิวดิน ช้า ลักษณะสมบัตขิ องดนิ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ำตาลปนเทาหรือ สี น้ำตาลเข้ม มีจุดประสีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด มากถงึ เปน็ กลาง (pH 5.0-7.0) ดนิ ลา่ งเป็นดินเหนยี วปนทรายแปง้ ดนิ เหนยี ว สีน้ำตาลปนเทาเข้ม มีจุดประสีน้ำตาลแก่หรือน้ำตาลปนเหลือง หรือสีแดง ปฏิกริ ยิ าดินเป็นกรดปานกลางถงึ เป็นดา่ งปานกลาง (pH 6.0-8.0) ขอ้ จำกัด โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง ทำให้ไถพรวนยาก ขาดแคลนน้ำ และน้ำท่วม ขังในฤดูฝน ทำความเสียหายกบั พืชที่ไม่ชอบน้ำ 7) ดินคล้ายชุดดินน่านทเ่ี ป็นดินทรายแป้งละเอยี ด (Na-fsi) การจำแนกดนิ (USDA) Fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Aeric Endoaqualfs สภาพพน้ื ท่ี ราบเรียบถงึ คอ่ นขา้ งราบเรียบ มคี วามลาดชนั 0-2 เปอรเ์ ซ็นต์ ภูมสิ ัณฐาน ตะพกั ลำนำ้ วัตถตุ ้นกำเนดิ ดนิ ตะกอนน้ำพา การระบายน้ำ คอ่ นข้างเลว แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

132 การซมึ ผา่ นได้ของนำ้ ชา้ การไหลบา่ ของนำ้ บนผวิ ดิน ช้า ลกั ษณะสมบตั ขิ องดนิ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง สีเทาปนแดงหรือปนชมพมู ีจุด ประสีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็น กลาง (pH 5.0-7.0) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีเทาปนแดงมี จดุ ประสนี ำ้ ตาลแกห่ รอื นำ้ ตาลปนเหลือง หรือสแี ดง ปฏกิ ิริยาดนิ เปน็ กรดปานกลาง ถึงเปน็ ด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0) ขอ้ จำกดั โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง ทำให้ไถพรวนยาก ขาดแคลนน้ำ และน้ำท่วม ขงั ในฤดูฝน ทำความเสียหายกับพชื ที่ไม่ชอบน้ำ 8) ชดุ ดินแพร่ (Pae) การจำแนกดนิ (USDA) Fine-loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic Typic Paleustults สภาพพื้นที่ ลกู คลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลกู คล่นื ลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 เปอร์เซ็นต์ ภมู สิ ณั ฐาน ตะพักลำน้ำ วตั ถตุ ้นกำเนดิ ดิน ตะกอนน้ำพา การระบายน้ำ ดี การซึมผ่านไดข้ องน้ำ เรว็ การไหลบา่ ของน้ำบนผวิ ดนิ ปานกลางถงึ เรว็ ลกั ษณะสมบตั ิของดิน เปน็ ดินลึกมาก ดินบนเปน็ ดินร่วนปนทราย สนี ้ำตาลอ่อนหรือน้ำตาล ปฏิกริ ิยาดิน เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่างเป็นดินร่วน ดินร่วน เหนยี วปนทรายถึงดนิ ร่วนปนดนิ เหนยี ว อาจพบกรวดลูกรังปรมิ าณเล็กน้อยถึง ปานกลาง ปะปนในเนื้อดิน สีน้ำตาล น้ำตาลอ่อนหรือน้ำตาลปนแดง อาจพบ จุดประสีต่างๆ หรือการสะสมของเหล็ก แมงกานีส ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด มากถึงเป็นกรดจัด (pH 5.0-5.5) ขอ้ จำกัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำหากฝนทิ้งช่วง พื้นที่มี ความลาดชัน เสย่ี งต่อการชะลา้ งพังทลายของดนิ 9) ชุดดนิ สันปา่ ตอง (Sp) การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults สภาพพนื้ ที่ ลูกคลืน่ ลอนลาดเลก็ นอ้ ย มคี วามลาดชัน 2-5 เปอร์เซน็ ต์ ภมู สิ ัณฐาน ตะพกั ลำน้ำ วตั ถตุ น้ กำเนิดดิน ตะกอนนำ้ พา การระบายนำ้ ดี การซึมผ่านได้ของน้ำ ปานกลางถงึ เร็ว การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน ช้าถึงปานกลาง ลกั ษณะสมบตั ขิ องดิน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กนอ้ ย (pH 5.5-6.5) ดินล่างเป็นดินร่วนปน ทราย สีนำ้ ตาลซีดหรือน้ำตาลปนเหลืองอ่อน ปฏกิ ิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็น กรดจดั (pH 4.5-5.5) ขอ้ จำกัด ความอุดมสมบรู ณ์ต่ำ เนอ้ื ดินคอ่ นขา้ งเปน็ ทราย แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

133 10) ชดุ ดนิ วงั สะพุง (Ws) การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 เปอรเ์ ซน็ ต์ ภมู ิสณั ฐาน เชงิ เขา เนนิ เขา หรอื บริเวณพ้ืนท่ีเหลอื ค้างจากการกดั กรอ่ น วัตถุต้นกำเนดิ ดิน การผุพังสลายตัวอยู่กับที่และเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหิน ตะกอนเนือ้ ละเอียดหรือหินในกลมุ่ และหินท่ีแปรสภาพ การระบายนำ้ ดี การซมึ ผ่านได้ของน้ำ ปานกลาง การไหลบา่ ของน้ำบนผิวดนิ ปานกลางถึงเร็ว ลกั ษณะสมบตั ขิ องดนิ เป็นดินลึกปานกลาง ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ำตาลเข้มถึงน้ำตาล ปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่าง ตอนบนเป็นดินเหนยี ว สีแดงปนเหลืองถึงแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรด ปานกลาง (pH 5.5-6.0) ตอนล่างเป็นดินเหนียวมีเศษหินปะปนหนาแน่น และส่วนใหญ่พบชั้นหินพื้นภายในความลึก 100 เซนติเมตร. สีน้ำตาลปนแดง หรอื น้ำตาลปนเหลอื ง ปฏิกิรยิ าดินเปน็ กรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5-7.0) ขอ้ จำกดั เปน็ ดนิ ลกึ ปานกลาง รากของพชื ทมี่ ีระบบรากลึกอาจถูกจำกัดการเจริญเติบโต สภาพพ้ืนทม่ี คี วามลาดชันสงู ดินเกิดการชะลา้ งพงั ทลายได้งา่ ย 11) ดินคล้ายชุดดนิ วงั สะพุงทีม่ สี นี ้ำตาล (Ws-br) การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs สภาพพ้ืนที่ ลกู คลน่ื ลอนลาดเล็กนอ้ ย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซน็ ต์ ภูมสิ ัณฐาน เชงิ เขา เนนิ เขา หรอื บรเิ วณพืน้ ท่เี หลือคา้ งจากการกดั กร่อน วตั ถุต้นกำเนิดดิน การผุพังสลายตัวอยู่กับที่และเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหิน ตะกอนเนอื้ ละเอียดหรอื หนิ ในกลุม่ และหินท่แี ปรสภาพ การระบายนำ้ ดี การซึมผ่านได้ของนำ้ ปานกลาง การไหลบา่ ของนำ้ บนผิวดนิ ปานกลางถงึ เร็ว ลกั ษณะสมบัตขิ องดนิ เป็นดินลึกปานกลาง ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ำตาลเข้มถึงน้ำตาล ปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่าง ตอนบนเป็นดินเหนียว สีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปาน กลาง (pH 5.5-6.0) ตอนล่างเป็นดินเหนียวมีเศษหินปะปนหนาแน่น และ ส่วนใหญ่พบชั้นหินพื้นภายในความลึก 100 เซนติเมตร สีน้ำตาลปนเหลืองถึงสี นำ้ ตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปน็ กรดจดั ถึงเปน็ กลาง (pH 5.5-7.0) ข้อจำกัด เปน็ ดินลกึ ปานกลาง รากของพืชที่มีระบบรากลกึ อาจถูกจำกดั การเจริญเติบโต สภาพพน้ื ทมี่ ีความลาดชนั สูง ดนิ เกิดการชะล้างพังทลายได้งา่ ย 12) ดนิ คล้ายชุดดินวังสะพงุ ทเ่ี ป็นดนิ ลกึ มาก (Ws-vd) การจำแนกดนิ (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Ultic Paleustalfs สภาพพืน้ ท่ี ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอ้ ย มคี วามลาดชนั 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

