35 ของการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งส่งผลต่อการชะล้างพังทลายของดินด้วย โดยเฉพาะพืชไร่ เช่น ข้าวโพด ซ่ึง เป็นพืชเศรษฐกิจที่ปลูกเป็นส่วนใหญ่และปลูกในพ้ืนที่ที่มีความลาดชันสูง ทำให้ดินมีอัตราการถูกชะล้าง พังทลายของดินสูง เนื่องจากปลูกในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและมีสิ่งปกคลุมผิวหน้าดินน้อย ส่งผลทำให้ ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง รวมทั้งในพื้นที่มีการใช้เครื่องจักรกลในการไถพรวนดินบ่อยครั้ง เป็น สาเหตุสำคญั ที่ทำให้สมบตั ิดนิ ทางกายภาพลดลง และสง่ เสรมิ ให้เกดิ การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เพม่ิ สงู ข้ึน ตารางท่ี 3-3 ทรัพยากรดินในพนื้ ท่ีล่มุ น้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวัดน่าน ลำดบั สญั ลักษณ์ คำอธบิ าย เนอ้ื ท่ี ไร่ ร้อยละ 1 AC-mw,col- ตะกอนนำ้ พาเชิงซอ้ นที่มีการระบายนำ้ ดีปานกลางและเป็นดนิ รว่ นหยาบ 322 0.35 slA มเี นือ้ ดินบนเป็นดินรว่ นปนทราย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซน็ ต์ 2 Cg-br-clB ดินคล้ายชุดดินเชยี งของที่เป็นดินสนี ้ำตาล มเี นอื้ ดินบนเป็นดนิ ร่วน 201 0.22 ปนดนิ เหนียว ความลาดชนั 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ 3 Li-gclC ชุดดินลี้ มีเนือ้ ดนิ บนเปน็ ดินร่วนปนดินเหนียว ปนกรวด ความลาด 4,558 4.97 ชัน 5-12 เปอรเ์ ซน็ ต์ 4 Li-gclD/st ชดุ ดินลี้ มเี น้ือดนิ บนเปน็ ดินรว่ นปนดนิ เหนยี ว ปนกรวด ความลาด 599 0.65 ชนั 12-20 เปอรเ์ ซ็นต์ ปนก้อนหนิ 5 Mr-gslB ชดุ ดนิ แมร่ มิ มเี นอื้ ดนิ บนเป็นดนิ รว่ นปนทราย ปนกรวด ความลาด 647 0.71 ชัน 2-5 เปอร์เซน็ ต์ 6 Mr-gslC ชุดดนิ แม่รมิ มีเน้ือดินบนเป็นดินรว่ นปนทราย ปนกรวด ความลาด 449 0.49 ชนั 5-12 เปอร์เซ็นต์ 7 Mt-clC ชุดดินแมแ่ ตง มเี น้ือดินบนเป็นดินรว่ นปนดนิ เหนยี ว ความลาดชัน 2,199 2.40 5-12 เปอรเ์ ซน็ ต์ 8 Na-br-siclA ดินคล้ายชุดดินนา่ นทเ่ี ป็นดินสีน้ำตาล มเี น้อื ดินบนเป็นดินร่วน 3,029 3.30 เหนียวปนทรายแปง้ ความลาดชนั 0-2 เปอรเ์ ซน็ ต์ 9 Na-fsi-silA ดนิ คลา้ ยชดุ ดนิ น่านท่เี ปน็ ดนิ ทรายแป้งละเอียด มเี นอ้ื ดนิ บนเปน็ ดนิ 154 0.17 ร่วนปนทรายแป้ง ความลาดชนั 0-2 เปอร์เซน็ ต์ 10 Pae-slB ชดุ ดินแพร่ มเี นือ้ ดินบนเป็นดินรว่ นปนทราย ความลาดชนั 2-5 460 0.50 เปอรเ์ ซ็นต์ 11 Pae-slC ชุดดนิ แพร่ มเี นอ้ื ดนิ บนเปน็ ดนิ รว่ นปนทราย ความลาดชนั 5-12 540 0.59 เปอรเ์ ซน็ ต์ 12 Sp-slB ชุดดินสันป่าตอง มีเนื้อดนิ บนเป็นดนิ ร่วนปนทราย ความลาดชัน 2- 593 0.65 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ 13 Ws-br-clB ดินคลา้ ยชดุ ดนิ วงั สะพงุ ทเ่ี ปน็ ดนิ สนี ้ำตาล มเี นื้อดนิ บนเป็นดินร่วน 2,249 2.45 ปนดินเหนียว ความลาดชนั 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ 14 Ws-clB ชุดดินวังสะพงุ มเี นอ้ื ดินบนเป็นดนิ ร่วนปนดนิ เหนยี ว ความลาดชนั 449 0.49 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
36 ตารางที่ 3-3 ทรัพยากรดินในพื้นที่ล่มุ นำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น (ต่อ) ลำดับ สญั ลักษณ์ คำอธิบาย เน้ือที่ 15 Ws-clC ไร่ ร้อยละ ชุดดินวงั สะพงุ มีเนื้อดินบนเป็นดนิ ร่วนปนดินเหนยี ว ความลาดชนั 2,497 2.72 16 Ws-vd-clB 5-12 เปอร์เซน็ ต์ 1,177 1.28 17 Ws-vd,gm- ดินคลา้ ยชดุ ดินวงั สะพงุ ท่ีเปน็ ดินลกึ มาก มีเนื้อดนิ บนเป็นดนิ clB/b รว่ นปนดนิ เหนยี ว ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซน็ ต์ 664 0.72 ดนิ คลา้ ยชดุ ดินวงั สะพุงทีเ่ ปน็ ดนิ ลกึ มากและมจี ุดประสเี ทา มี 18 SC เนื้อดนิ บนเป็นดินรว่ นปนดินเหนียว ความลาดชนั 2-5 68,030 74.20 19 U เปอรเ์ ซ็นต์ มีคนั นา 2,048 2.23 20 W พน้ื ทลี่ าดชนั เชิงซอ้ น (ความลาดชนั มากกวา่ 35 เปอร์เซ็นต์) พ้ืนทช่ี ุมชนและส่ิงปลูกสร้าง 831 0.91 พืน้ ท่ีแหล่งนำ้ 91,696 100.00 รวมเนือ้ ท่ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
37 ภาพท่ี 3-4 ทรัพยากรดนิ พ้ืนทีล่ มุ่ นำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
38 สภาพปัญหาและข้อจำกัดของดนิ สภาพปัญหาและข้อจำกัดของดินในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหงส่วนใหญ่ ความลาดชันเชิงซอ้ น มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ เสี่ยงต่อการขาดแคลนนำ้ และการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เนื่องจากพื้นที่มี โดยแยกเป็น 4 ประเภทหลัก (กรมพฒั นาทดี่ ิน, 2561) (ตารางท่ี 3-4 ภาพที่ 3-5) โดยมรี ายละเอียด พอสังเขป ดังนี้ 1) ปัญหาการใชท้ ่ีดินไมต่ รงตามศกั ยภาพของดิน (ทดี่ อนทำนา) เปน็ ดนิ ทอ่ี ยใู่ นทดี่ อนทมี่ ีการทำคันนาขังนำ้ เพื่อปลูกข้าว (การใชท้ ี่ดนิ อย่างไมถ่ กู ต้อง) เสี่ยงตอ่ การ ขาดนำ้ ยามฝนทง้ิ ชว่ ง สภาพปญั หานี้พบครอบคลุมเนื้อทร่ี วม 664 ไร่ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 0.72 ของเน้ือท่ี ทัง้ หมด ได้แก่ Ws-vd,gm-clB/b 2) ปญั หาดนิ ค่อนขา้ งเปน็ ทรายและความอดุ มสมบรู ณ์ของดินตำ่ ท่ีบนพนื้ ทีด่ อน เป็นดินที่มีเนื้อดินบนค่อนข้างเป็นทราย มีความสามารถในการอุม้ น้ำต่ำและดูดซับแร่ธาตุอาหาร ได้น้อย จึงมีความอุดมสมบูรณ์ธรรมชาติต่ำ เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย สภาพปัญหานี้พบครอบคลุม เนอื้ ท่ีรวม 915 ไร่ หรือคิดเปน็ ร้อยละ 1.00 ของเนอ้ื ที่ท้ังหมด ได้แก่ หนว่ ยแผนที่ดิน AC-mw, col-slA และ Sp-slB 3) ปัญหาดนิ มคี วามอุดมสมบรู ณต์ ำ่ บนพน้ื ท่ดี อน เมื่อพิจารณาหลักเกณฑ์การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินในประเทศไทยนั้น กรมพัฒนา ที่ดินใช้เกณฑ์การประเมินจากค่าวิเคราะห์ดิน 5 รายการ คือ ร้อยละปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณ ฟอสฟอรสั ท่ีเปน็ ประโยชน์ ปริมาณโพแทสเซยี มทเี่ ปน็ ประโยชน์ ความจุแลกเปลยี่ นแคตไอออน และอัตรา ร้อยละความอิ่มตัวเบส ซึ่งแต่ละรายการจะมีเกณฑ์ประเมินเป็นค่าสูง ปานกลาง ต่ำ เนื่องจากสภาพทาง ธรรมชาติ โดยดินมีวัตถุต้นกำเนิดดินที่มีแร่ธาตุอาหารตามธรรมชาติต่ำ ประกอบกับมีการใช้ประโยชน์ ที่ดินอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการปรับปรุงบำรงุ ดินเท่าที่ควร ทำให้ดินเสื่อมโทรม ความอุดมสมบูรณ์ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตช้า ผลผลิตตกต่ำ คุณภาพไม่ดี สภาพปัญหาน้ี พบครอบคลุมเนื้อทีร่ วม 3,400 ไร่ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 3.71 ของเนื้อท่ีท้ังหมด ได้แก่ หนว่ ยแผนทดี่ ิน Pae- slB Pae-slC Cg-br-clB และ Mt-clC 4) ปญั หาดินตน้ื เป็นดินท่ีเปน็ ชั้นดินหนาประมาณ 50 เซนติเมตร ส่วนใหญ่มีเนื้อดินเป็นดนิ ร่วน ดินร่วนปนทราย และดินร่วนปนดินเหนียว ชั้นถัดไปเป็นชั้นดินมีเนื้อดินเปน็ ดินรว่ นปนทราย ดินร่วนปนดินเหนียวและดนิ เหนียวที่มีปริมาณกรวด หรือเศษหินปะปนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 35 โดยปริมาตร หรือพบหินพื้น ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดนิ จากลักษณะของดนิ ดังกล่าวถือเปน็ อปุ สรรคต่อการเจริญเติบโต ของพืชด้านการชอนไชของรากพืช ทำให้การเกาะยึดตัวของดินไม่ดี ยากแก่การไถพรวน เกิดการชะล้าง พังทลายได้ง่าย สภาพปัญหานี้พบครอบคลุมเนื้อที่รวม 6,253 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 6.82 ของเนื้อที่ ทง้ั หมด แบง่ ดินตน้ื ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื (1) ดินตื้นถึงชั้นก้อนกรวด ลูกรังหรือเศษหินบนพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 1,096 ไร่ หรือร้อยละ 1.20 ของเนอื้ ทที่ ้ังหมด ไดแ้ ก่ หนว่ ยแผนทด่ี นิ Mr-gslB และ Mr-gslC แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
39 (2) ดนิ ตนื้ ชนั้ หนิ พื้นบนพ้นื ทีด่ อน มีเน้อื ท่ี 5,157 ไร่ หรือร้อยละ 5.62 ของเนอ้ื ท่ีทงั้ หมด ได้แก่ หน่วยแผน ที่ดิน Li-gclC และ Li-gclD/st 5) ปัญหาพนื้ ที่มคี วามลาดชันสูง พนื้ ทท่ี ่ีมีความลาดชนั สูง มคี วามลาดชนั มากกวา่ 35 เปอรเ์ ซ็นต์ สว่ นใหญม่ สี ภาพการใช้ที่ดินเป็น ป่าไม้ เหมาะที่จะนำมาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร และมีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินสูง สภาพปัญหานี้พบครอบคลุมเนื้อที่รวม มีเนื้อที่ 68,030 ไร่ หรือร้อยละ 74.20 ของเนื้อที่ทั้งหมด ได้แก่ หน่วย แผนท่ีดิน SC (ตาราง 3-4 ภาพที่ 3-5) นอกจากน้ยี ังมดี นิ ท่ีมีความอุดมสมบูรณป์ านกลาง มีเนือ้ ที่รวม 9,555 ไร่ หรอื ร้อยละ 10.41 ของ เน้อื ที่ทงั้ หมด ไดแ้ ก่ ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางในพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ 3,183 ไร่ หรือร้อยละ 3.47 ของเนื้อท่ี ทั้งหมด ไดแ้ ก่ หนว่ ยแผนทดี่ ิน Na-fsi-silA และ Na-br-siclA ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางบนพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 6,372 ไร่ หรือร้อยละ 6.94 ของเนื้อท่ี ทัง้ หมด ได้แก่ หนว่ ยแผนท่ีดิน Ws-br-clB Ws-clB Ws-clC และ Ws-vd-clB และพื้นที่อื่น ๆ มีเนื้อที่ 2,879 ไร่ หรือร้อยละ 3.14 ของเนื้อที่ทั้งหมด ได้แก่ หน่วยแผนทีด่ ิน U และ W ตารางท่ี 3-4 สภาพปัญหาของดนิ ในพ้ืนทีล่ มุ่ นำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดน่าน คำอธิบาย เน้อื ท่ี ไร่ รอ้ ยละ 1) ปัญหาการใชท้ ี่ดนิ ไมต่ รงตามศกั ยภาพของดิน (ท่ีดอนทำนา) 2) ปัญหาดินค่อนข้างเป็นทรายและความอุดมสมบรู ณ์ของดินต่ำ 664 0.72 ท่ีบนพ้ืนท่ดี อน 915 1.00 3) ปัญหาดนิ มคี วามอุดมสมบรู ณต์ ำ่ บนพ้ืนทดี่ อน 4) ปญั หาดนิ ตืน้ 3,400 3.71 6,253 6.82 4.1) ดนิ ตืน้ ถึงชนั้ กอ้ นกรวด ลกู รัง หรือเศษหินบนพื้นที่ดอน 1,096 1.20 4.2) ดินตน้ื ถึงชน้ั หินพนื้ บนพื้นทดี่ อน 5,157 5.62 5) ปัญหาพื้นที่มคี วามลาดชนั สูง 68,030 74.20 6) ดนิ ท่ีมีความอุดมสมบรู ณ์ปานกลาง 9,555 10.41 6.1) ดินท่มี ีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางในพืน้ ทล่ี ุ่ม 3,183 3.47 6.2) ดินทม่ี คี วามอุดมสมบูรณ์ปานกลางบนพนื้ ที่ดอน 6,372 6.94 7) อน่ื ๆ 2,879 3.14 91,696 100.00 รวมเนอ้ื ที่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
40 ภาพที่ 3-5 สภาพปญั หาทรัพยากรดนิ พืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั น่าน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
41 พ้นื ทล่ี ่มุ น้ำหว้ ยนำ้ แหง ลกั ษณะลุ่มน้ำวางตัวตามแนวทิศตะวนั ตก-ตะวนั ออก เป็นสว่ นหนงึ่ ของลมุ่ นำ้ สาขานำ้ แหง โดยมีรายละเอียด (ภาพท่ี 3-6) ดังน้ี ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (0910) เป็นลุ่มน้ำสาขาที่อยู่ตอนกลางของลุ่มน้ำน่าน ครอบคลุมพื้นท่ี อำเภอนาหมน่ื อำเภอนานอ้ ย และอำเภอเวยี งสา จังหวัดนา่ น สภาพภูมิประเทศส่วนใหญเ่ ป็นภเู ขาลาดชัน มีแม่น้ำสายสำคัญ คือ น้ำแหง ซึ่งมีต้นกำเนิดจากสันปันน้ำขุนสถาน (แบ่งระหว่างลุ่มน้ำยมที่อำเภอร้อง กวาง) ความสูง 900 เมตร ที่ระดับน้ำทะเลปานกลาง ไหลลงสู่แม่น้ำน่านทางฝั่งขวา มีพื้นที่การ เกษตรกรรมเพียงเล็กนอ้ ยตามทร่ี าบช่องเขา ลำน้ำท่สี ำคญั อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ หว้ ยเขียด ห้วยชา้ ง หว้ ยชา้ งนอ้ ย ห้วยนาราบ ห้วยน้ำจำ ห้วยน้ำสระ ห้วยน้ำแหง ห้วยปง ห้วยเปา ห้วยเหมืองซี ห้วยเหมืองร่อง และห้วยฮูด เป็นต้น สำหรับแหล่งน้ำที่สำคัญใน พน้ื ที่ ได้แก่ อ่างเกบ็ นำ้ น้ำแหง และสระหว้ ยปู - แหล่งน้ำที่มีอยู่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากมีขนาดเล็กและตื้นเขิน ขาดระบบสง่ นำ้ และเครื่องสบู นำ้ ตลอดจนการบรหิ ารจดั การทีด่ ี - ขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ตลอดจนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะในช่วง ฤดแู ล้งในบรเิ วณพื้นทีใ่ กลล้ ำนำ้ หรือแหลง่ น้ำขนาดเล็ก - การบุกรุกพื้นที่แหล่งน้ำจากชาวบ้าน บริเวณแหล่งน้ำหลายสายถูกบุกรุกจากชาวบ้าน เพือ่ นำไปใช้เปน็ พื้นท่เี พาะปลกู โดยเฉพาะการปลูกพืชสวนและไรน่ า เป็นตน้ - คุณภาพนำ้ ในลำนำ้ สายสำคญั บางสายเสื่อมโทรม เนือ่ งจากการปนเป้ือนของสารเคมีทาง การเกษตรสู่ลำน้ำโดยตรง - การพัฒนาพื้นที่แหล่งน้ำที่มีอยู่ไม่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมี ศกั ยภาพในการเกบ็ และการระบายนำ้ - ปัญหาน้ำท่วมฉับพลันที่เกิดข้ึนในบางชุมชน เนื่องจากลำน้ำมคี วามลาดชันสูง ไม่มีแหล่ง เกบ็ กักนำ้ และชะลอการไหลของน้ำ อกี ท้ังยงั เปน็ พ้ืนทที่ ีเ่ ปน็ ทางผา่ นของนำ้ อีกด้วย แนวโน้มในอนาคตสถานการณ์ปัญหาของแหล่งน้ำ เช่น ปัญหาการขาดแคลนน้ำใช้ในช่วง ฤดูแล้ง ปัญหาน้ำท่วมในชว่ งฤดฝู นทีเ่ กิดขึ้นในบางพื้นท่ี ปัญหาการบกุ รุกพื้นทีแ่ หล่งน้ำ ปัญหาการพัฒนา พื้นที่แหล่งน้ำ และปัญหาคุณภาพแหล่งน้ำ ในอนาคตเมื่อคำนงึ ถึงความต้องการที่เพิม่ ขึ้นของการใช้น้ำใน ดา้ นตา่ ง ๆ อนั เน่อื งมาจากการเพ่ิมขึ้นของประชากร การเจริญเตบิ โตด้านเศรษฐกิจ และสงั คม ซึ่งจะทำให้ เกิดความไม่สมดุลในด้านการใช้น้ำและทรัพยากรธรรมชาติอื่นที่เกี่ยวข้อง อาจก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา ปัญหาเหล่านีย้ งั คงเปน็ ปัญหาสำคัญที่ควรไดร้ ับการแกไ้ ขอยา่ งต่อเนื่อง แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
42 ภาพที่ 3-6 เสน้ ทางน้ำและเสน้ ทางคมนาคมในพื้นที่ลมุ่ น้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อยจังหวดั นา่ น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง
43 จากการศกึ ษาสภาพพ้นื ท่ีของลุม่ นำ้ คอื ลมุ่ น้ำ A มพี น้ื ทร่ี ับน้ำเท่ากับ 90.80 ตารางกิโลเมตร (56,750 ไร)่ และพ้นื ท่รี บั น้ำ B มีพนื้ ท่ีรบั นำ้ เท่ากับ 55.91 ตารางกิโลเมตร (34,946 ไร)่ โดยภายในลุ่มน้ำ จะมลี ำนำ้ ลำห้วยไหลลงสลู่ ำนำ้ สายหลกั จงึ สามารถแบ่งพื้นทภี่ ายในเปน็ ล่มุ นำ้ ย่อยไดอ้ ีก A B ภาพที่ 3-7 พน้ื ทีล่ ุ่มน้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวัดนา่ น ปริมาณน้ำทา่ โดยวิธี Reginal Runoff equation จากการคำนวณปริมาณน้ำท่า ด้วยวิธี Reginal Runoff equation ซึ่งอาศัยความสัมพันธ์แบบรี เกรซชั่น (regression) ระหว่างปริมาณน้ำนองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ำฝน ซึ่งจากข้อมูลพื้นที่ลุ่มน้ำ ไดแ้ ก่ พน้ื ทรี่ บั น้ำ A และพ้นื ทร่ี ับน้ำ B มีพื้นท่รี ับน้ำเท่ากบั 90.80 และ 55.91 ตารางกโิ ลเมตร ตามลำดับ สามารถคำนวณปริมาณนำ้ ท่าได้จากสมการ ������ = 0.248������1.007 (4) สามารถวิเคราะห์ปริมาณน้ำเฉลี่ยรายปีและพื้นที่รับน้ำที่ได้จากสมการที่ 3 เท่ากับ 22.36 และ 26.07 ล้าน ลกู บาศก์เมตร ตามลำดับ แสดงให้เห็นวา่ ล่มุ นำ้ ทัง้ สองมีศักยภาพในการพฒั นาด้านการเก็บกักน้ำท่า เพ่ือใช้ในพน้ื ที่การเกษตรได้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
44 ภาพที่ 3-8 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาณนำ้ ท่าเฉล่ียรายปีและพนื้ ทรี่ บั น้ำฝนของล่มุ นำ้ นา่ น ท่มี า : กรมชลประทาน (2563) แนวทางหน่งึ ในการแกป้ ญั หาทรัพยากรนำ้ ของพ้นื ท่ีควรเร่ิมตน้ ท่ชี ุมชนและท้องถ่ิน คือการ พัฒนาแหล่งน้ำของชุมชนและท้องถิ่นว่าควรเป็นการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำขนาดเล็กที่ ด้วยเหตุผลของ ข้อจำกัดในงบประมาณ ความรวดเร็ว และการจัดการภายในพืน้ ทีเ่ ฉพาะ การพัฒนาแหลง่ นำ้ ขนาดเล็กจงึ เป็นทางเลือกที่เหมาะสมและมีความสำคัญต่อชุมชนดังนั้น เพื่อให้เกิดภาพรวมในการแก้ไขปัญหา ทรัพยากรน้ำของพ้ืนท่ใี หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและมคี วามเช่ือมโยงกันระหวา่ งการพฒั นาทรพั ยากรนำ้ และมิติอื่น ๆ ทั้งในด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ การฟื้นฟูสภาพป่า และการใช้ที่ดิน อย่างเป็นรูปธรรม ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในศักยภาพของพน้ื ทที่ ้องถ่นิ ของตนเองว่ามปี รมิ าณต้นทนุ เดิมและความเป็นไปได้ในการพัฒนา ทรัพยากรน้ำเพ่ิมมากขึ้นเพยี งใดในพน้ื ท่ีศกึ ษาลุ่มน้ำห้วยน้ำแหงที่ผา่ นมาในด้านการพฒั นาแหล่งน้ำต้นทุน ไมไ่ ดม้ โี ครงการขนาดใหญม่ ีเพียงโครงการพฒั นาแหล่งนำ้ ขนาดเลก็ โดยหนว่ ยงานต่าง ๆ (ตารางที่ 3-5) ตารางที่ 3-5 แหลง่ น้ำตน้ ทุนท่ดี ำเนินการผา่ นโครงการพัฒนาแหล่งนำ้ ตน้ ทนุ อำเภอนาน้อย จังหวัดนา่ น ลำดับท่ี ประเภทโครงการ บา้ น ตำบล อำเภอ จงั หวัด หนว่ ยงาน 1 อา่ งเกบ็ น้ำ นาอดุ ม นานอ้ ย นานอ้ ย น่าน กรมชลประทาน 2 อา่ งเกบ็ น้ำ นาอดุ ม นานอ้ ย นานอ้ ย นา่ น กรมชลประทาน 3 อ่างเกบ็ น้ำ สัน เชียงของ นาน้อย น่าน กรมชลประทาน 4 อา่ งเกบ็ น้ำ แต เชยี งของ นานอ้ ย นา่ น กรมชลประทาน 5 อา่ งเกบ็ นำ้ นำ้ หก ศรีษะเกษ นานอ้ ย นา่ น กรมชลประทาน 6 อา่ งเก็บนำ้ หว้ ยเลา ศรษี ะเกษ นานอ้ ย น่าน กรมชลประทาน 7 อา่ งเกบ็ นำ้ หนองบวั ศรีษะเกษ นาน้อย น่าน กรมชลประทาน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง
45 ตารางที่ 3-5 แหลง่ นำ้ ต้นทุนท่ีดำเนินการผา่ นโครงการพฒั นาแหลง่ นำ้ ตน้ ทุน อำเภอนานอ้ ย จังหวัดนา่ น (ตอ่ ) ลำดบั ท่ี ประเภทโครงการ บ้าน ตำบล อำเภอ จงั หวดั หน่วยงาน 8 อ่างเก็บนำ้ หนองบวั ศรีษะเกษ นาน้อย น่าน กรมชลประทาน 9 อา่ งเกบ็ นำ้ หนองบวั ศรีษะเกษ นานอ้ ย น่าน กรมพฒั นาท่ดี ิน 10 อ่างเก็บน้ำ หนองผำ ศรีษะเกษ นาน้อย นา่ น กรมพัฒนาทีด่ ิน 11 อา่ งเกบ็ นำ้ หนอง ศรษี ะเกษ นาน้อย นา่ น กรมพัฒนาที่ดนิ 12 อ่างเก็บนำ้ นาไค้ บวั ใหญ่ นานอ้ ย นา่ น กรมพฒั นาที่ดนิ 13 อ่างเกบ็ น้ำ นาดอย สถาน นาน้อย น่าน กรมพฒั นาท่ีดนิ 14 อา่ งเกบ็ น้ำ เชตวัน สันทะ นาน้อย นา่ น กรมพัฒนาทด่ี นิ พื้นทปี่ า่ ไม้ในเขตป่าตามกฎหมายวิเคราะห์ จากการซ้อนทับข้อมูลพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ (เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ ป่า อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน) พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (เขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ใน พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ) พื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ป่าไม้ ถาวรนอกเขตป่า เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แปลงที่ดินทำกินตามนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) และสภาพการใชท้ ด่ี นิ ในพน้ื ท่โี ครงการ พบวา่ มสี ถานภาพของทรัพยากรป่าไม้ (ตารางที่ 3-6) ตารางที่ 3-6 สถานภาพทรพั ยากรป่าไมใ้ นพ้นื ท่ลี ุม่ นำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน สถานภาพทรัพยากรปา่ ไม้ เนอ้ื ที่ ไร่ ร้อยละ พ้ืนท่ีในเขตปา่ ตามกฎหมาย 78,863 67.68 1) พืน้ ที่ป่าสมบูรณ์ 35,389 20.27 2) พ้ืนที่ปา่ รอสภาพฟ้นื ฟู 1,255 1.37 3) พนื้ ที่มีการใช้ประโยชน์เพ่อื เกษตรกรรม 40,170 43.81 - นาขา้ ว 623 0.68 - พืชไร่ 16,910 18.44 - ไม้ยนื ต้น 8,792 9.59 - ไมย้ ืนตน้ /ไม้ผล 12 0.01 - ไม้ผล 1,024 1.12 - พืชไร่หมนุ เวยี น 12,809 13.97 4) พน้ื ท่ีเบด็ เตลด็ 453 0.49 5) พื้นทชี่ มุ ชนและสง่ิ ปลูกสรา้ ง 828 0.90 6) พ้นื ทน่ี ำ้ 768 0.84 หมายเหตุ: เน้ือทป่ี ่าไม้ตามกฎหมายและปา่ ตามมติคณะรฐั มนตรี คำนวณดว้ ยระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง
46 ขอ้ มลู ขอบเขตท่ดี ินของรฐั ด้านทรพั ยากรปา่ ไม้ (ตารางท่ี 3-7) ตารางที่ 3-7 ข้อมูลที่ดนิ ของรัฐทีใ่ ชร้ ่วมในการวเิ คราะห์ดา้ นทรพั ยากรปา่ ไม้ อำเภอนาน้อย จงั หวดั นา่ น หนว่ ยงาน และขอ้ มูลประเภทที่ดิน สถานะทางกฎหมาย 1. กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธ์ุพืช 1.1 อทุ ยานแห่งชาติ แผนท่แี นบทา้ ย พระราชกฤษฎกี า(พระราชบัญญัติ อทุ ยานแหง่ ชาติ พ.ศ.2504 และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม) 1.2 เขตรักษาพันธุ์สตั วป์ า่ แผนทแี่ นบทา้ ย พระราชกฤษฎกี า(พระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตวป์ า่ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัตสิ งวนและคุ้มครองสตั วป์ า่ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2546 และพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสตั ว์ปา่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2557) 1.3 เขตหา้ มลา่ แผนทแี่ นบทา้ ยประกาศกฎกระทรวง 1.4 วนอุทยาน ไม่ระบุ 2. กรมป่าไม้ 2.1 ปา่ สงวนแห่งชาติ ป่าสงวนแห่งชาติ โดยกฎกระทรวง ตาม พ.ร.บ. ปา่ สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ.2507และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม 2.2 เขตการจำแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ มติคณะรัฐมนตรี วนั ท่ี 10 และ 17 มนี าคม 2535 ทรัพยากรและดนิ ป่าไม้ในเขตป่า สงวนแหง่ ชาติ 3. สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ชนั้ คุณภาพลมุ่ นำ้ มตคิ ณะรัฐมนตรี 4. กรมพฒั นาท่ีดนิ ป่าไม้ถาวร มติคณะรฐั มนตรี 5. สำนกั งานปฏริ ปู ทีด่ นิ เพอื่ เกษตรกรรม เขตปฏริ ูปทด่ี นิ (ส.ป.ก.) แผนทแ่ี นบทา้ ย พระราชกฤษฎีกา (พระราชบญั ญัตกิ ารปฏริ ูปท่ีดิน เพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ.2518) 6. คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แห่งชาติ (คทช.) แปลงที่ดินทำกนิ ตามนโยบายทีด่ นิ แห่งชาติ มติคณะรัฐมนตรี (คทช.) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
47 เมือ่ จำแนกพน้ื ท่ีป่าไม้ตามข้อกำหนดการใชท้ ่ีดนิ ประเภทและวัตถุประสงค์ของการประกาศเขตป่าไม้ ตามกฎหมาย (แนวเขตป่าไม้และที่ดินของรัฐประเภทอื่นไม่ชัดเจนและมีการทับซ้อนกัน) สามารถจำแนก พนื้ ท่ใี นพ้ืนท่ีลมุ่ นำ้ ได้ดงั นี้ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหงอยู่ในเขตพื้นที่เตรียมการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติขุนสถาน (กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2560) เนื้อที่ประมาณ 8,037 ไร่ หรือร้อยละ 8.76 ของเนื้อท่ี โครงการฯ การจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติตามมติ คณะรัฐมนตรี วันท่ี 10 และ 17 มนี าคม 2535 ไดใ้ หค้ วามเห็นชอบตามมติของคณะกรรมการ นโยบายป่า ไม้แห่งชาติ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินปา่ ไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งได้จำแนกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ออกเป็น 3 เขต ดังนี้ เขตพื้นที่ป่าเพื่อการ อนุรักษ์ (โซน C) เขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) และเขตพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A) เมือ่ จำแนกป่าตามเขตป่าสงวนแห่งชาติ พบว่า พื้นท่ีลมุ่ นำ้ หว้ ยน้ำแหง อยูใ่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติหลายป่า (ตารางที่ 3-8) และสามารถจำแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (ตารางที่ 3-9) ตารางที่ 3-8 พน้ื ที่เขตป่าสงวนแหง่ ชาตใิ นพื้นทีล่ ่มุ นำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั นา่ น ป่าสงวนแห่งชาติ เนื้อที่ รอ้ ยละ ไร่ 91.05 พน้ื ทีป่ า่ สงวนแหง่ ชาติ 89.03 - ปา่ ฝงั่ ขวาแม่นำ้ นา่ นตอนใต้ 83,491 0.01 - ปา่ แม่คำมี 81,639 0.06 - ปา่ แม่สาครฝงั่ ขวา 1.95 - ป่าสาลกี 12 51 1,789 ท่มี า : กรมปา่ ไม้ (2560) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง
48 ตารางที่ 3-9 พื้นที่เขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั นา่ น เขตปา่ จำแนกในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เนอื้ ที่ รอ้ ยละ ไร่ 37.43 พื้นที่ปา่ อนุรักษ์ (โซน C) 34,326 54.42 พื้นทีป่ า่ เศรษฐกิจ (โซน E) 49,903 1.97 พืน้ ทป่ี า่ เกษตร (โซน A) 1,802 ท่ีมา : กรมปา่ ไม้ (2560) ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ เพื่อให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากรท่ี เหมาะสมจึงได้แบ่งพื้นที่ชั้นคุณภาพลุม่ น้ำออกเป็น 6 ชั้น คือ พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1A พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1B พื้นที่ ลุ่มน้ำชั้น 2 พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 3 พื้นท่ีลุ่มน้ำชั้น 4 และพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 5 จากข้อกำหนดการใช้ประโยชน์และ การจัดการพื้นที่ชั้นลุ่มน้ำคุณภาพต่าง ๆ สรุปสาระสำคัญได้ คือ การใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1 และ พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 2 ซึ่งเป็นพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญที่ต้องสงวนรักษาไว้เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารและ เป็นพื้นท่ีป่าไม้ของประเทศ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการ เปล่ยี นแปลงการใช้ทีด่ ินได้ง่ายและรุนแรง ไมค่ วรจะเปลย่ี นแปลงพ้ืนที่เพ่ือใช้ทำการเกษตร สำหรับการใช้ ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 3 4 และพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 5 นั้น ให้ใช้ทำการเกษตรได้แต่ต้องมีมาตรการตามข้อ กำหนดการใช้ประโยชน์พ้นื ทีล่ ุ่มน้ำ ได้แก่ มาตรการดา้ นการอนุรักษ์ดนิ และน้ำ และการป้องกนั การชะล้าง พงั ทลายของดิน เป็นตน้ ดงั นน้ั ข้อกำหนดตา่ ง ๆ จงึ มมี าตรการท่ีเขม้ งวดแตกต่างกัน เพ่อื ปอ้ งกันการเส่ือม โทรมของดิน และให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืนต่อไปพื้นที่โครงการฯ รายละเอียดแสดงใน ตารางที่ 3-10 ประกอบดว้ ย ชน้ั คณุ ภาพลุ่มน้ำ ดังน้ี 1) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1A เป็นพื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 ซึ่งมีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ก่อนปี 2525 โดยพื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไว้เป็นป่าตน้ น้ำลำธาร (ห้ามมีการใช้ประโยชน์อย่างอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ 3,468 ไร่ หรือร้อยละ 3.78 ของเน้ือท่ีทง้ั หมด 2) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 2 เป็นพื้นที่มีความลาดชันค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมต่อการเป็น ป่าต้นน้ำลำธาร และสามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อกิจการที่สำคัญ เช่น การทำเหมืองแร่ สวนยางพารา หรอื พืชทมี่ ีความมนั่ คงตอ่ เศรษฐกิจ มีเนอื้ ทปี่ ระมาณ 26,109 ไร่ หรอื ร้อยละ 28.47 ของเนอื้ ท่ที ้ังหมด 3) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 3 เป็นพื้นที่มีความลาดเทสูง สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจกรรมทำ ไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึกควรปลูกไม้ผล หรือไม้ ยนื ต้น แต่ถ้าเปน็ บรเิ วณที่เปน็ ดินต้ืนควรปลูกป่าและทุ่งหญ้า มีเนอื้ ทป่ี ระมาณ 49,568 ไร่ หรือร้อยละ 54.06 ของ เนอื้ ทที่ ั้งหมด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
49 4) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 4 เป็นพื้นที่มีความลาดชันตำ่ และป่าถูกบุกรุกเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ เพ่ือ กิจการทำไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นทีเ่ พื่อการเกษตรได้ โดยถ้าเป็นบรเิ วณที่เป็นดินลึก และมีความ ลาดชันมากควรปลูกไม้ผล แต่ถ้าเป็นบริเวณที่มีความลาดชันน้อยจะใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกพืชไร่ได้ มี เน้ือทป่ี ระมาณ 8,906 ไร่ หรอื ร้อยละ 9.71 ของเนอ้ื ท่ีทัง้ หมด 5) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 5 เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ 3,645 ไร่ หรือร้อยละ 3.98 ของเนื้อที่ ทั้งหมด ตารางที่ 3-10 พนื้ ทีช่ ้นั คุณภาพล่มุ น้ำในพื้นทีล่ มุ่ น้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น ชัน้ คณุ ภาพลมุ่ น้ำ เนอื้ ที่ รอ้ ยละ ไร่ พน้ื ท่ลี ุ่มน้ำชน้ั 1A 3.78 พื้นที่ลุ่มน้ำช้นั 2 3,468 28.47 พ้ืนที่ลุ่มนำ้ ชัน้ 3 26,109 54.06 พื้นทล่ี ่มุ นำ้ ชน้ั 4 49,568 9.71 พน้ื ที่ลุ่มน้ำช้นั 5 8,906 3.98 3,645 100.00 รวมเนื้อที่ 91,696 ทม่ี า: สำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2555) ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี เป็นแนวเขตที่ดินที่เห็นสมควรรักษาไว้เป็นเขตป่าไม้ โดยมีกรมป่าไม้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการนำพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้รักษาไว้เป็นป่าไม้ถาวร ในพ้ืนทโี่ ครงการฯ ประกอบดว้ ย พนื้ ทีเ่ ขตปา่ ไม้ถาวรนอกเขตปา่ ดงั นี้ (ตารางที่ 3-11) ตารางท่ี 3-11 พืน้ ทเี่ ขตปา่ ไมถ้ าวรนอกเขตปา่ ในพ้นื ทล่ี ุ่มหว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวัดน่าน ปา่ ไมถ้ าวรนอกเขตปา่ เน้ือท่ี รอ้ ยละ ไร่ 0.32 พ้ืนที่ปา่ ไมถ้ าวร 390 0.32 - ปา่ ฝง่ั ขวาแมน่ ้ำนา่ นตอนใต้ 390 เขตพื้นที่ปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ตามแผนที่แนบท้าย พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2518 พบว่า มีเนื้อที่ 24,134 ไร่ หรือร้อยละ 26.33 ของเนื้อที่ทง้ั หมด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
50 แปลงที่ดินทำกินตามนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) พบวา่ มีเนอ้ื ที่ 1,160 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 1.27 ของเนอื้ ท่ีทงั้ หมด สภาพการใช้ที่ดินในโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรกั ษ์ดินนำ้ พ้ืนท่ีลมุ่ นำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวัดน่าน ซง่ึ เน้ือท่ีรวมทัง้ ส้นิ 91,696 ไร่ พบวา่ มกี าร ใชท้ ่ดี นิ แบง่ ออกเป็น 5 ประเภทหลกั (ตารางท่ี 3-12 และภาพท่ี 3-12) ได้แก่ (U) มีเนื้อที่ 2,048 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.23 ของเน้ือ ทท่ี ั้งหมด ได้แก่ หมบู่ ้าน 16 หมบู่ ้าน ตวั เมอื งและยา่ นการค้า สถานทีร่ าชการและสถาบนั ตา่ ง ๆ ลานตาก และแหล่งรับซอ้ื ทางการเกษตร สถานทพ่ี ักผอ่ นหยอ่ นใจ และสสุ าน ป่าชา้ (1) ตัวเมืองและย่านการค้า (U101) มีเนื้อที่ 210 ไร่ หรือร้อยละ 0.23 ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย โดยทัว่ ไป (2) หมู่บ้าน (U201) มีเนื้อที่ 1,789 ไร่ หรือร้อยละ 1.95 ของเนื้อที่ทั้งหมด ประกอบด้วย หมบู่ ้านบนพ้นื ท่รี าบ ซงึ่ เป็นทอ่ี ยอู่ าศัยโดยทว่ั ไป (3) สถานทร่ี าชการและสถาบันตา่ ง ๆ (U301) มีเน้อื ที่ 31 ไร่ หรือรอ้ ยละ 0.03 ของเน้ือที่ ทงั้ หมด (4) ย่านอุตสาหกรรม (U501) มีเนื้อที่ 10 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่ทั้งหมด ประกอบด้วย ลานตากและแหลง่ รบั ซ้ือทางการเกษตร (5) พื้นที่อื่น ๆ (U601 และ U603) มีเนื้อที่ 8 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่ทั้งหมด ประกอบดว้ ย พนื้ ท่ีพักผ่อนหย่อนใจ 5 ไร่ และสุสาน และป่าช้า 3 ไร่ มีเนื้อที่ 64,801 ไร่ หรือร้อยละ 70.67 ของเนื้อที่ทั้งหมด ประกอบด้วย (1) นาขา้ ว (A1) มีเนื้อท่ี 3,475 ไร่ หรือร้อยละ 3.79 ของเนื้อท่ที งั้ หมด (2) พืชไร่ (A2) เป็นพืชเกษตรกรรมที่มีสัดส่วนมากที่สุด มีเนื้อที่ 28,172 ไร่ หรือ ร้อยละ 30.72 ของเนื้อที่ท้งั หมด พ้ืนที่พชื ไร่ทีส่ ำคัญทางเศรษฐกจิ ของจังหวัดน่าน ประกอบดว้ ย - ขา้ วโพด (A202) มีเน้ือท่ี 27,878 ไร่ หรือร้อยละ 30.40 ของเน้อื ทท่ี ้ังหมด - พื้นที่ไร่ร้าง (A202) มีเนอ้ื ที่ 294 ไร่ หรือร้อยละ 0.32 ของเน้ือที่ทั้งหมด (3) ไม้ยืนต้น (A3) มีเนื้อที่ 16,533 ไร่ หรือร้อยละ 18.03 ของเนื้อที่ทั้งหมด พืชเศรษฐกิจที่ สำคญั ของจังหวัด ประกอบดว้ ย - ยางพารา (A302) มเี นอ้ื ท่ี 14,527 ไร่ หรอื ร้อยละ 15.84 ของเนือ้ ทีท่ ั้งหมด - สกั (A305) มเี นอื้ ท่ี 1,991 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 2.17 ของเนือ้ ทีท่ ้ังหมด - ไมย้ ืนตน้ รา้ ง/เสือ่ มโทรม 15 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 0.02 ของเนอ้ื ที่ท้ังหมด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
51 (4) ไม้ยืนต้น/ไม้ผล (A3/A4) มีเนื้อที่ 28 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ได้แก่ สัก/มะขาม (A305/A412) (5) ไมผ้ ล (A4) มีเนอื้ ท่ี 2,290 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 2.50 ของเนอ้ื ทท่ี ้งั หมด ประกอบดว้ ย - มะมว่ ง (A407) มเี นือ้ ท่ี 41 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของเน้อื ท่ที ้ังหมด - มะม่วง/มะขาม (A407/A412) มเี น้ือที่ 779 ไร่ หรือรอ้ ยละ 0.85 ของเน้อื ท่ีทั้งหมด - มะขาม (A412) มีเนอื้ ที่ 1,358 ไร่ หรือรอ้ ยละ 1.49 ของเน้อื ท่ที ั้งหมด - มะขาม/ลำไย (A412/A413) มีเน้อื ท่ี 13 ไร่ หรือรอ้ ยละ 0.01 ของเน้อื ทท่ี ัง้ หมด - ลำไย (A413) มีเน้ือที่ 3,245 ไร่ หรือร้อยละ 1.56 ของเนอื้ ทีท่ ง้ั หมด นอกจากนี้ ยังมีไม้ผลอื่น ๆ ที่เกษตรกรปลูกเป็นแปลงเล็ก ๆ อีกหลายชนิดได้แก่ พื้นที่ไม้ผล ร้าง/เส่ือมโทรม 13 ไร่ ไมผ้ ลผสม 6 ไร่ (6) ไร่หมุนเวียน (A6) มีเนื้อที่ 14,289 ไร่ หรือร้อยละ 15.58 ของเนื้อที่ทั้งหมด ซึ่งเป็นพื้นที่ เกษตรกรรมหลักของชุมชนบนพื้นที่สูงที่มีการทำเกษตรกรรม โดยมีการหมุนเวียนเปลี่ยนพื้นที่ปลูกพืช และทิ้งพื้นที่ไว้เพื่อให้ดินมีการพักตัว ตั้งแต่ 3-7 ปี จากนั้นจึงกลับมาทำการเกษตรกรรมใหม่อีกคร้ัง ประกอบด้วย - ข้าวโพด (ไร่หมุนเวียน) (A602) ) มีเนื้อที่ 12,130 ไร่ หรือร้อยละ 13.23 ของเนื้อท่ี ทั้งหมด - ข้าวโพด (ไร่หมุนเวียน) (A602)/ข้าวไร่ (ไร่หมุนเวียน) (A616) มีเนื้อที่ 2,015 ไร่ หรือ รอ้ ยละ 2.20 ของเน้อื ท่ที ัง้ หมด - ไร่ร้าง (ไร่หมุนเวียน) (A600) มีเน้ือที่ 140 ไร่ หรือร้อยละ 0.15 ของเนื้อที่ทั้งหมด เป็น การพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่หมุนเวียนซึ่งในช่วงเวลาที่ทำการสำรวจพบว่าเป็นช่วงเวลาที่มีการทิ้งพื้นที่ไว้ เพื่อใหด้ ินมีการพกั ตัว โดยมีวชั พืชซึ่งไมพ้ ุ่มสลับกับทงุ่ หญ้าธรรมชาตขิ ้ึนปกคลมุ ตามธรรมชาติ - ข้าวไร่ (ไร่หมุนเวียน) (A616) มีเนื้อที่ 4 ไร่ ของเนื้อที่ทั้งหมด เป็นการปลูกเพื่อการ บริโภคของประชากรชุมชนบนพื้นที่สูงเป็นส่วนใหญ่ โดยจะเริ่มปลูกประมาณเดือนพฤษภาคม และเก็บ เก่ยี วในเดอื นพฤศจกิ ายน-ธันวาคม (7) เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม (A001) มีเนื้อท่ี 14 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อท่ี ท้งั หมด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
52 ภาพที่ 3-9 สถานภาพปา่ ไม้ และแปลงทีด่ ินทำกิน ในพ้ืนทล่ี ุ่มนำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั นา่ น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
53 มเี นือ้ ท่ี 23,196 ไร่ หรือรอ้ ยละ 25.30 ของเนอื้ ทีท่ ั้งหมด ประกอบดว้ ย (1) ป่าไม่ผลัดใบ (F1) มีเนื้อที่ 1,782 ไร่ หรือร้อยละ 1.94 ของเนื้อที่ทัง้ หมด ซึ่งเป็นป่าไม่ ผลัดใบสมบูรณ์ (โ101) ทงั้ หมด (2) ป่าผลัดใบ (F2) มีเนื้อที่ 21,414 ไร่ หรือร้อยละ 23.36 ของเนื้อที่ทั้งหมด แบ่งเป็น ป่าผลัดใบสมบูรณ์ (F201) 18,790 ไร่ หรือร้อยละ 20.50 ของเนื้อที่ทั้งหมด ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู (F00) 2,624 ไร่ หรือร้อยละ 2.86 ของเนื้อที่ทง้ั หมด มีเนื้อที่ 820 ไร่ หรือร้อยละ 0.89 ของเนื้อที่ทั้งหมด ประกอบด้วย ทุ่ง หญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ 782 ไร่ หรือร้อยละ 0.85 ของเนื้อที่ทั้งหมด บ่อดิน 29 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเน้ือที่ทั้งหมด และที่ท้ิงขยะ 9 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนื้อที่ท้ังหมด มีเน้อื ท่ี 831 ไร่ หรือร้อยละ 0.91 ของเนือ้ ทีท่ งั้ หมด ตามลำดบั ประกอบดว้ ย (1) แหล่งน้ำธรรมชาติ ได้แก่ หนอง บึง ทะเลสาบ (W102) มีเนื้อที่ 30 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่ทั้งหมด ทำให้เกิดแหล่งน้ำผิวดินที่เกิดจากการถูกกระทำของลำน้ำกระจายอยู่ทั่วไป ทั้ง ลกั ษณะหนอง บงึ และบางแหง่ พบมากเป็นแหลง่ น้ำชมุ ชนในรปู ฝาย (2) แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ (W201) มีเนื้อที่ 758 ไร่ หรือร้อยละ 0.83 ของ เนอื้ ที่ทง้ั หมด และ บอ่ น้ำในไร่นา มเี นือ้ ท่ี 43 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของเน้อื ท่ที ั้งหมด ตารางที่ 3-12 ประเภทการใชท้ ่ดี นิ ในพืน้ ทลี่ ุ่มน้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน สัญลกั ษณ์ ประเภทการใชท้ ี่ดนิ เนอื้ ที่ ร้อยละ ไร่ 2.23 U พ้นื ท่ชี ุมชนและสงิ่ ปลูกสรา้ ง 2,048 0.23 U101 ตัวเมืองและยา่ นการค้า 210 1.95 U201 หมบู่ ้านบนพ้นื ราบ 1,789 0.03 U301 สถานทรี่ าชการและสถาบันต่าง ๆ 31 0.01 U503 ลานตากและแหลง่ รบั ซอ้ื ทางการเกษตร 10 0.01 U601 สถานทพ่ี ักผ่อนหย่อนใจ - U603 สสุ าน ปา่ ช้า 5 70.67 3 3.79 A พนื้ ท่เี กษตรกรรม 64,801 3.79 A1 พืน้ ท่นี า 3,475 30.72 3,475 0.32 A101 นาขา้ ว 28,172 30.40 A2 พชื ไร่ 294 27,878 A200 ไร่รา้ ง A202 ขา้ วโพด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
54 ตารางที่ 3-12 ประเภทการใชท้ ีด่ นิ ในพ้ืนที่ลุ่มนำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน (ต่อ) สัญลกั ษณ์ ประเภทการใชท้ ่ีดนิ เนอื้ ที่ รอ้ ยละ ไร่ 18.03 A3 ไม้ยนื ตน้ 16,533 0.02 A300 ไมย้ นื ต้นรา้ ง/เสื่อมโทรม 15 15.84 A302 ยางพารา 14,527 2.17 A305 สัก 1,991 0.03 28 0.03 A3/A4 ไม้ยนื ต้น /ไม้ผล 28 2.50 A305/A412 สัก/มะขาม 2,290 0.01 A4 ไม้ผล 13 0.01 0.04 A400 ไม้ผลร้าง/เส่อื มโทรม 6 0.85 A401 ไม้ผลผสม 41 1.49 A407 มะมว่ ง 779 0.01 A407/A412 มะม่วง/มะขาม 1,358 0.09 A412 มะขาม 13 15.58 A412/A413 มะขาม/ลำไย 80 0.15 A413 ลำไย 14,289 13.23 A6 140 2.20 A600 ไรห่ มุนเวียน 12,130 0.00 A602 ไร่หมุนเวยี นรา้ ง 2,015 0.02 A602/A616 ข้าวโพด(ไร่หมนุ เวียน) 4 0.02 A616 ขา้ วโพด(ไรห่ มนุ เวยี น)/ข้าวไร(่ ไรห่ มุนเวยี น) 14 25.30 A0 ข้าวไร(่ ไร่หมนุ เวยี น) 14 1.94 A001 23,196 2.86 F เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม 1,782 20.50 F101 เกษตรผสมผสาน/ไรน่ าสวนผสม 2,624 0.91 F200 พน้ื ที่ปา่ ไม้ 18,790 0.03 F201 ปา่ ไมผ่ ลดั ใบสมบูรณ์ 831 0.83 W ปา่ ผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู 30 0.05 W102 ปา่ ผลัดใบสมบูรณ์ 758 W201 43 W202 พนื้ ทน่ี ้ำ หนอง บงึ ทะเลสาบ อ่างเกบ็ นำ้ บ่อน้ำในไร่นา แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
55 ตารางท่ี 3-12 ประเภทการใช้ท่ีดนิ ในพน้ื ท่ลี มุ่ นำ้ หว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน (ตอ่ ) สญั ลักษณ์ ประเภทการใชท้ ี่ดนิ เน้ือท่ี รอ้ ยละ ไร่ 0.89 M พื้นท่เี บด็ เตล็ด 820 0.85 M102 ทงุ่ หญา้ สลบั ไม้พมุ่ /ไม้ละเมาะ 782 0.03 M304 บอ่ ดิน 29 0.01 M701 ที่ทิง้ ขยะ 9 100.00 รวมเนอ้ื ที่ 91,696 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
56 ภาพที่ 3-10 สภาพการใชท้ ่ีดนิ ในพน้ื ทลี่ ุ่มนำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดนา่ น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง
57 การชะล้างพังทลายของดินเป็นปัญหาท่ีสำคัญทีส่ ง่ ผลให้ทรัพยากรที่ดินเสื่อมโทรมเนื่องจาก ทำให้ เกิดการสูญเสียหน้าดิน การสูญเสียธาตุอาหารและอินทรียวัตถุในดิน ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดลง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในพืน้ ท่ีทมี่ กี ารใช้ที่ดินในการปลูกพืชอย่างเข้มขน้ ในรอบปี รวมท้งั ในพน้ื ที่ท่ีมีการ ใชเ้ คร่ืองจกั รกลในการไถพรวนดินเป็นสาเหตสุ ำคัญท่ีทำให้สมบัติทางกายภาพของดนิ โดยเฉพาะโครงสร้าง ดินถูกทำลาย ยิ่งส่งเสริมให้เกิดการพังทลายของดินในพื้นที่ ผลจากการชะล้างพังทลายของดินจะส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มทงั้ ในพน้ื ทท่ี ่ีเกิดการชะล้างพงั ทลายของดนิ และพน้ื ทีโ่ ดยรอบ และทำให้ผลผลิตต่อ หนว่ ยพืน้ ที่ลดลง เนื่องจากความอดุ มสมบูรณล์ ดลง และเกิดการตน้ื เขนิ ของแมน่ ำ้ ลำคลองจากมีการสะสม ของตะกอนดิน ทำให้ศักยภาพในการเก็บกักน้ำของแหล่งน้ำต่ำลง ปัญหาเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการ เพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการป้องกันการชะล้างพังทลายของ ดิน เพื่อรกั ษาทรพั ยากรท่ีดินใหส้ ามารถใช้ทด่ี ินได้อย่างยั่งยนื การชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพื้นที่จะมีระดับความรุนแรงแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะ ของดินเอง และปัจจยั จากภายนอก โดยปกติแล้วการชะล้างพงั ทลายของดินในประเทศไทยจะเกิดขึน้ โดยมี ฝนเป็นปัจจยั หลักที่สำคัญ แต่โดยธรรมชาตแิ ล้วจะเกิดไม่รุนแรงบนพ้ืนที่ทีม่ ีความลาดชันนอ้ ยและมีสิ่งปก คลุมผวิ ดนิ หรือพนื้ ท่ที ่ีมีความลาดชนั สูงแต่มีส่งิ ปกคลุมผิวดินหนาแน่นจนเม็ดฝนไม่สามารถกระทบสู่พ้ืนดิน ได้ แต่จะเกิดรุนแรงมากขึ้นถ้าพื้นที่มีความลาดชันมากขึ้นและไม่มีสิ่งปกคลุมผิวดิน โดยมีกิจกรรมการใช้ ที่ดินของมนุษย์เป็นตัวเร่งให้เกิดความรุนแรงมากขึ้น การชะล้างพังทลายของดินนอกจากมีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมแลว้ ยังสง่ ผลเสียทางด้านเศรษฐกิจ และจากการประเมนิ การสญู เสยี ดนิ (ตัน/ไร่/ปี) ในพ้ืนที่ลุ่ม น้ำห้วยน้ำแหง สามารถแบ่งระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินออกเป็น 3 ระดับ (ตารางที่ 3-13 และภาพที่ 3-13) ดังน้ี พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับน้อย ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 8,329 ไร่ หรือร้อยละ 9.08 ของเนื้อที่ทั้งหมดพบ กระจายตัวอยู่ในตำบลน้ำตก ตำบลบัวใหญ่ ตำบลนาน้อย และตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย บริเวณที่มี สูญเสียดินเล็กน้อยส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้าง ราบเรยี บการใช้ท่ดี ินสว่ นใหญ่เป็นป่าผลดั ใบสมบรู ณ์ และใชป้ ระโยชน์ในการปลกู สัก ยางพารา ลำไย และ ข้าว แม้ในพื้นที่นี้ซึ่งมีสถานภาพความรุนแรงในระดับน้อย แต่ควรได้รับการจัดการด้วยมาตรการอนุรักษ์ ดนิ และนำ้ ทเ่ี หมาะสม เพ่อื ป้องกนั การสญู เสยี ดนิ เพอ่ื ใช้ประโยชนอ์ ย่างเหมาะสม พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลาง ซึ่งมีปริมาณการ สูญเสียดิน 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเนื้อที่ครอบคลุมประมาณ 11,193 ไร่ หรือร้อยละ 12.21 ของเนื้อที่ ทงั้ หมด พบกระจายตวั อยูใ่ นตำบลน้ำตก ตำบลบวั ใหญ่ ตำบลศรีษะเกษ และตำบลนานอ้ ย อำเภอนาน้อย แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
58 สภาพพ้ืนท่สี ว่ นใหญ่มีลักษณะเปน็ พ้ืนที่ลูกคลื่นลอนชนั สว่ นใหญ่เปน็ ป่าผลัดใบสมบรู ณ์ และใช้ประโยชน์ ในการปลูกข้าวโพด ยางพารา ข้าวโพด (ไร่หมุนเวียน) และลำไย พื้นที่นี้ควรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่าง ระมัดระวัง โดยการปลูกพืชตามแนวระดับหรือขวางความลาดเท และควรมีการปรับปรุงบำรุงดินอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรง ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน 5-15 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเนื้อที่ครอบคลุมประมาณ 72,174 ไร่ หรือร้อยละ 78.71 ของเนื้อที่ทั้งหมด โดยพบ กระจายตัวอยู่พืน้ ท่ีตำบลนำ้ ตกฝ่ังทิศใต้ ตำบลบัวใหญ่ตอนบน และตำบลนานอ้ ยทางทิศตะวันตก อำเภอ นาน้อย ส่วนใหญ่มีการใช้ที่ดินในการปลูกข้าวโพด ยางพารา และพืชไร่หมุนเวียน เช่น ข้าวโพด ข้าวไร่ พื้นที่นี้ควรนำมาตรการป้องกันการสูญเสียดินทั้งวิธีพืชและวิธีกลสำหรับป้องกันการสูญเสียดิน มีการ ปรบั ปรงุ บำรุงดนิ อย่างตอ่ เน่อื ง เพอ่ื การใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ ทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืนตลอดไป ตารางที่ 3-13 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวดั นา่ น ระดับความรุนแรง คา่ การสญู เสยี ดิน เนอ้ื ที่ (ตนั /ไร/่ ป)ี 0-2 ไร่ รอ้ ยละ 2-5 น้อย 5-15 8,329 9.08 ปานกลาง รนุ แรง 11,193 12.21 72,174 78.71 รวมเนื้อท่ี 91,696 100.00 จากผลการศึกษา จะเห็นว่า พื้นที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับ รุนแรง โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 5-15 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมเนื้อที่คิดเป็นร้อยละ 78.71 ของ เนื้อที่ทั้งหมด โดยพบกระจายตัวอยู่พื้นที่ตำบลน้ำตกฝั่งทิศใต้ ตำบลบัวใหญ่ตอนบน และตำบลนาน้อย ทางทิศตะวันตก อำเภอนาน้อย ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันอยู่ในช่วง 0-75 เปอร์เซ็นต์ มี ลักษณะสภาพพ้ืนท่ีเป็นแบบราบเรยี บถงึ ค่อนข้างราบเรียบ ลูกคลน่ื ลอดลาดเล็กน้อย ลูกคลื่นลอนลาดลูก คล่ืนลอนชัน เนินเขา สงู ชัน สูงสันมาก และสงู ชนั มากท่สี ุดบางสว่ น เมื่อพิจารณาประเภทการใช้ท่ีดินเป็น ป่าผลัดใบสมบูรณ์ และมีการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ในการปลูกข้าวโพด ยางพารา และข้าวโพด (ไร่ หมุนเวียน) ซึ่งหากมีปัญหาการชะล้างพังทลายควรได้รับการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อการ ผลิตและผลผลิตของเกษตรกร อีกทั้งลดต้นทุนการผลิตที่สูญหายไปกับการชะล้างของผิวหน้าดินที่อาจ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในพื้นที่ที่มีสภาพภูมิประเทศแบบเนินเขาแบบสูงชนั และแบบสูงชันมาก จะเกิดการชะล้างพังทลายของดินที่มีความรุนแรงมากที่สุด โดยก่อให้เกิดปริมาณการสูญเสียดินมากกว่า 20 ตนั ตอ่ ไร่ต่อปี โดยพน้ื ที่ดังกล่าวมีการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินเปน็ ข้าวโพด และขา้ วโพดแบบไร่หมุนเวยี น ทง้ั นี้ เพือ่ เป็นการป้องกันและหยุดการชะล้างพังทลายของดินอยา่ งยั่งยืนโดยเฉพาะพ้ืนที่ท่ีมี ความรุนแรงของการสูญเสียดินปานกลางถึงรนุ แรงมากทีส่ ดุ นั้น ควรมมี าตรการในการจดั ระบบอนุรักษ์ดิน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
59 และน้ำที่เหมาะสมสำหรับแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่บางแห่งที่มีการใช้ที่ดินอย่างไม่เหมาะสม เนื่องจากพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ควรปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินให้เหมาะสม และวิธีการจัดการมีความ เป็นไปได้จริง วิธีการที่สะดวก และเสียค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ต้องใช้แรงงานมาก และสอดคล้องตามความ ตอ้ งการของชุมชน ทั้งนี้ เม่อื พิจารณาถึงการคาดคะเนการชะล้างพังทลายของดนิ ในแต่ละพ้ืนท่ีและแต่ละ ระดับ แมก้ ระท้งั ในพ้ืนทีท่ ี่มีการชะลา้ งพังทลายในระดับน้อยซ่ึงมีปรมิ าณการสูญเสยี ดิน 0-2 ตนั ต่อไร่ต่อปี ซง่ึ ไม่ควรเพิกเฉยต่อการใช้มาตรการอนรุ ักษด์ ินและน้ำ และมีจดั การปรับปรุงดนิ ที่เหมาะสม ซ่ึงหากมีการ ละเลยหรือมีการจัดการที่ไม่เหมาะสม และถูกต้องตามหลักวิชาการอาจจะส่งผลกระทบที่รุนแรงขึ้น ซึ่ง เกิดปัญหาต่อการสญู เสียดนิ ปริมาณและคณุ ภาพผลผลิต และส่งผลกระทบตอ่ ต้นทุนการผลิต การจัดการ ดิน น้ำ ปุย๋ ทำให้เกษตรกรในพ้นื ที่มคี ่าใชจ้ ่ายทเี่ พมิ่ สงู ข้นึ ตามไปดว้ ย แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
60 ภาพท่ี 3-11 การสูญเสยี ดินในพน้ื ที่ลุ่มนำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั นา่ น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง
61 จากข้อมูลทุติยภูมิและเอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง พบว่าพื้นที่ดำเนินการ 91,696 ในเขตพัฒนา ที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ครอบคลุมพื้นที่อยู่ในเขตพื้นที่ 6 ตำบล ของอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ประกอบดว้ ย ตำบลนาน้อย ตำบลนำ้ ตก ตำบลบัวใหญ่ ตำบลเชียงของ ตำบลศรษี ะเกษ และสนั ทะ ซึ่งพ้ืนท่ี ดำเนนิ การสว่ นใหญ่ อยู่ใน 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลนานอ้ ย ตำบลนำ้ ตก และตำบลบัวใหญ่ มีสภาวะเศรษฐกิจ และสงั คม ดงั นี้ ตำบลนานอ้ ย อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของพื้นที่อำเภอ ห่างจากที่ว่าการอำเภอนาน้อยประมาณ 400 เมตร และหา่ งจากตวั จงั หวัดไปทางทศิ ใต้ ประมาณ 60 กโิ ลเมตร อาณาเขต ทิศเหนอื ตดิ ต่อกบั ตำบลศรษี ะเกษ และตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับ ตำบลสถาน อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดน่าน ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับ ตำบลเชียงของ อำเภอนานอ้ ย จังหวัดนา่ น ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลสันทะ และตำบลบัวใหญ่ อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน ตำบลนาน้อย มพี ้นื ท่ที ง้ั หมด 53.43 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 33,392 ไร่ แบง่ เขตการปกครอง ออกเป็น 10 หมู่บ้าน ดงั นี้ (กรมการปกครอง, 2552) หมูท่ ี่ 1 บ้านนาราบ หมู่ที่ 2 บา้ นดอนไชย หมู่ที่ 3 บ้านนาหลวง หมู่ที่ 4 บา้ นนานอ้ ย หม่ทู ี่ 5 บา้ นบ้งุ หมทู่ ี่ 6 บา้ นไร่ หมทู่ ี่ 7 บ้านนาหลา่ ย หมู่ที่ 8 บ้านหัวทุ่ง หมทู่ ่ี 9 บ้านนาอดุ ม หมู่ที่ 10 บ้านคลองชล โครงสรา้ งพืน้ ฐาน 1) สาธารณปู โภค ได้แก่ - ไฟฟ้า ในเขตพื้นที่ปกครองของ อบต.นาน้อยมีการให้บริการไฟฟ้าประมาณ 94.20 % จำนวน 634 ครัวเรือน ส่วนในเขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลนาน้อย มีการให้บริการไฟฟ้า 100 % ครอบคลมุ ท้ังหมด 4 หมบู่ า้ น จำนวนครวั เรอื น 1,080 ครัวเรอื น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
62 - การโทรคมนาคม ในเขตเทศบาลตำบลนาน้อย มีที่ทำการไปรษณีย์ 1 แห่ง สถานี โทรคมนาคมอนื่ ๆ 1 แห่ง เสาสญั ญาณโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 2 แห่ง และสถานีวิทยชุ มุ ชน 1 แห่ง - การคมนาคม/ขนส่ง ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1026 สายนาน้อย-นาหมื่น ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 1083 สาย อ.นาน้อย-อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ ทางหลวง (รพช.) สายนาราบ-สันทะ ระยะทาง 20 กิโลเมตร ทางหลวง (อบจ.) สายนาราบ-หนองห้า ทางเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน บ้านบุ้ง-บ้านไร่-บ้านหัวทุ่ง ทาง เชื่อม (ชลประทาน) บ้านนาหลวง-บ้านหัวทุ่ง-บ้านดอนไชย-บ้านนาอุดม ทางเชื่อมดินลูกรัง (ชลประทาน) บ้าน ดอนไชย-นาอุดม ทางเชอื่ มดินลกู รงั บ้านนาราบ-บ้านดอนไชย 2) สถานบริการสาธารณะ ได้แก่ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาน้อย ท่ีทำการเทศบาล ตำบลนาน้อย โรงเรียนประถมศึกษา 4 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษาขยายโอกาส 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน 2 แห่ง ห้องสมุดประชาชน 1 แห่ง ท่ีอ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 9 แห่ง สถานีอนามัยประจำตำบล/หมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีตำรวจ 1 แห่ง สถานีดับเพลิง 1 แห่ง กองร้อย อส. 1 แห่ง และวัด/สำนักสงฆ์ 7 แห่ง 3) หน่วยธุรกิจ ได้แก่ ป๊ัมน้ำมัน/ใช้มือหมุน 3 แห่ง โรงงานอุตสาหกรรมปั้นอิฐ 3 แห่งโรงสีข้าว 9 แห่ง ร้านอาหาร 26 แห่ง ร้านค้า 90 แห่ง ธนาคาร 2 แห่ง สถานพยาบาลเอกชน 3 แห่ง ร้านขายยาแผน ปจั จุบัน 2 แหง่ เปน็ ต้น 4) การรวมกลุ่มของประชาชน ได้แก่ กลุ่มอาชีพ 18 กลุ่ม กลุ่มออมทรัพย์ 4 กลุ่ม กลุ่มอื่นๆ 8 กลุ่ม ตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จงั หวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่อำเภอ ห่างจากที่ว่าการอำเภอนาน้อย ประมาณ 10 กโิ ลเมตร และหา่ งจากตัวจังหวดั ไปทางทิศใต้ ประมาณ 65 กิโลเมตร อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั ตำบลแมส่ าคร และตำบลอ่ายนาไลย อำเภอเวยี งสา จังหวดั น่าน ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลบัวใหญ่ และตำบลนาน้อย อำเภอนานอ้ ย จังหวดั นา่ น ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลศรษี ะเกษ อำเภอนาน้อย จังหวดั น่าน ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับ จงั หวดั แพร่ ตำบลน้ำตก มีพื้นที่ทั้งหมด 102.55 ตารางกิโลเมตร หรือ 64,094 ไร่ แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 7 หม่บู า้ น ดังนี้ (กรมการปกครอง, 2555) หมู่ที่ 1 บา้ นพชื เจริญ หมู่ที่ 2 บ้านน้ำพุ หมทู่ ่ี 3 บ้านนำ้ สระ หมู่ท่ี 4 บ้านวงั กอก หมูท่ ่ี 5 บ้านเปา หมทู่ ี่ 6 บา้ นไทยงาม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
63 หมทู่ ่ี 7 บ้านพชื มงคล โครงสรา้ งพ้นื ฐาน 1) สาธารณูปโภค ไดแ้ ก่ - ไฟฟ้า มไี ฟฟา้ ใช้ครบทุกหม่บู า้ น - แหลง่ นำ้ ทส่ี รา้ งขึ้น อา่ งเกบ็ น้ำขนาดเล็ก 1 แห่ง ฝาย 12 แห่ง บ่อน้ำตืน้ 44 แหง่ - การคมนาคม/ขนสง่ ถนนลาดยาง ถนนสาย หนองห้า – สาคร ถนนคอนกรีตเสรมิ เหลก็ สายทางเข้าบา้ นไทยงาม สายทางเขา้ บา้ นพืชเจรญิ ถนนคอนกรตี เสริมไมไ้ ผ่ภายในหมบู่ ้านท้งั 7 หมบู่ า้ น ถนนลกู รงั ในพ้ืนทีท่ ำการเกษตรทัง้ 7 หมู่บา้ น 2) สถานบริการสาธารณะ ได้แก่ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง โรงเรียน ประถมศึกษา 3 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 2 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำ หมู่บ้าน 7 แห่ง ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 แห่ง ป้อมจุด ตรวจ 1 แห่ง วัด 6 แห่ง 3) การรวมกล่มุ ของเกษตรกร ไดแ้ ก่ กล่มุ ทำเมีย้ ง กล่มุ แปรรปู ฟกั ทอง กลมุ่ ทำนมถัว่ เหลือง และ กลมุ่ เพาะเหด็ 4) หน่วยธรุ กจิ ไดแ้ ก่ ปัม้ นำ้ มันหลอด 2 แหง่ ตำบลบวั ใหญ่ อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพื้นที่อำเภอ ห่างจากที่ว่าการอำเภอนาน้อย ประมาณ 13 กโิ ลเมตร และห่างจากตวั จงั หวดั ไปทางทิศใต้ ประมาณ 72 กโิ ลเมตร อาณาเขต ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ ตำบลน้ำตก อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดน่าน ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลสนั ทะ อำเภอนาน้อย จังหวดั น่าน ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ตำบลนานอ้ ย อำเภอนาน้อย จงั หวดั นา่ น ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดแพร่ ตำบลบัวใหญ่ มีพื้นที่ทั้งหมด 98.04 ตารางกิโลเมตร หรือ 61,273 ไร่ แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 8 หมบู่ า้ น ดงั นี้ (กรมการปกครอง, 2555) หมูท่ ่ี 1 บา้ นอ้อย หมทู่ ่ี 5 บา้ นนาไค้ หมทู่ ่ี 2 บ้านใหมม่ งคล หมู่ท่ี 6 บา้ นตนมว่ ง หมูท่ ี่ 3 บา้ นนาแหน หมูท่ ี่ 7 บ้านสนั พยอม หมทู่ ่ี 4 บ้านทบั ม่าน หมทู่ ี่ 8 บ้านหนองห้า โครงสร้างพนื้ ฐาน 1) สาธารณปู โภค ไดแ้ ก่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
64 - ไฟฟ้า มีไฟฟ้าใช้ครบทุกหม่บู า้ น - ประปา ใช้ประปานครหลวง ใช้ใน หมู่ 1, 3, 4, 5 ประปากรมทรัพยากรน้ำ ใช้ใน หมู่ 2 ประปาธรรมชาติ บอ่ ริน ใชใ้ น หมู่ 2 ประปาภูเขา ใชใ้ น หมู่ 4, 5, 6, 8 และประปาผิวดนิ ขนาดเล็ก ใช้ใน หมู่ 7 - การโทรคมนาคม โทรศัพท์สาธารณะ 1 แห่ง ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง ศูนย์ อนิ เตอรเ์ นต็ ตำบล 1 แห่ง - การคมนาคม/ขนสง่ ถนนลาดยาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1216 สาย นาน้อย-ทัพม่าน และถนน ร.พ.ช. สายบัวใหญ่ – สันทะ 2) สถานบริการสาธารณะ ได้แก่ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง โรงเรียน ประถมศึกษาขยายโอกาส 2 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง ที่อ่าน หนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 2 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 แห่ง ศูนย์ ศสมช. 8 แห่ง วัด/ สำนักสงฆ์ 5 แห่ง 3) หน่วยธรุ กจิ ได้แก่ รา้ นขายของชำ 56 แห่ง ป๊มั นำ้ มนั หัวจ่าย 2 แห่ง ปัม๊ หลอด 16 แห่ง โรงสขี า้ ว 10 แหง่ ร้านจำหนา่ ยเครอื่ งใช้ไฟฟา้ 3 แห่ง เสาสัญญาณโทรศัพท์ 3 แหง่ สหกรณช์ ุมชน 1 แหง่ รา้ น ซอ้ มรถ/อ๊อกเชื่อม 11 แห่ง หอ้ งเชา่ /บา้ นเชา่ 5 แห่ง ร้านเสรมิ สวย 9 แห่ง โรงสขี ้าวโพด 8 แห่ง โรงกลั่นสรุ า 6 แหง่ โรงผลติ น้ำดม่ื 5 แห่ง จากการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ เอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง ประชากรและโครงสร้าง ประชากร ในพ้ืนที่ตำบลนาน้อย ตำบลนำ้ ตก ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั นา่ น (ตารางท่ี 3-14) มี รายละเอียดดังน้ี ตำบลนาน้อย มีประชากร 2,649 คน ประชากรหญิง 2,810 คน มีประชากรรวม 5,459 คน มคี รวั เรอื นท้ังหมด 1,080 ครวั เรอื น มีประชากรเฉล่ีย 5 คนตอ่ หลงั คาเรือน มปี ระชากรเฉลย่ี 102 คน ต่อตารางกโิ ลเมตร มคี รวั เรอื นเกษตรกร คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.32 ของครวั เรือนทั้งหมด มีพ้นื ท่ีทำการเกษตร 7.50 ไรต่ อ่ ครวั เรอื น มีแรงงานภาคการเกษตร 3 คนตอ่ ครวั เรอื น มีรายไดเ้ ฉล่ยี 23,000 บาทต่อคนต่อปี ตำบลนำ้ ตกมปี ระชากร 1,274 คน ประชากรหญงิ 1,240 คน มปี ระชากรรวม 2,514 คน มีครัวเรือนทั้งหมด 788 ครัวเรือน มีประชากรเฉลี่ย 3 คนต่อหลังคาเรือน มีประชากรเฉลี่ย 25 คนต่อ ตารางกิโลเมตร มีครัวเรือนเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 92.45 ของครัวเรือนทั้งหมด มีพื้นที่ทำการเกษตร 37.25 ไรต่ อ่ ครัวเรอื น มแี รงงานภาคการเกษตร 2 คนต่อครวั เรือน มรี ายได้เฉล่ีย 23,000 บาทต่อคนต่อปี ตำบลบัวใหญ่ มีประชากร 2,020 คน ประชากรหญิง 1,979 คน มีประชากรรวม 3,999 คน มีครัวเรือนทั้งหมด 1,227 ครัวเรือน มีประชากรเฉลี่ย 3 คนต่อหลังคาเรือน มีประชากรเฉลี่ย 41 คน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
65 ตอ่ ตารางกิโลเมตร มคี รัวเรอื นเกษตรกร คิดเปน็ ร้อยละ 84.00 ของครวั เรอื นทั้งหมด มพี น้ื ทีท่ ำการเกษตร 32.00 ไรต่ ่อครัวเรือน มีแรงงานภาคการเกษตร 2 คนตอ่ ครวั เรอื น มีรายได้เฉลยี่ 23,000 บาทต่อคนตอ่ ปี ตารางท่ี 3-14 ประชากรและโครงสรา้ งประชากรในพนื้ ทลี่ ่มุ น้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั นา่ น ล่นุ น้ำหว้ ย จำนวนประชากร (คน) ครัวเรือน ประชากร ประชากร ครัวเรอื น พ้นื ทท่ี ำ แรงงานภาคเกษตร รายได้ แหง ทงั้ หมด เฉล่ยี / เฉลย่ี / เกษตร การเกษตร (คน/ครัวเรือน) (บาท/คน/ ชาย หญิง รวม (ครัวเรอื น) หลังคาเรือน ตาราง (ของ (ไร่/ครวั เรอื น) ตำบลนา 2,649 2,810 5,459 (คน) กโิ ลเมตร ครวั เรือน ป)ี นอ้ ย 1,274 1,240 2,514 (คน) ท้งั หมด) 2,020 1,979 3,999 1,080 5 7.50 3 23,000.00 ตำบลน้ำตก 5,943 6,029 11,972 788 3 102 86.32 37.25 2 23,000.00 ตำบลบวั 1,227 3 32.00 2 23,000.00 3,095 4 25 92.45 25.58 2 23,000.00 ใหญ่ รวม 41 84.00 56 87.59 ทมี่ า: จากการสมั ภาษณ์ จากการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ เอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรในพื้นที่ ดำเนินการประสบปัญหาและมีความต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐ (ตารางที่ 3-15) แยกพิจารณา เปน็ 3 ประเดน็ ในภาพรวม ดังน้ี (1) ปัญหาในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร พบว่า เกษตรกรประสบปัญหาขาด แคลนน้ำหรือแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรมากที่สุด รองลงมาคือ ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรที่ได้รับตกต่ำ และปญั หาศตั รูพืชรบกวน คิดเปน็ รอ้ ยละ 66.67 41.52 และ 29.86 ของเกษตรกรท้ังหมด ตามลำดบั (2) ปัญหาด้านกาครองชีพ พบว่า เกษตรกรประสบปญั หาภัยแล้งมากทีส่ ดุ รองลงมาคอื ปัญหารายได้น้อยกว่ารายจ่าย และปัญหาค่าครองชีพสูง คิดเป็นร้อยละ 39.89 32.79 และ 28.81 ของ เกษตรกรท้ังหมด ตามลำดับ (3) ความต้องการความช่วยเหลือและการส่งเสริมจากภาครัฐ พบว่า เกษตรกรมีความ ต้องการให้ภาครัฐ สนบั สนนุ และช่วยเหลือในดา้ นการขดุ ลอก หว้ ย หนอง บงึ สระ มากทีส่ ดุ รองลงมาคือ การจัดหาและสร้างแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร การประกันราคาผลผลิตและพยุงราคาผลผลิต การจัดหา ปัจจัยการผลิตในราคายุติธรรม การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่อง และ การจัดอบรม เพือ่ สร้างอาชีพเสรมิ คดิ เป็นร้อยละ 89.26 88.70 60.21 58.88 53.85 และ 37.38 ของเกษตรกรทงั้ หมด ตามลำดบั แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
66 ตารางท่ี 3-15 ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรเก่ยี วกับการใชท้ ่ีดนิ รายการ ตำบล ตำบลนำ้ ตก ตำบล เฉลยี่ พื้นที่ นาน้อย รอ้ ยละ บัวใหญ่ ดำเนนิ การ 1.ปญั หาในการประกอบอาชพี ด้านการเกษตร รอ้ ยละ รอ้ ยละ ขาดแคลนแหลง่ นำ้ /แหล่งนำ้ ร้อยละ ต้นทุนการผลติ สงู ศตั รูพืชรบกวน 24.55 100.00 75.45 66.67 ราคาผลผลติ ตกตำ่ 25.00 25.00 23.00 24.33 วชั พืชมาก 25.00 31.25 33.33 29.86 ปริมาณผลผลติ ต่ำ 3.58 18.75 6.67 9.67 ปัจจยั การผลิตราคาสงู 7.15 6.78 8.90 7.61 ขาดคลองสง่ นำ้ เขา้ พืน้ ท่ีการเกษตร 23.22 55.66 45.67 41.52 ขาดแคลนเงนิ ทุน 14.28 25.00 20.00 19.76 25.00 28.99 13.33 22.44 10.73 15.64 14.22 13.53 ประสบภยั ธรรมชาติ 14.28 25.00 26.67 21.98 2.ปญั หาด้านการครองชพี ทปี่ ระสบ รายไดน้ ้อยกว่ารายจ่าย 45.67 31.25 21.44 32.79 20.00 27.82 มหี น้ีสนิ /หนส้ี นิ เพม่ิ 38.46 25.00 30.00 28.81 30.77 ค่าครองชีพสงู 30.77 25.66 - 13.69 39.89 ประปาหม่บู า้ นไมเ่ พยี งพอ/ไมท่ ว่ั ถงึ 30.77 - 10.00 40.00 ว่างงานหลงั ฤดูเก็บเก่ยี ว 12.33 18.75 แลง้ จดั 54.66 25.00 3.ความต้องการความช่วยเหลือและสง่ เสริมจากภาครฐั จดั หาตลาดจำหนา่ ยผลผลติ 3.45 20.33 12.47 12.08 75.80 37.38 ใหจ้ ดั อบรมอาชพี เสรมิ 20.69 15.66 54.34 60.21 87.11 88.70 ประกันราคาผลผลติ /พยงุ ราคาผลผลติ 55.41 70.88 45.78 58.88 15.44 14.22 จดั หา/จดั สร้างแหล่งนำ้ เพ่ือการเกษตร 78.99 100.00 87.45 89.26 50.00 53.85 จัดหาปัจจัยการผลิตในราคายุตธิ รรม 55.66 75.21 11.44 10.96 ลดค่าครองชพี 6.90 20.31 ขดุ ลอก ห้วย หนอง บงึ สระ 80.33 100.00 จัดอบรมให้ความร้ดู า้ นการเกษตรอย่างต่อเน่ือง 71.54 40.00 ปลด/ลดหนใี้ ห้เกษตรกร 13.78 7.66 ทมี่ า: จากการสัมภาษณ์ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
67 จากผลการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตวั อย่างเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจดา้ นการอนุรักษ์ดิน และน้ำในพื้นที่ลุ่มนำ้ หว้ ยน้ำแหง โดยมุ่งเน้นข้อมูลเกี่ยวกับ 1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของ ดิน 2) ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผลผลิต 3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และทัศนคติต่อการป้องกันสภาพปัญหา และ 4) ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ (ตารางท่ี 3-16) ดงั นี้ (1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน เกษตรกรให้ข้อมูลถึงการชะล้าง พังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และที่อยู่อาศัยของเกษตรกร พบว่า เกษตรกร ร้อยละ 48.15 ของ เกษตรกรทั้งหมด พื้นที่มีสภาพหน้าดินเป็นร่องหรือร่องน้ำขนาดเล็ก และเห็นว่ามีสารเคมีและยาฆ่าแมลง ไหลปนไปกับตะกอนดิน ร้อยละ 46.30 มีน้ำไหลบ่าพัดพาหน้าดินโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ร้อยละ 44.44 การ ชะลา้ งพงั ทลายของหน้าดินสง่ ผลใหแ้ หล่งนำ้ ต้นื เขนิ ข้นึ ทำให้มีปรมิ าณการกักเก็บน้ำได้น้อยลง รอ้ ยละ 32.07 ในบางพ้ืนที่มสี ภาพรอยทรุดหรอื รอยแยกของหน้าดิน ทัง้ นี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับผลกระทบของการชะล้างพังทลาย ของดนิ ต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยดินท่ถี ูกชะลา้ งหรือกัดเซาะจะถูกพัด พาไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ำ ทำให้แหลง่ น้ำตืน้ เขนิ สง่ ผลให้ในฤดูฝนแม่นำ้ ลำคลองเก็บน้ำไว้ไม่ทันเกิด น้ำท่วม และเกิดสภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง อีกทั้งสารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดินสู่ พื้นท่ตี อนล่าง ทำให้เกิดมลพษิ สะสมในดินและน้ำมีผลเสียตอ่ คน พืช สตั ว์บก และสัตวน์ ้ำ (2) ผลกระทบต่อผลผลิต เกษตรกรร้อยละ 57.69 ได้รับผลกระทบต่อปริมาณผลผลิต จากการชะล้างพังทลายของดิน ในกรณีพื้นที่เพาะปลูกทางการเกษตรที่มีสภาพเป็นร่องน้ำ การสูญเสีย ของหน้าดินซึ่งถูกพัดพาไป หรือทรุดตัวในบางแห่ง โดยแบ่งระดับผลกระทบต่อผลผลิตออกเป็น 3 ระดับ คือ นอ้ ย (ลดลงไม่เกนิ 20%) ปานกลาง (ลดลง 20-40%) และมาก (ลดลงมากกว่า 40%) ซงึ่ มีสัดส่วนของ เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบใกล้เคียงกันร้อยละ 9.62 – 19.23 แต่มีเกษตรมากถึง ร้อยละ 42.31 ให้ ขอ้ มลู ว่าสภาพปัญหาการชะล้างพงั ทลายทเ่ี กดิ ข้ึนไม่ไดส้ ่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตทางเกษตร (3) แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาการชะล้างพงั ทลาย จากสภาพปัญหาของการชะ ล้างพงั ทลายของดินในพื้นท่ีเพาะปลูกพืช และท่อี ยอู่ าศัยของเกษตรกร จะเห็นว่า มีเกษตรกรเพยี งร้อยละ 27.78 ของเกษตรกรทั้งหมด มีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย โดยอาศัย 4 วิธีหลัก คือ 1) การ กอ่ อฐิ ขวางทางน้ำ 2) การปลกู พืชคลุมดิน 3) การปลูกหญ้าแฝก 4) การทำคันดิน ในขณะที่เกษตรกรมาก ถงึ ร้อยละ 72.22 ท่ไี ม่ไดม้ แี นวทางหรือมาตรการในการป้องกันหรือแก้ไขแต่อย่างใด โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ สว่ น ใหญ่ขาดองคค์ วามรู้ และยงั ขาดการสนับสนนุ งบประมาณ ขาดแรงงาน เพอื่ ดำเนินการดังกล่าว อกี ทัง้ ไม่มี เวลาในการดำเนินการ นอกจากนี้ หากมชี อ่ งทางในการป้องกันหรือแก้ไขโดยอาศัยหนว่ ยงานรัฐเข้ามาจัดการ แก้ไขให้ ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 52.83) มีความต้องการให้เข้ามาดำเนินการแก้ไข และมีเพียง บางสว่ นท่ีไม่ต้องการให้เข้ามาดำเนินการแก้ไข แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
68 (4) ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ จากการสำรวจข้อมูลเกษตรกรเพ่ือ สอบถามความรู้ ความเขา้ ใจ ดา้ นการอนุรกั ษด์ ินและน้ำ พบว่าเกษตรกรท้ังหมดมีความเห็นวา่ การใช้วัสดุ คลุมดนิ เช่นฟางขา้ ว เศษซากพืช ทำให้ดนิ มีความชุ่มชื้น การไถกลบซากพืชในดนิ เป็นการเพ่ิมความอุดม สมบูรณ์ของธาตุอาหารในดิน เกษตรกรร้อยละ 98.00 ของเกษตรกรทั้งหมดเห็นว่า การปลูกพืชชนิด เดียวกันซ้ำในพื้นที่เดิมติดต่อกันหลายๆ ปี ทำให้ดินเสื่อมคุณภาพ การใช้แต่ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการ เกษตรมากเกินไปทำให้ดินเสื่อมคุณภาพ เกษตรกรร้อยละ 96.00 ของเกษตรกรทั้งหมดเห็นว่า การเผา เศษซากพืชก่อนเตรียมดินปลูกพืช ส่งผลให้ดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ที่มีความลาดชัน ควรปลูกพชื โดยการปรบั พื้นที่ทำขั้นบันไดดินขวางความลาดเท การปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทของพ้นื ที่ ช่วยลดปริมาณน้ำไหลบ่าหน้าดนิ เกษตรกรรอ้ ยละ 94.00 ของเกษตรกรท้ังหมดเหน็ ว่า พ้ืนที่ที่มคี วามลาด ชันมากควรมีการไถพรวนขวางความลาดเทเพื่อควบคุมการชะล้างพังทลายของดิน เกษตรกรร้อยละ 90.00 ของเกษตรกรทั้งหมดเห็นว่า หญ้าแฝกมีระบบรากฝอยที่ยาวหยั่งลึกลงไปตามแนวดิ่ง ทำหน้าที่ เกาะยดึ ดนิ และเก็บรักษาความชุม่ ช้ืน และเกษตรกรร้อยละ 86.00 ของเกษตรกรทั้งหมดเหน็ ว่า หญ้าแฝก สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นพ้ืนที่อนื่ ๆ เพอื่ รกั ษาสภาพแวดล้อม ตารางที่ 3-16 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวัดน่าน ปกี ารผลิต 2563 รายการ รอ้ ยละ 1) ลักษณะและสภาพปญั หาดา้ นการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ในพืน้ ท่ปี ลูกพชื และที่อย่อู าศยั (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) (1) หน้าดนิ มรี ่อง/ร่องนำ้ เล็ก ๆ 48.15 (2) มีการใช้ปุ๋ย/สารเคม/ี ยาฆา่ แมลง มากขนึ้ 48.15 (3) น้ำไหลบา่ พัดพาหนา้ ดนิ 46.30 (4) แหลง่ นำ้ ตนื้ เขนิ มากข้ึน 44.44 (5) มีรอยทรดุ หรอื รอยแยก 32.07 (6) อ่นื ๆ 7.89 2) ผลกระทบตอ่ ผลผลติ (กรณที ีม่ ีร่องนำ้ /หนา้ ดินถูกพดั พาหรอื ทรดุ ตวั ) (1) ไม่มี 42.31 (2) มี โดยมผี ลกระทบให้ผลผลติ ลดลงในระดบั 57.69 - น้อย (ลดลงไมเ่ กิน 20%) 9.62 - ปานกลาง (ลดลง 20-40%) 13.46 - มาก (ลดลงมากกวา่ 40%) 19.23 3) แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาการชะลา้ งพังทลาย (กรณที ี่ดนิ ถูกน้ำกดั เซาะ/นำ้ พัดพาหนา้ ดนิ ) (1) ดำเนินการแก้ไข/ป้องกัน โดยวธิ ี 27.78 - การกอ่ อฐิ ขวางทางนำ้ 14.81 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
69 ตารางที่ 3-16 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ปกี ารผลิต 2563 (ต่อ) รายการ รอ้ ยละ - การปลกู พืชคลมุ ดิน 27.78 - การปลูกหญา้ แฝก 24.07 - การทำคันดนิ 22.22 (2) ไม่ดำเนนิ การแกไ้ ข/ปอ้ งกนั เน่อื งจาก 72.22 - ขาดองค์ความรู้ 38.88 - ขาดงบประมาณสนบั สนนุ 44.44 - ขาดแรงงาน 33.33 - ไมม่ ีเวลา 12.96 กรณีท่ไี ม่ไดแ้ กไ้ ข ความประสงค์ให้หน่วยงานรฐั ชว่ ยเหลือ (1) ไม่ต้องการ 47.17 (2) ต้องการ โดยมรี ะดบั ความตอ้ งการ 52.83 - นอ้ ย 1.92 - ปานกลาง 44.23 - มาก 46.15 4) ความรู้ ความเข้าใจ ดา้ นการอนุรักษ์ดนิ และนำ้ (1) ปลูกพชื ชนิดเดยี วกันซำ้ ในพ้นื ทเ่ี ดิมติดต่อกนั หลายๆ ปี ทำใหด้ ินเส่อื มคุณภาพ 98.00 (2) เผาเศษซากพชื กอ่ นเตรยี มดนิ ปลกู พชื สง่ ผลให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ 96.00 (3) การใช้แต่ปยุ๋ เคมแี ละสารเคมที างการเกษตรมากเกินไปทำใหด้ ินเสื่อมคณุ ภาพ 98.00 (4) การใช้วัสดคุ ลมุ ดนิ เชน่ ฟางข้าว เศษซากพืช ทำให้ดนิ มคี วามช่มุ ช้ืน 100.00 (5) พ้ืนทีท่ ่ีมคี วามลาดชนั มากควรมีการไถพรวนขวางความลาดเทเพ่อื ควบคมุ การชะล้างพังทลายของดิน 94.00 (6) พ้ืนท่ีมคี วามลาดชนั ควรปลูกพชื โดยการปรับพืน้ ทท่ี ำข้นั บนั ไดดนิ ขวางความลาดเท 96.00 (7) การไถกลบซากพืชในดิน เปน็ การเพิม่ ความอุดมสมบูรณข์ องธาตุอาหารในดนิ 100.00 (8) การปลูกพชื ตามแนวระดับขวางความลาดเทของพนื้ ทช่ี ่วยลดปรมิ าณน้ำไหลบา่ หน้าดนิ 96.00 (9) หญา้ แฝกมรี ะบบรากฝอยท่ียาวหย่งั ลกึ ลงไปตามแนวด่ิง ทำหนา้ ที่เกาะยึดดิน และเก็บรกั ษาความชมุ่ ช้ืนในดนิ ได้ 90.00 (10) หญ้าแฝกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในพื้นท่อี น่ื ๆ เพือ่ รกั ษาสภาพแวดล้อม 86.00 หมายเหตุ เกษตรกรตอบไดม้ ากกว่าหนึ่งข้อ ท่ีมา : จากการสำรวจ, 2563 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
70 ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้าง พังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน แต่เมื่อสอบถามถึงความต้องการวิธีการรักษาและ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า 3 อันดับแรกที่เกษตรต้องการ คือ การทำคันดินขวางทางลาดเท การทำฝายน้ำล้น หรือคันชะลอความเร็วของน้ำ การยกร่อง และการปลูกพืชทำร่องน้ำไปตามแนวระดับ (ตารางท่ี 3-17) ตารางที่ 3-17 ความรู้และความเข้าใจ และลำดับความต้องการของวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของหน้าดนิ พ้ืนทล่ี ุ่มนำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ปกี ารผลิต 2563 วธิ กี ารรกั ษาและป้องกนั ร้อยละ ลำดับความ 1) การทำบ่อดักตะกอนดนิ ใช่ ไม่ใช่ ไมแ่ น่ใจ ตอ้ งการ 2) การทำฝายนำ้ ลน้ หรือคนั ชะลอความเร็วของนำ้ 3) การทำคันดนิ ขวางทางลาดเท 97.30 2.70 0.00 1 4) การปลูกพชื แบบขน้ั บันได (ปรับพ้นื ท่เี ปน็ ขัน้ ๆ) 5) การปลูกพืชหมุนเวียน/ปลกู พืชแซม/ปลูกพชื เหล่ือมฤดู 89.74 7.69 2.56 2 6) การปลกู พชื สลบั เปน็ แถบ ปลูกพืชขวางความลาดเท 7) การปลูกพชื คลุมดิน 91.43 2.86 5.71 3 8) การปลกู หญ้าแฝกขวางทางลาดเท 9) การใชว้ ัสดตุ ่าง ๆ อยา่ งง่าย เช่นทอ่ นไม้ หิน กระสอบ 100.00 0.00 0.00 4 บรรจุทราย อฐิ และ กอ่ สรา้ งขวางทางระบายนำ้ เพ่อื ชะลอ ความเร็วของน้ำไมใ่ หก้ ดั เซาะ 91.43 2.86 5.71 5 10) การใชว้ ัสดุคลมุ ดนิ เชน่ เศษซากพืช ฟางข้าว เปลอื ก ขา้ วโพด ซงั ขา้ วโพด 91.89 5.41 2.70 6 11) การถางปา่ ตัดไม้ทำลายปา่ การขดุ ถนน 93.94 3.03 3.03 7 94.59 5.41 0.00 8 94.12 2.94 2.94 9 100.00 0.00 0.00 10 86.67 6.67 6.67 11 เมื่อพิจารณาข้อมูลทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับประเด็นที่เชื่อมโยงกับสภาพปัญหาการชะ ล้างพังทลายของดิน (ตารางที่ 3-18) พบว่า ในพื้นที่ตำบลนาน้อย เกษตรกรปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพืชผักสวนครัว เป็นพืชหลัก เป็นทั้งพื้นที่เกษตรอาศัยน้ำฝน และพื้นที่เขตชลประทาน เกษตรกร ประสบปญั หาภยั แลง้ และน้ำท่วมทุกปี เกษตรกรไมม่ ีความต้องการเปลีย่ นแปลงพชื ท่ปี ลูกอยู่เดิม เนอื่ งจาก เกษตรกรปลกู ข้าวไว้บรโิ ภคในครัวเรือน และดินไม่สามารถปลูกพชื อย่างอ่ืนได้ และเกษตรกรบางส่วนปลูก ยังต้องการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เหมือนเดิม เนื่องจากมีโรงงานรับซื้อมีตลาดรองรับเป็นที่ต้องการของ ตลาด ปลูกและดูแลรักษาง่าย มีราคาดี ดินเป็นดินที่มีสีดำคล้ำ เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย เกษตรกรมี ความเข้าใจว่าวิธีการแก้ไขสภาพดินที่เสื่อมโทรมในพื้นที่เกษตร 3 อันดับแรก คือ การใส่สารปรับปรุงดิน เช่น ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงสภาพดินกรด ไม่เผาเศษซากพืช และใส่ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ ของดิน คิดเป็นร้อยละ 79.42 78.99 และ 66.67 ของเกษตรกรทั้งหมด ตามลำดับ เกษตรกรเห็นว่า แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
71 แนวทางในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรคือ ใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และวัสดุต่าง ๆ เพื่อ ปรบั ปรงุ บำรุงดิน ปลกู พืชหมุนเวียน และลงทนุ สรา้ งแหล่งน้ำเพ่ือการเกษตร คดิ เป็นร้อยละ 58.33 33.33 และ 8.33 ตามลำดับ เกษตรกรทั้งหมดสนใจการเกษตรอินทรีย์โดยใช้สารเคมีในระดับปลอดภัย และมี เกษตรกรเพียงร้อยละ 50.00 มีความสนใจที่จะทำการเกษตรแบบพอเพียง ในพื้นที่ตำบลนาน้อยมี เกษตรกรทำการเกษตรอนิ ทรยี ์ รอ้ ยละ 12.50 ของเกษตรกรทัง้ หมด ยังไมม่ ีการรวมกล่มุ การผลิตหรือขาย ผลผลิตทางการเกษตร มีเกษตรกรรอ้ ยละ 37.50 เลย้ี งสตั วป์ กี เพอื่ การคา้ ในพื้นที่ตำบลน้ำตก เกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และยางพารา เป็นพืชหลัก เป็นพื้นที่ เกษตรอาศัยน้ำฝน เกษตรกรประสบปัญหาภัยแล้งทุกปี เกษตรกรร้อยละ 50 ของเกษตรกรทั้งหมดมี ความต้องการเปลี่ยนแปลงพืชที่ปลูกอยู่เดิมเป็นยางพาราเพราะเป็นพืชที่มีราคาดี ให้ผลผลิตนานหลายปี ปลูกและดูแลรักษาง่าย และคิดว่าเป็นพืชที่เหมาะสมกับสภาพดินและสภาพพื้นที่ ดินมีการชะล้าง พังทลาย เปน็ ดินรว่ นเหนยี วปนทราย เกษตรกรมีความเข้าใจว่าวธิ ีการแก้ไขสภาพดินที่เส่ือมโทรมในพ้ืนที่ เกษตร 3 อนั ดับแรก คอื การใสป่ ุ๋ยเคมเี พื่อเพม่ิ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การใส่สารปรบั ปรุงดิน เช่น ปูน โดโลไมท์เพื่อปรับปรุงสภาพดินกรด และ การปลูกพืชปุ๋ยสดเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน คิดเป็นร้อยละ 53.33 37.84 และ 30.48 ของเกษตรกรทั้งหมด ตามลำดับ เกษตรกรเห็นว่าแนวทางในการเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตรคอื ใส่ปยุ๋ เคมี ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ปุ๋ยชวี ภาพ และวัสดุตา่ ง ๆ เพ่ือปรบั ปรงุ บำรงุ ดิน เพมิ่ พื้นท่ีเพาะปลูก ปลูกพืชหมุนเวียน และลงทุนสร้างแหล่งน้ำเพ่ือการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 53.33 26.67.33 13.33 และ 6.67 ตามลำดบั เกษตรกรทั้งหมดมคี วามสนใจที่จะทำการเกษตรแบบพอเพียง และสนใจในการทำเกษตร อินทรีย์ โดยมีเกษตรกรร้อยละ 50.00 สนใจการเกษตรอินทรีย์โดยใช้สารเคมีในระดับปลอดภัย และ ตามลำดับ เกษตรกรร้อยละ 50.00 สนใจการเกษตรอินทรีย์โดยไม่ใช้สารเคมีเลย ในพื้นที่ตำบลน้ำตกมี เกษตรกรทำการเกษตรอินทรีย์ รอ้ ยละ 50.00 ของเกษตรกรทั้งหมด ยงั ไม่มกี ารรวมกลมุ่ การผลติ หรือขาย ผลผลิตทางการเกษตร มีเกษตรกรร้อยละ 75.00 เลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า โดยเป็นการเลี้ยงสัตว์ปีก ร้อยละ 66.67 และเปน็ การเล้ียงสุกรร้อยละ 33.33 ของเกษตรกรทเ่ี ลีย้ งสตั ว์เพ่ือการคา้ ในพื้นที่ตำบลบัวใหญ่ เกษตรกรปลูกข้าว และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นพืชหลัก เป็นพื้นที่ เกษตรอาศัยน้ำฝน เกษตรกรประสบปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมทุกปี เกษตรกรร้อยละ 12.50 ของ เกษตรกรทั้งหมดมีความต้องการเปลี่ยนแปลงพืชที่ปลูกอยู่เดิมเป็นยางพาราเพราะเป็นพืชที่มีราคาดี ให้ ผลผลิตนานหลายปี และคิดว่าเป็นพืชที่เหมาะสมกับสภาพดินและสภาพพื้นที่ ดินมีการชะล้างพังทลาย เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย เกษตรกรมีความเข้าใจว่าวธิ กี ารแกไ้ ขสภาพดินที่เสื่อมโทรมในพื้นทีเ่ กษตร 3 อันดับแรก คือ การปลูกพืชหมุนเวียน การใส่ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และการใส่ปุ๋ยมัก หรือปุ๋ยคอกเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน คิดเป็นร้อยละ 54.33 44.44 และ 25.61 ของเกษตรกรทั้งหมด ตามลำดับ เกษตรกรเหน็ วา่ แนวทางในการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตรคือ ใสป่ ุ๋ยเคมี ปยุ๋ อินทรีย์ ปุย๋ ชวี ภาพ และวัสดุต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงบำรุงดิน ลงทุนสร้างแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร และปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุง บำรุงดิน คิดเป็นร้อยละ 70.00 20.00 และ 10.00 ตามลำดับ เกษตรกรทั้งหมดมีความสนใจที่จะทำ การเกษตรแบบพอเพียง และเกษตรกรร้อยละ 75.00 ของเกษตรกรท้ังหมดสนใจในการทำเกษตรอินทรีย์ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
72 โดยมีเกษตรกรร้อยละ 66.67 สนใจการเกษตรอินทรีย์โดยใช้สารเคมีในระดับปลอดภัย และ ตามลำดับ เกษตรกรรอ้ ยละ 33.33 สนใจการเกษตรอนิ ทรยี โ์ ดยไม่ใช้สารเคมเี ลย ในพ้ืนที่ตำบลบวั ใหญม่ เี กษตรกรทำ การเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 37.50 ของเกษตรกรท้ังหมด ยงั ไม่มีการรวมกลุ่มการผลิตหรือขายผลผลิตทาง การเกษตร มีเกษตรกรรอ้ ยละ 50.00 เลี้ยงสัตวป์ ีกเพ่อื การคา้ ตารางท่ี 3-18 ทศั นคติของเกษตรกรด้านการใช้ทดี่ นิ รายการ ตำบลนานอ้ ย ตำบล ตำบลบัวใหญ่ เฉลย่ี พ้ืนท่ี รอ้ ยละ นำ้ ตก ร้อยละ ดำเนินการ รอ้ ยละ ร้อยละ 1. พืชหลักที่เกษตรกรปลูก 46.67 33.33 ขา้ วนา 53.33 80.11 44.44 40.00 ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ 12.47 74.22 22.22 59.29 ยางพารา 50.24 20.33 10.45 36.30 พชื ผักสวนครัว 27.01 2. สภาพดนิ ทใ่ี ช้ในการทำการเกษตรในปัจจุบนั 11.11 25.00 88.89 ดนิ เหนียว 55.56 12.33 57.88 41.67 ดินร่วนปนทราย 12.33 84.41 42.34 41.92 ดนิ มกี ารชะลา้ งพังทลาย 10.37 6.25 11.11 46.36 ดินมหี นิ กรวดปะปน 27.84 31.24 25.64 9.24 ดินทราย 81.99 12.50 20.56 28.24 ดินดำ 31.49 25.00 32.11 38.35 ดินร่วน 33.33 31.25 29.87 29.53 ดินเหนียวปนทราย 31.48 3. วิธกี ารแกไ้ ขสภาพดินท่เี ส่ือมโทรม 25.00 27.34 25.61 ใส่ปยุ๋ หมัก/ปยุ๋ คอก 79.42 37.84 22.22 25.98 ใสส่ ารปรบั ปรุงดนิ เช่น โดโลไมท์ 15.67 20.78 54.33 46.49 ปลูกพชื หมุนเวยี น 78.99 26.67 16.67 30.26 ไม่เผาเศษ/ซากพืช 8.33 13.33 23.45 40.78 ใสป่ ุย๋ ชวี ภาพ 66.67 53.33 44.44 15.04 ใส่ปุ๋ยเคมี 25.67 30.48 16.67 54.81 ใช้ปุย๋ พืชสด 30.67 6.67 56.87 24.27 ไถพรวนหลายครง้ั 31.40 4. แหล่งนำ้ ทใ่ี ชท้ ำการเกษตร 100.00 100.00 100.00 น้ำฝน 23.41 16.67 9.09 100.00 บอ่ บาดาล บอ่ สระ 77.78 33.33 27.27 16.39 หว้ ย คลอง 22.22 46.13 น้ำชลประทาน 22.22 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
73 ตารางท่ี 3-18 ทัศนคติของเกษตรกรด้านการใช้ท่ีดิน (ต่อ) รายการ ตำบลนานอ้ ย ตำบล ตำบลบวั ใหญ่ เฉล่ียพ้ืนท่ี ร้อยละ นำ้ ตก รอ้ ยละ ดำเนินการ รอ้ ยละ ร้อยละ 5. ปัญหาภัยแล้ง/ขาดแคลนแหลง่ น้ำใน 58.33 พ้นื ท่ีการเกษตร 75.00 1-2 ปี ตอ่ ครง้ั 25.00 100.00 50.00 37.50 62.50 ทุกปี 75.00 100.00 50.00 79.17 6.ปัญหานำ้ ท่วมในพืน้ ที่การเกษตร 31.25 1-2 ปี ต่อคร้งั 25.00 50.00 100.00 ทกุ ปี 75.00 50.00 16.67 33.33 7. ความตอ้ งการเปลย่ี นแปลงพชื ทป่ี ลูกอยู่เดิมเปน็ พืชอตุ สาหกรรม 25.00 33.33 เกษตรกรไมต่ อ้ งการเปลีย่ น 100.00 50.00 87.50 26.91 เกษตรกรต้องการเปลยี่ น 50.00 12.50 26.19 21.32 8. เกษตรกรต้องการเปลีย่ นเป็นพืช 13.57 9.52 ยางพารา 100.00 100.00 19.05 25.47 9. เหตุผลท่ตี อ้ งการเปลย่ี นเพราะ 17.61 ปลูกและดูแลรกั ษาง่าย 16.67 37.50 25.00 ราคาผลผลิตดี 33.33 33.33 66.67 เหมาะสมกับสภาพดนิ และพืน้ ท่ี 16.67 33.33 60.55 เปน็ พชื ทใี่ หผ้ ลผลติ นานหลายปี 33.33 33.33 10. เหตผุ ลท่ไี มต่ อ้ งการเปลย่ี นเพราะ ปลกู ไว้บริโภคในครัวเรือน 23.81 33.33 23.59 มีโรงงานรบั ซอื้ 19.05 33.33 ทด่ี ินไมส่ ามารถปลูกพชื อื่นได้ 19.05 23.59 ราคาผลผลิตดี 9.52 17.61 มตี ลาดรองรับเป็นทตี่ อ้ งการของตลาด 9.52 ปลูกและดแู ลรกั ษางา่ ย 19.05 ได้รบั ผลผลติ เร็ว 33.33 17.61 ใช้แรงงานน้อย 17.61 11. ความสนใจตอ่ พืชชนดิ ใหม่ เกษตรกรไมส่ นใจ 50.00 25.00 เกษตรกรไม่แน่ใจ 25.00 เกษตรกรสนใจ 50.00 75.00 75.00 12. แนวทางการเพม่ิ ผลผลติ ทางการเกษตร ใส่ปยุ๋ เคมี ปุ๋ยอนิ ทรีย์ ปุ๋ยชวี ภาพ 58.33 53.33 70.00 และวัสดุตา่ งๆ เพอ่ื ปรบั ปรงุ บำรุงดิน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
74 ตารางท่ี 3-18 ทัศนคตขิ องเกษตรกรดา้ นการใช้ที่ดิน (ตอ่ ) รายการ ตำบลนานอ้ ย ตำบลน้ำตก ตำบลบัวใหญ่ เฉลี่ยพนื้ ท่ี รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ดำเนินการ รอ้ ยละ เพ่มิ พ้ืนทเี่ พาะปลกู 26.67 26.67 ปลกู ปยุ๋ พชื สด 10.00 10.00 ปลูกพชื หมนุ เวียน 33.33 13.33 23.33 ลงทนุ สรา้ งแหลง่ น้ำเพ่ือการเกษตร 8.33 6.67 20.00 11.67 13. ความสนใจในการทำเกษตรอนิ ทรยี ์ สนใจ 100.00 100.00 75.00 91.67 ไม่สนใจ 25.00 25.00 14. รปู แบบเกษตรอนิ ทรยี ์ท่ีสนใจ 100.00 50.00 66.67 72.22 ใช้สารเคมีในระดบั ปลอดภัย 50.00 33.33 41.67 ไมใ่ ชส้ ารเคมีเลย 15. การทำเกษตรอินทรยี ใ์ นหมบู่ ้านหรือตำบล มกี ารทำเกษตรอนิ ทรีย์ 12.50 50.00 37.50 33.33 16. ความสนใจในการทำการเกษตรแบบพอเพียง สนใจ 50.00 100.00 100.00 83.33 ไมส่ นใจ 50.00 50.00 17. การรวมกลุ่มผลติ หรือขายผลผลติ ทางการเกษตร ไมม่ ี 100.00 100.00 100.00 100.00 18. การเลยี้ งสัตวเ์ พื่อการค้า ไม่เลย้ี ง 62.50 25.00 50.00 45.83 เลย้ี ง 37.50 75.00 50.00 54.17 19. ชนดิ สตั วท์ ่เี ล้ียงเพื่อการคา้ สัตวป์ กี 100.00 66.67 100.00 88.89 สุกร 33.33 33.33 ทม่ี า: จากการสัมภาษณ์ จากการสำรวจทัศนคติของเกษตรกรที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ เกษตรกรมคี วามเห็นวา่ ปัญหาและอปุ สรรคในการดำเนินการอนรุ ักษด์ ินและนำ้ ไดแ้ ก่ ไม่มีความรู้ในเรื่อง วิธีการทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ มากที่สุด รองลงมา คือ ไม่มีแรงงานในการทำระบบอนุรักษ์ดินและนำ้ ไม่มีความรู้ในการปลูกหญ้าแฝก การปลูกหญ้าแฝกทำให้ยุ่งยากเสียเวลา การทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ยุ่งยากเสียเวลา ของเกษตรกรทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 82.05 รองลงมา 74.36 71.79 69.23 และ 66.67 ของเกษตรกรทั้งหมดตามลำดบั (ตารางที่ 3-19) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
75 ตารางที่ 3-19 ทัศนคตขิ องเกษตรกรทเี่ ปน็ ปัญหาและอุปสรรคต่อการอนรุ กั ษ์ดินและน้ำ รอ้ ยละ 82.05 รายการ 66.67 74.36 (1) ไม่มีความร้ใู นเร่อื งวิธีการทำระบบอนุรกั ษด์ ินและนำ้ 43.59 (2) การทำระบบอนรุ กั ษ์ดินและน้ำ ย่งุ ยาก เสียเวลา 71.79 (3) ไมม่ แี รงงานในการทำระบบอนุรกั ษ์ดนิ และนำ้ 69.23 (4) การก่อสรา้ งระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ ทำใหเ้ สียพื้นที่เกษตรกรรม 46.15 (5) ไมม่ ีความรใู้ นการปลูกหญ้าแฝก 38.46 (6) การปลกู หญ้าแฝกทำใหย้ งุ่ ยาก เสียเวลา (7) ไม่มแี รงงานในการปลูกหญ้าแฝก 43.59 (8) กลา้ หญ้าแฝกหายาก ไมเ่ พยี งพอ (9) ไมม่ ีรายไดจ้ ากการปลูกหญ้าแฝกเหมือนพชื เศรษฐกิจอ่ืน ๆ จากการรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อจัดทำแผนการใช้ ที่ดินเพื่อการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ได้ วิเคราะห์ SWOT โดยศึกษาสภาพการณ์ภายในและภายนอก วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรค เพ่ือนำไปใช้ในการกำหนดมาตรการท่ีเหมาะสมและวางแผนบริหารโครงการ สรุปได้ดงั นี้ จดุ แข็ง จุดอ่อน 1. มีป่าสมบูรณ์/ป่าชุมชน ที่รักษาเป็นแหล่งต้นน้ำ 1. พื้นที่ทำกินอยู่ในเขตป่า (ไม่มีเอกสารสิทธิ์) ร้อย รวมทั้งมีพื้นที่ปลูกไม้ยืนต้น (ยางพารา) ซึ่งมีการ ละ 11.42 ของเกษตรกรท่ตี อบจุดอ่อน ดูแลโดยชาวบ้าน ร้อยละ 12.90 ของเกษตรกรท่ี 2. เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในด้านการ ตอบจุดแขง็ ทำการเกษตร การฟื้นฟูปรับปรุงบำรุงดิน อนุรักษ์ 2. ชุมชนมีความเข้มแข็งและกติกาในการใช้ที่ดิน ดินและน้ำ ร้อยละ 8.57 ของเกษตรกรที่ตอบ รว่ มอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ รอ้ ยละ 9.67 ของเกษตรกรที่ จดุ อ่อน ตอบจดุ แขง็ 3. แหล่งกักเก็บน้ำ แหล่งน้ำทางการเกษตรไม่ 3. มีปราชญ์เกษตรอินทรีย์/ผสมผสาน หมอดิน เพียงพอ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอาศัยน้ำฝน อาสา ผู้นำชุมชนเข้มแข็งและสามัคคีในชุมชน ร้อย เปน็ หลัก ร้อยละ 8.57 ของเกษตรกรทตี่ อบจุดอ่อน ละ 9.67 ของเกษตรกรทต่ี อบจดุ แข็ง 4. ดินตื้น ดินเสื่อมโทรม ดินขาดความอดุ มสมบรู ณ์ 4. มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (ดอยผาผึ้ง ดอย รอ้ ยละ 8.57 ของเกษตรกรทตี่ อบจดุ อ่อน เสมอดาวและผาชู้) ร้อยละ 9.67 ของเกษตรกรท่ี 5. มีพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน ความลาดชันสูง/มีการ ตอบจุดแขง็ ปลูกพืชเชิงเดี่ยว มีการชะล้างสูงสังเกตจากมี ตะกอนในแหล่งน้ำเยอะและตืน้ เขิน น้ำไหล่บา่ เร็ว แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
76 จุดแข็ง (ต่อ) จดุ ออ่ น (ตอ่ ) 5. พื้นที่มีความลาดชันน้อย มีทางลำเลียง การ เกิดน้ำท่วมฉับพลัน ร้อยละ 8.57 ของเกษตรกรที่ คมนาคมสะดวก ร้อยละ 9.67 ของเกษตรกรท่ีตอบ ตอบจุดอ่อน จดุ แข็ง 6. ใช้สารเคมีมาก (ยาฆ่าหญ้า ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมง 6. มีพื้นที่เอกสารสิทธิ์ สปก. นส.3 และ สค.1 ร้อย เช่น หนอนกระทู้ข้าวโพด) ร้อยละ 8.57 ของ ละ 6.45 ของเกษตรกรตอบจุดแขง็ เกษตรกรทตี่ อบจดุ ออ่ น 7. ดินมีความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทาง 7. แรงงานในภาถเกษตรเป็นแรงงานสูงอายุ ขาด การเกษตร ร้อยละ 6.45 ของเกษตรกรที่ตอบจุด แรงงานฤดูเก็บเกี่ยวการผลิตและว่างงานหลังฤดู แขง็ เก็บเก่ยี ว ร้อยละ 8.57 ของเกษตรกรท่ีตอบจดุ อ่อน 8. มีน้ำต้นทุนและมีแหล่งกักเก็บน้ำ และระบบ 8. พื้นที่ทางการเกษตรยังขาดการพัฒนาด้าน กระจายน้ำ (ประปาภูเขา) ร้อยละ 6.45 ของ คมนาคม (ในแปลงไม่มีทางลำเลียงที่ใช้ได้ทั้งปี) เกษตรกรท่ตี อบจดุ แข็ง รอ้ ยละ 5.71 ของเกษตรกรที่ตอบจุดออ่ น 9. มีการปรับเปลี่ยนพื้นไร่เป็นไม้ยืนตน้ (ยางพารา) 9. ขาดแคลนแหล่งน้ำ/แหล่งน้ำตื้นเขิน ร้อยละ มากข้ึน รอ้ ยละ 6.45 ของเกษตรกรท่ตี อบจดุ แข็ง 5.71 ของเกษตรกรทตี่ อบจดุ ออ่ น 10. มีการรวมกลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มยางพารา 10. สภาพพืน้ ทที่ างการเกษตรค่อนข้างลาดชนั เกิด และกลุ่มเนื้อโควัว เพื่อสร้างความเข้มแข็งในอาชีพ การชะล้างพังทลายของหน้าดิน ร้อยละ 5.71 ของ ร้อยละ 6.45 ของเกษตรกรที่ตอบจุดแข็ง เกษตรกรท่ีตอบจดุ อ่อน 11. เกษตรกรรจู้ กั ผลิตภัณฑ์ พด. ร้อยละ 3.22 ของ 11. ขาดแคลนน้ำใชใ้ นฤดแู ล้ง บรเิ วณ หมู่ 3 4 และ เกษตรกรท่ีตอบจุดแข็ง 5 ต.น้ำตก ต้องนำเข้าน้ำ ร้อยละ 2.85 ของ 12. มีศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงในชุมชน ร้อยละ เกษตรกรทีต่ อบจุดออ่ น 3.22 ของเกษตรกรทต่ี อบจดุ แขง็ 12. ขาดความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีการเกษตร 13. มีเครื่องจักรการเกษตรในพื้นที่ เยอะเกือบทุก รอ้ ยละ 2.85 ของเกษตรกรทีต่ อบจุดอ่อน หลงั คา ร้อยละ 3.22 ของเกษตรกรท่ตี อบจุดแข็ง 13. สภาพพ้ืนท่ีทางการเกษตรค่อนขา้ งลาดชัน เกิด 14 เคยมงี านจดั ระบบอนรุ ักษด์ ินและนำ้ เกิน 10 ปี การชะล้างพังทลายของหน้าดิน ร้อยละ 5.71 ของ ร้อยละ 3.22 ของเกษตรกรทต่ี อบจุดแขง็ เกษตรกรทต่ี อบจดุ อ่อน 15. นอกฤดูเพาะปลูก มีพื้นที่ว่างสำหรับการ 14. ขาดแคลนนำ้ ใช้ในฤดูแล้ง บริเวณ หมู่ 3 4 และ ปรับปรงุ พื้นที่ รอ้ ยละ 3.22 ของเกษตรกรท่ตี อบจุด 15 ต.น้ำตก ต้องนำเข้าน้ำ ร้อยละ 2.85 ของ แขง็ เกษตรกรทตี่ อบจุดออ่ น 16. ขาดความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีการเกษตร รอ้ ยละ 2.85 ของเกษตรกรท่ีตอบจุดอ่อน 17. ยงั ขาดตลาดรับซ้ือผลผลติ เกษตร รอ้ ยละ 2.85 ของเกษตรกรที่ตอบจดุ อ่อน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
77 จุดแขง็ จุดอ่อน 18. การบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีไม่เหมาะสม กับพื้นที่ ร้อยละ 2.85 ของเกษตรกรท่ีตอบจุดอ่อน 19. เมล็ดพันธุ์พชื มรี าคาแพง/ปุ๋ยราคาแพง ร้อยละ 2.85 ของเกษตรกรท่ีตอบจดุ อ่อน 20. ยังไม่มีการรวมกลุ่มเกษตรกรด้วยตนเอง ยกเว้นยางพารา ร้อยละ 2.85 ของเกษตรกรที่ตอบ จดุ ออ่ น 21. มีการเผาป่าเกิดหมอกควัน ร้อยละ 2.85 ของ เกษตรกรทต่ี อบจดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค 1. ภาครัฐสนับสนุนส่งเสรมิ ด้านพันธ์ุพืช ปัจจัยการ 1. มีภัยธรรมชาติ (พายุและวาตภัย/ฝนตกไม่ตาม ผลติ องคค์ วามรใู้ นการใช้สารชีวภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช ฤดูกาล/ทิ้งช่วง/ภัยแล้ง) น้ำต้นทุน ในช่วง 2 ปีที่ ร้อยละ 14.28 ของเกษตรกรท่ีตอบโอกาส ผ่านมาเริม่ มีปัญหาในช่วงฤดูแล้ง (เริ่มพฤศจกิ ายน- 2. ภาครัฐจัดสรรพ้ืนท่ี/ขยายสิทธทิ ำกนิ ใหเ้ กษตรกร พฤษภาคม) ร้อยละ 21.73 ของเกษตรกรที่ตอบ เช่น สปก. คทช. สทก. ฯลฯ ร้อยละ 9.52 ของ อปุ สรรค เกษตรกรทต่ี อบโอกาส 2. ขาดการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและการ 3. สนับสนุนการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน สนับสนุนปัจจัยจากรัฐ หน่วยงานภาครัฐเข้าไม่ถึง ให้ความรู้ และสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ ในการผลิต เกษตรกร (ไมต่ ่อเนื่องและตรงตามฤดกู าล ) ร้อยละ สารอินทรีย์ทดแทนการใช้สารเคมีและพัฒนา 13.04 ของเกษตรกรท่ีตอบอุปสรรค คุณภาพของสารอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพใกล้เคียง 3. ต้นทนุ การผลิตสูงข้ึน (เมล็ดพันธ์ุ ปุย๋ ยา และค่า การใช้สารเคมี ร้อยละ 9.52 ของเกษตรกรที่ตอบ ขนส่ง) มีหนี้สินจากต้นทุนการผลิต ร้อยละ 13.04 โอกาส ของเกษตรกรทตี่ อบอปุ สรรค 4. นโยบายภาครัฐมาสนับสนุนทางการเกษตร 4. งบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐในด้าน (ประกันราคาสินค้าภาคการเกษตร) ร้อยละ 9.52 การเกษตรยังไม่เพียงพอ (ไม่ค่อยควบคุมทุกพืช) ของเกษตรกรท่ีตอบโอกาส ขาดความต่อเนื่องจาการส่งเสริมจากภาครัฐ ร้อย 5. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบกระจายน้ำ การ ละ 13.04 ของเกษตรกรท่ีตอบอปุ สรรค ทำฝนเทียมในฤดูแล้งและส่งเสริมการปลูกพืชทน 5. ไม่มีร้านค้า (ขายวัตถุดิบ) และตลาดรับซื้อใน แลง้ ร้อยละ 9.52 ของเกษตรกรท่ตี อบโอกาส พื้นที่การขายผลผลิตต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ร้อย 6. มีเทคโนโลยีทางการเกษตรเพิ่มข้ึน นำเทคโนโลยี ละ 8.69 ของเกษตรกรท่ตี อบอุปสรรค และนวัตกรรมมาใช้ทดแทนแรงงาน ร้อยละ 9.52 ของเกษตรกรท่ตี อบโอกาส แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
78 โอกาส อุปสรรค 7. ได้รับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ดิน มี 6. ศัตรูพืช เช่น โรค แมลง และหนอน ระบาดไม้ เจา้ หนา้ ท่ีเขา้ มาแนะนำใหค้ วามรู้ ร้อยละ 9.52 ของ ผล พืชไร่ (ข้าวโพดและยางพารา) ร้อยละ 8.69 เกษตรกรทตี่ อบโอกาส ของเกษตรกรท่ตี อบอปุ สรรค 8. ได้รับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ดิน มี 7. ราคาผลผลิตตกต่ำ เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจ เจา้ หน้าทเ่ี ข้ามาแนะนำให้ความรู้ ร้อยละ 9.52 ของ ไม่ดี ร้อยละ 4.34 ของเกษตรกรที่ตอบอปุ สรรค เกษตรกรที่ตอบโอกาส 8. มีพื้นที่ป่าสงวนจำนวนมาก เป็นอุปสรรคต่อ 9. มีการสำรวจขอ้ มูลภาวะเศรษฐกจิ และสังคมจาก การพัฒนา เพราะเครื่องจักรเข้าทำงานไม่ได้ ร้อย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบเศรษฐกิจและ ละ 4.34 ของเกษตรกรทีต่ อบอปุ สรรค สังคมในชุมชนซึ่งนำไปประกอบการพัฒนาชุมชน 9. ปญั หาเรอื่ งทด่ี ิน เชน่ ดนิ ลกู รัง ดนิ ตนื้ ดินสีขาว รอ้ ยละ 4.76 ของเกษตรกรที่ตอบโอกาส ปนทราย ดินบนพื้นที่สูงชะล้าง อุ้มน้ำไม่ดี ความ 10. มีการแบ่งโซนพื้นที่ทำการเกษตรตาม อุดมสมบูรณ์ต่ำ ร้อยละ 4.34 ของเกษตรกรท่ี ความหมาะสม (Zoning) เพื่อการปรับเปลี่ยนการ ตอบอุปสรรค ทำการเกษตรในพื้นท่ี ร้อยละ 4.76 ของเกษตรกรท่ี 10. โรคระบาด (Covid-19) ทำใหต้ ลาดค้าผลผลติ ตอบโอกาส ทางการเกษตรปิดตัว เนื่องจากนโยบายของรัฐส่ัง 11. มีการปลูกป่า อนุรักษ์ป่า ไม้ยืนต้น โดยรัฐให้ ปิดชั่วคราว ร้อยละ 4.34 ของเกษตรกรที่ตอบ การสนับสนุนปัจจัยค่าตอบแทน ร้อยละ 4.76 ของ อปุ สรรค เกษตรกรที่ตอบโอกาส 12. เป็นเส้นทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ ร้อยละ 4.76 ของเกษตรกรท่ตี อบโอกาส 13. ไม่มีไฟป่าในพื้นที่ ร้อยละ 4.76 ของเกษตรกร ทตี่ อบโอกาส 14. จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำและให้ความรู้ใน การใช้ประโยชน์ที่ดินตามความเหมาะสม ร้อยละ 4.76 ของเกษตรกรที่ตอบโอกาส 15. นโยบายประกันราคาของภาครัฐลดการกด ราคาทางการเกษตรจากพ่อค้าคนกลางมีพื้นที่ป่า สงวนจำนวนมาก ควรอนุรักษ์ไวเ้ พ่ือเป็นพนื้ ทตี่ ้นน้ำ 16. โรคระบาด (covid-19) ทำให้แรงงานพลัดถิ่น กลับมาสู่ชุ่มชน ส่งเสริมอาชีพเสริมเพื่อสร้าง แรงงานในชมุ ชน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
79 จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็งกับโอกาส จุดแข็งกับข้อจำกัด จุดอ่อนกับ โอกาส และจุดอ่อนกับข้อจำกัด (TOWS matrix) ซึ่งผลของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในข้อมูลแต่ละคู่ ดังกลา่ ว ทำให้ได้แนวทางและมาตรการสำหรับการพฒั นาพน้ื ทเี่ พื่อป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดินและ ฟื้นฟู พื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ กำหนด แผนงาน/โครงการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในการกำหนด แผนการดำเนนิ งาน และกลไกการขับเคล่อื นแผนบรหิ ารจัดการโครงการ ในลำดบั ตอ่ ไป จากการสำรวจแปลงเกษตรกรในพื้นที่โครงการ เพื่อวิเคราะห์ภาวะการผลิตพืช โดยแบ่งการ วิเคราะห์สภาพพน้ื ทีท่ ำการเกษตร ตามระดบั ความรนุ แรงของการสูญเสยี ดิน ออกเปน็ 3 ระดับ ได้แก่ 1) พื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับรุนแรง จะพบในที่ดอน เกษตรกรมีการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ เพื่อปลกู ขา้ วโพดและยางพารา (ตารางที่ 3-20) ภาวะการผลิตข้าวโพดในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดั บรุนแรง เกษตรกรทั้งหมดปลูกข้าวโพดพันธุ์ CP888 และมีร้อยละ 21.52 ของเกษตรกรตัวอย่างที่ปลูกข้าวโพด เลือกปลูกข้าวโพดพันธุ์ไพโอเนียร่วมด้วย เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดในเขตเกษตรอาศัยน้ำฝน มีช่วงเวลาปลกู อยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม และมีช่วงเวลาเก็บเกี่ยว อยู่ระหว่างเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ผลผลิตเฉลี่ย 645.12 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกรขายผลผลิตทั้งหมด ตามสถานที่รับซื้อผลผลิตข้าวโพด จำแนกเป็น การรับซื้อ ณ จุดรับซื้อท้องถ่ิน การรับซือ้ ในหมู่บ้าน การรับซื้อในไร่นา คิดเป็นร้อยละ 43.43 33.99 และ 22.58 ของปริมาณผลผลติ ทั้งหมด ตามลำดบั ภาวะการผลติ ยางพาราในพืน้ ที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดนิ ในระดับรุนแรง เกษตรกรปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 เป็นพื้นที่ปลูกยางพาราในเขตเกษตรอาศัยน้ำฝน มีช่วงเวลาเก็บ เกี่ยว อยู่ระหว่างเดือนสิงหาคม – กุมภาพันธ์ ผลผลิตเฉล่ียยางก้อนถ้วย 215.33 กิโลกรัมตอ่ ไร่ เกษตรกร ขายผลผลิตทัง้ หมด ตามสถานท่ีรับซือ้ ผลผลติ ยางพารา จำแนกเป็น การรบั ซอ้ื ณ จดุ รับซอ้ื ท้องถน่ิ การรับ ซ้อื ในหมบู่ ้าน คิดเปน็ ร้อยละ 51.40 และ 48.60 ของปริมาณผลผลติ ทัง้ หมด ตามลำดบั แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
80 ตารางที่ 3-20 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สูญเสียดินในระดบั รุนแรง รายการ ปีการผลิต 2562/63 ร้อยละ ชนิดพืชและพนั ธุ์ ข้าวโพดพันธ(ุ์ รอ้ ยละของเกษตรกร) 26.00 CP888(รอ้ ยละของเกษตรกรท่ีผลติ ข้าวโพด) 100.00 ไพโอเนยี (รอ้ ยละของเกษตรกรท่ผี ลิตขา้ วโพด) 21.52 ยางพาราพนั ธ(์ุ รอ้ ยละของเกษตรกร) 18.00 RRIM600(รอ้ ยละของเกษตรกรทผ่ี ลติ ยางพารา) 100.00 แหล่งนำ้ ท่ใี ชผ้ ลิตข้าวโพดและยางพารา(ร้อยละของเกษตรกร) น้ำฝน 100.00 ช่วงเวลาปลกู /เก็บเกยี่ วข้าวโพด เดอื นปลูก(รอ้ ยละของเกษตรกร) 45.66 พ.ค. 18.23 มิ.ย. 36.11 ก.ค. เดอื นเกบ็ เกี่ยว(ร้อยละของเกษตรกร) 3.45 ธ.ค. 80.46 ม.ค. 16.09 ก.พ. ชว่ งเวลาปลูก/เกบ็ เกย่ี วยางพารา 20.30 ปลูก เดือน/ปี(ร้อยละของเกษตรกร) 24.31 ก.ย.-49 12.38 พ.ค.-52 8.41 มิ.ย.-53 7.32 ก.ค.-54 10.64 ม.ิ ย.-56 16.64 ก.ค.-59 มิ.ย.-59 100.00 เดอื นเกบ็ เก่ยี ว(ร้อยละของเกษตรกร) ส.ค.-ก.พ. 645.12 ปรมิ าณผลผลติ 215.33 ขา้ วโพด(กก./ไร่) ยางพารา(กก./ไร)่ * แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
81 ตารางที่ 3-20 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สูญเสยี ดินในระดบั รุนแรง (ต่อ) รายการ ปีการผลติ 2562/63 รอ้ ยละ การใชป้ ระโยชน์ผลผลติ ขา้ วโพด(ร้อยละของปรมิ าณผลผลติ ) ขาย 100.00 การใชป้ ระโยชนผ์ ลผลติ ยางพารา(รอ้ ยละของปริมาณผลผลติ ) 100.00 ขาย 33.99 สถานทจ่ี ำหนา่ ยผลผลิตข้าวโพด 22.58 การรบั ซ้อื ในหม่บู า้ น (รอ้ ยละของปรมิ าณผลผลติ ) 43.43 การรบั ซื้อในไรน่ า (รอ้ ยละของปรมิ าณผลผลติ ) การรบั ซอ้ื ณ จุดรับซอ้ื ท้องถ่นิ (ร้อยละของปริมาณผลผลติ ) 48.60 51.40 สถานทจี่ ำหน่ายผลผลติ ยางพารา การรับซ้ือในหมู่บา้ น (รอ้ ยละของปรมิ าณผลผลติ ) การรับซ้ือ ณ จดุ รบั ซื้อท้องถนิ่ (รอ้ ยละของปริมาณผลผลติ ) ท่ีมา : จากการสำรวจ 2563 *หมายเหตุ : ยางพารา ขายยางกอ้ นถ้วย จากการวเิ คราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวโพดในพื้นที่ทำการเกษตรทีม่ ีความรุนแรงของ การสูญเสียดินในระดับรุนแรง (ตารางที่ 3-21) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดทั้งที่เป็นเงินสด และไม่เป็นเงินสด รวม 6,103.69 บาทต่อไร่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดมีรายได้เฉลี่ย 4,541.64 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดในพื้นที่ทำการเกษตรที่มี ความรุนแรงของการสญู เสียดนิ ในระดับรนุ แรงขาดทนุ ในการปลูกข้าวโพด 1,562.05 บาทต่อไร่ ตารางท่ี 3-21 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตขา้ วโพด ปีการผลติ 2562/63 ในพ้ืนทท่ี ำการเกษตรที่มี ความรนุ แรงของการสูญเสยี ดนิ ในระดบั รนุ แรง ขา้ วโพดปกี ารผลติ 2562/63 รายการ ตน้ ทนุ และผลตอบแทน (บาท/ไร)่ รวมต้นทุนการผลติ เปน็ เงนิ สด ไม่เป็นเงนิ สด รวม 1. ตน้ ทุนผนั แปร 6,103.69 4,746.03 1,357.66 5,678.58 1.1 คา่ วสั ดุการเกษตร 2,272.02 พนั ธ์ุ 4,746.03 932.55 ปุ๋ยเคมี 712.33 สูตร 15-15-15 2,272.02 0.00 712.33 0.00 320.45 0.00 320.45 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
82 ตารางท่ี 3-21 ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวโพด ปกี ารผลติ 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มี ความรุนแรงของการสูญเสียดนิ ในระดบั รนุ แรง (ตอ่ ) ขา้ วโพดปกี ารผลติ 2562/63 รายการ ตน้ ทุนและผลตอบแทน (บาท/ไร)่ สตู ร 16-20-0 เป็นเงินสด ไม่เปน็ เงนิ สด รวม สตู ร 20-10-12 234.66 0.00 234.66 สตุ ร 8-3-8 0.00 0.00 0.00 สตู ร 46-0-0 0.00 0.00 0.00 ปุ๋ยคอก/ปยุ๋ หมกั มูลวัว 324.56 0.00 324.56 สารปอ้ งกันและปราบวัชพชื สารป้องกันและปราบศตั รพู ชื 0.00 0.00 0.00 น้ำมนั เชอื้ เพลงิ และหลอ่ ลืน่ 315.05 0.00 315.05 1.2 คา่ แรงงานคน 210.22 0.00 210.22 1.3 ค่าซ่อมแซมอปุ กรณ์การเกษตร 154.75 0.00 154.75 1.4 คา่ ขนส่งผลผลิต 1,582.33 932.55 2,514.88 1.5 ดอกเบย้ี เงินกู้ 233.14 0.00 233.14 2. ตน้ ทนุ คงท่ี 199.99 0.00 199.99 คา่ เสื่อมเครื่องมือและอปุ กรณก์ ารเกษตร 458.55 0.00 458.55 ผลผลติ เฉลยี่ ต่อไร่ (กก./ไร่) 425.11 425.11 ราคาต่อหน่วย (บาท/กก.) 0.00 425.11 425.11 0.00 645.12 รวมมลู ค่าผลผลติ (บาท/ไร)่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงนิ สด (บาท/ไร่) 7.04 ผลตอบแทนเหนอื ต้นทุนผนั แปร (บาท/ไร่) 4,541.64 ผลตอบแทนเหนือตน้ ทนุ ทั้งหมด (บาท/ไร)่ -204.39 -1,136.94 ที่มา : จากการสำรวจ 2563 -1,562.05 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพาราในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดิน ในระดับรุนแรง (ตารางที่ 3-22) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตยางพาราทั้งที่เป็นเงินสดและไม่เป็น เงินสด รวม 6,417.59 บาทต่อไร่ เกษตรกรผู้ปลูกยางพารามีรายได้เฉลี่ย 3,852.25 บาทต่อไร่ เมื่อ พิจารณาผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความ รนุ แรงของการสูญเสียดนิ ในระดบั รุนแรงขาดทนุ ในการปลูกยางพารา 2,565.34 บาทต่อไร่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง
83 ตารางท่ี 3-22 ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ ยางพารา ปีการผลิต 2562/63 ในพ้ืนที่ทำการเกษตรท่ี มีความรนุ แรงของการสูญเสียดนิ ในระดับรุนแรง ยางพาราปีการผลติ 2562/63 รายการ ตน้ ทุนและผลตอบแทน (บาท/ไร่) รวมต้นทุนการผลิต เป็นเงินสด ไม่เป็นเงนิ สด รวม 1,902.40 4,515.19 6,417.59 1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 1,902.40 4,402.61 6,305.01 1.1 คา่ วสั ดุการเกษตร 1,083.66 82.61 1,166.27 พนั ธุ์ ปยุ๋ เคมี 0.00 82.61 82.61 สตู ร 15-15-15 สูตร 26-2-0 0.00 0.00 0.00 สูตร 20-10-12 269.57 0.00 269.57 สตุ ร 8-3-8 0.00 สตู ร 46-0-0 0.00 0.00 0.00 ปยุ๋ คอก/ปยุ๋ หมกั มลู ววั 0.00 0.00 0.00 261.54 0.00 261.54 สารป้องกนั และปราบวชั พชื 0.00 0.00 สารป้องกนั และปราบศตั รพู ชื 0.00 นำ้ มันเช้ือเพลิงและหล่อลื่น 0.00 0.00 0.00 1.2 คา่ แรงงานคน 0.00 0.00 0.00 1.3 ค่าซอ่ มแซมอปุ กรณ์การเกษตร 552.55 4,320.00 552.55 1.4 คา่ ขนสง่ ผลผลิต 0.00 0.00 4,320.00 1.5 ดอกเบี้ยเงนิ กู้ 254.66 0.00 254.66 2. ตน้ ทุนคงที่ 66.75 0.00 66.75 ค่าเสื่อมเคร่ืองมือและอปุ กรณก์ ารเกษตร 497.33 112.58 497.33 ผลผลติ เฉลย่ี ตอ่ ไร่ (กก./ไร)่ 0.00 112.58 112.58 ราคาต่อหน่วย (บาท/กก.) 0.00 112.58 ผลตอบแทนเหนือต้นทนุ เงินสด (บาท/ไร)่ 215.33 ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผนั แปร (บาท/ไร)่ 17.89 ผลตอบแทนเหนือตน้ ทุนทั้งหมด (บาท/ไร่) 1,949.85 -2,452.76 ทีม่ า : จากการสำรวจ 2563 -2,565.34 2) พื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับปานกลาง จะพบในที่ดอน เกษตรกรมกี ารใช้ประโยชนท์ ด่ี ินเพอื่ ปลูกขา้ วโพดและยางพารา (ตารางที่ 3-23) ภาวะการผลิตข้าวโพดในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับปานกลาง เกษตรกรทั้งหมดปลูกข้าวโพดพันธุ์ CP888 และมีเกษตรกรที่เลือกปลูกข้าวโพดพันธุ์ไพโอเนียหรือพันธ์ุ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง
84 ลูกผสม เช่น มะม่วงคู่ ร่วมด้วย คิดเป็นร้อยละ 21.52 และ 12.56 ของเกษตรกรตัวอย่างที่ปลูกข้าวโพด ตามลำดับ เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดในเขตเกษตรอาศัยน้ำฝน มีช่วงเวลาปลูก อยู่ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม และมีชว่ งเวลาเก็บเก่ียว อยูร่ ะหวา่ งเดือนธนั วาคม – กุมภาพันธ์ ผลผลติ เฉลี่ย 780.68 กิโลกรัม ต่อไร่ เกษตรกรขายผลผลติ ท้ังหมด ตามสถานท่ีรับซื้อผลผลติ ข้าวโพด จำแนกเปน็ การรับซอ้ื ในไร่นา การ รับซื้อ ณ จุดรับซื้อท้องถิ่น การรับซื้อในหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 58.59 25.72 และ 15.69 ของปริมาณ ผลผลติ ท้งั หมด ตามลำดับ ภาวะการผลิตยางพาราในพื้นท่ีทำการเกษตรทีม่ ีความรุนแรงของการสูญเสียดินในระดับปานกลาง เกษตรกรปลูกยางพาราพันธุ์ RRIM600 เป็นพื้นที่ปลูกยางพาราในเขตเกษตรอาศัยน้ำฝน มีช่วงเวลาเก็บ เกี่ยว อยู่ระหว่างเดอื นสิงหาคม – กุมภาพันธ์ ผลผลติ เฉลี่ยยางก้อนถ้วย 275.46 กิโลกรัมตอ่ ไร่ เกษตรกร ขายผลผลิตทงั้ หมด ตามสถานที่รบั ซื้อผลผลติ ยางพารา จำแนกเปน็ การรับซ้ือ ณ จุดรบั ซือ้ ในทอ้ งถิน่ การ รับซื้อ ณ จุดรับซื้อนอกท้องถิ่น การรับซื้อในหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 54.88 30.49 และ 14.63 ของ ปรมิ าณผลผลิตท้งั หมด ตามลำดับ ตารางที่ 3-23 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการ สูญเสยี ดินในระดับปานกลาง รายการ ปีการผลิต 2562/63 รอ้ ยละ ชนิดพืชและพนั ธุ์ ข้าวโพดพันธ(ุ์ รอ้ ยละของเกษตรกร) 36.00 CP888(รอ้ ยละของเกษตรกรทผี่ ลติ ข้าวโพด) 100.00 ไพโอเนยี (ร้อยละของเกษตรกรทผี่ ลติ ขา้ วโพด) 21.52 ลูกผสมราคาถูก เช่น มะม่วงคู่(ร้อยละของเกษตรกรทผ่ี ลติ ขา้ วโพด) 12.56 ยางพาราพนั ธ(์ุ ร้อยละของเกษตรกร) 14.00 RRIM600(ร้อยละของเกษตรกรทผ่ี ลิตยางพารา) 100.00 แหลง่ นำ้ ทใี่ ช้ผลิตข้าวโพดและยางพารา(รอ้ ยละของเกษตรกร) นำ้ ฝน 100.00 ช่วงเวลาปลูก/เก็บเกย่ี วข้าวโพด เดือนปลูก (ร้อยละของเกษตรกร) พ.ค. 51.03 ม.ิ ย. 21.80 ก.ค. 27.12 เดอื นเก็บเก่ียว(รอ้ ยละของเกษตรกร) ธ.ค. 7.37 ม.ค. 51.66 ก.พ. 40.97 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161