134 ภมู ิสณั ฐาน เชงิ เขา เนนิ เขา หรอื บรเิ วณพ้ืนทเี่ หลือค้างจากการกัดกร่อน วัตถุต้นกำเนดิ ดนิ การผุพังสลายตัวอยู่กับที่และเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหิน ตะกอนเนอื้ ละเอยี ดหรอื หนิ ในกลมุ่ และหินท่ีแปรสภาพ การระบายน้ำ ดี การซมึ ผา่ นไดข้ องนำ้ ปานกลาง การไหลบา่ ของน้ำบนผวิ ดิน ปานกลางถึงเรว็ ลกั ษณะสมบตั ิของดิน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนดนิ เหนียว สีน้ำตาลเข้มถึงน้ำตาลปนเทา เข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็นดิน เหนียว สีน้ำตาลปนเหลืองถงึ สนี ้ำตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรด ปานกลาง (pH 5.5-6.0) ข้อจำกัด สภาพพื้นทมี่ คี วามสูงชัน ดนิ เกดิ การชะลา้ งพงั ทลายไดง้ ่าย 13) ดินคลา้ ยชดุ ดินวงั สะพงุ ท่ีมีจุดประสีเทาและเปน็ ดินลึกมาก (Ws-gm,vd) การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Aquic Paleustalfs สภาพพนื้ ท่ี ลกู คลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซน็ ต์ ภมู ิสัณฐาน เชงิ เขาของบรเิ วณเนินเขา วัตถุตน้ กำเนดิ ดนิ การผุพังสลายตัวอยู่กับที่และเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหิน ตะกอนเนอ้ื ละเอียดหรือหินในกลมุ่ และหนิ ท่ีแปรสภาพ การระบายน้ำ ดีปานกลางถึงคอ่ นข้างเลว การซึมผา่ นไดข้ องน้ำ ปานกลาง การไหลบ่าของน้ำบนผวิ ดนิ ปานกลางถงึ เรว็ ลกั ษณะสมบัตขิ องดนิ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ำตาลปนเทาถึงน้ำตาลปน เทาเข้ม พบจุดประสีเหลือหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็น กลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างตอนบนเป็นดนิ เหนยี ว สีน้ำตาลปนเทา สีน้ำตาล พบ จุดประสีเหลือหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ตอนล่างเป็นดินเหนียว มีสีน้ำตาลปนแดงหรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดนิ เปน็ กรดจดั ถงึ เปน็ กลาง (pH 5.5-7.0) ข้อจำกดั มีคันนา ทำมีการระบายน้ำค่อนข้างเลว อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตต่อพืชที่ ไม่ชอบน้ำ 14) พ้นื ทลี่ าดชันเชงิ ซอ้ น (SC) ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ดินที่พบบริเวณ ดังกล่าวมีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ ชนิดของหนิ ต้นกำเนดิ ในบริเวณนน้ั มกั มีเศษหนิ กอ้ นหิน หรือหนิ พืน้ โผลก่ ระจัดกระจายท่วั ไป ข้อจำกัด สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเกษตรกรรม ยากต่อ การดูแลรักษา เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรงและ ทำลายระบบนิเวศวิทยาของสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ จึงควรมีการศึกษาดินก่อน และทำการเกษตรแบบวนเกษตร เพื่อรักษาระบบนิเวศของป่าไม้ไม่ให้เสื่อม โทรม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook