Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 2_10 มื.ค. 64

รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 2_10 มื.ค. 64

Published by ศศิธร ได้ไซร้, 2021-03-10 06:30:29

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 2_4 มื.ค. 64

Search

Read the Text Version

85 5 แผนบรหิ ำรจดั กำรปอ้ งกันกำรชะลำ้ ง พังทลำยของดนิ และฟ้ ืนฟูพนื้ ทเ่ี กษตรกรรม ด้วยระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้ำ

86 5 คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ได้ จดั ทาแผนการบริหารจัดการทรัพยากรดิน และแผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้นื ฟพู ืน้ ท่ีเกษตรกรรม ลุ่มนา้ คลองแอง่ ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2564-2567) และระยะ 1 ปี เพ่ือเปน็ เครอื่ งมือใน การขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ ดินและน้า ให้สามารถนาไปสู่การวางแผน การกาหนดมาตรการและบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรกรรรมท่ีมี ความเส่ียงตอ่ การชะล้างพังทลายของดินและพ้ืนที่ดนิ เส่ือมโทรม นาไปสู่การใชป้ ระโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิง ยุทธศาสตร์ท่ีสอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณาการการดาเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่าน กระบวนการมีสว่ นรว่ มจากภาคผี ูม้ ีสว่ นไดเ้ สยี ที่เกี่ยวขอ้ ง การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าได้นาหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า การ บริหารจดั การเชิงระบบนิเวศท่ีต้องดาเนินการเพื่อให้เกิดความสมดลุ ของระบบนเิ วศ มกี ารกระจายการถือ ครองอย่างเป็นธรรม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ท่ีดินเป็นไป อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของท่ดี ิน มคี วามเชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้า ปา่ ไม้ และชายฝั่ง ใหเ้ กิด ประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ โดยให้ คานึงถงึ สิทธใิ นทรัพยส์ ินของประชาชน หลักธรรมาภบิ าล การรับรู้ข้อมลู ข่าวสาร การกระจายอานาจ การ มีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและภูมิสังคม ดังน้ัน เพ่ือให้แผนบริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้ จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ าร แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปีและระยะ 1 ปี โดยนาขอ้ มลู ผลการประเมินการ สูญเสียดิน 3 ระดับ (ระดับมาก ปานกลาง และน้อย) ข้อมูลสภาพดินปัญหาของพื้นที่ และการขาดแคลน น้า มาใช้ในการบริหารจัดการสู่การกาหนดมาตรการและกิจกรรมในระดับพื้นท่ี เพ่ือเป็นต้นแบบการ บริหารจัดการทรพั ยากรดินระดบั ลุ่มน้าในพื้นที่อื่น ๆ ครอบคลุมการแก้ไขและป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟ้ืนฟูพื้นเกษตรกรรมครอบคลมุ ท้ังประเทศ

87 สาหรับแผนปฏิบัติการระยะ 4 ปี เป็นการจัดกลุ่มของพ้ืนท่ีในลุ่มน้าตามลาดับความสาคัญ ของโครงการตามปัจจัยต่าง ๆ เพื่อกาหนดกรอบพื้นท่ีดาเนินการตามปีงบประมาณ และคาแนะนาในการ ใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้าด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่และสภาพการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ใน ระยะ 1 ปี ตามแผนปฏิบัติการรายปีน้ัน ซึ่งจะต้องนาพื้นที่ดาเนินการและคาแนะนาในการบริหารจัดการ จากแผนปฏิบัตกิ ารระยะ 4 ปี ไปศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการท่ีจะดาเนนิ การในพืน้ ท่ลี ุ่มน้าย่อย โดย มีการศึกษาในด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป ทั้งด้านการออกแบบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าด้านต่าง ๆ โดย จัดการพ้ืนที่ตามสภาพความรุนแรงของปัญหาและนามาตรการการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตาม สภาพปัญหาของพ้ืนที่เฉพาะพื้นที่ไป เพ่ือให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร ด้านความคุ้มค่าทาง เศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์กับเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นท่ี ผลกระทบของพ้ืนที่ที่ดาเนิน โครงการ ในกรณีที่มีโครงการและกรณีที่ไม่มีโครงการ โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากรให้ได้ ประโยชนส์ งู สุด เพือ่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรดนิ และน้าทเี่ หมาะสมกบั สภาพพื้นที่และการใชป้ ระโยชน์ ที่ดิน โดยนามาตรการต่าง ๆ มาปรับใช้ทั้งในทางพืชและทางวิศวกรรม โดยในการใช้มาตรการทาง วิศวกรรมนั้นสามารถใช้มาตรการด้านต่าง ๆ ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาท่ีดิน มาใช้ในการออกแบบ รายละเอียด และจะต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วิศวกรรมด้วย เพ่ือควบคุมและจัดการพ้ืนที่ในการลด การชะล้างพังทลายและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม เพ่ือเป็นต้นแบบในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรดินและนา้ ในพ้ืนที่อื่น ๆ ตามแผนปฏิบัติการรายปี ต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อ แกไ้ ขและปรับปรงุ การดาเนนิ การตามมาตรการต่าง ๆ ทีด่ าเนินการลงไปในพนื้ ท่ีให้เหมาะสมมากขึ้น โดยการดาเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ในพ้ืนที่นอกจากจะมีการดาเนินการตามแนวทางของ กรมพัฒนาที่ดินแล้วยังสามารถมีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงอ่ืน เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ในด้านการร่วมงานในพื้นที่ ป่าไม้ และอทุ ยาน การส่งเสรมิ อาชีพ การถ่ายทอดความรู้ และสุขภาพอนามัยของประชาชนในพนื้ ท่ี สรา้ ง แรงจูงใจในการปรับเปลย่ี นการใชท้ ่ีดิน แรงจูงใจในการนามาตรการดา้ นอนุรักษด์ ินและน้าเข้าไปใช้ในพ้ืนที่ ของเกษตรกร

ตารางที่ 5-1 แผนปฏิบตั ิการเพื่อปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของดินและฟนื้ ฟพู ื้นที่เกษตรกรรม ลุม่ นา้ คลองแอ่งอาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2564 - 2567) 88

89 ภาพท่ี 5-1 พนื้ ทีล่ ุ่มนา้ เป้าหมายในแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดินและฟื้นฟู พื้นท่เี กษตรกรรม ล่มุ นา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด ระยะ 4 ปี

90 จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย ข้อมูล ทุติยภูมิและปฐมภูมิท่ีได้จากการสารวจภาคสนามเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหา ของสภาพพ้ืนที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน (คุณสมบัติ ของดนิ , สภาพดนิ ปญั หา) ข้อมลู สภาพการใช้ท่ดี ิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ทด่ี ิน ด้านทรัพยากรน้า สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ซ่ึงมีความเช่ือมโยงกันในด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และการรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานในระดับพ้ืนท่ี เพ่ือนา ข้อมลู มาประกอบการวิเคราะห์และ จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดนิ และฟื้นฟู พ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลถูกต้องตามสมรรถนะ และศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ทเ่ี กย่ี วขอ้ งได้เกิดการเรียนรู้นาไปสู่การจดั การท่ถี ูกต้องเหมาะสมและให้ได้ เครื่องมือในการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน เพ่ือลดอัตราการชะล้างพังทลายและการกัดซะหนา้ ดิน การตกตะกอน และปริมาณสารพิษตกค้างท่ีเป็นผลมาจากการใช้ท่ีดินบนพื้นท่ีลุ่มน้าให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เกษตรกร และชมุ ชนสามารถใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงมกี ารกาหนดแนวทางและมาตรการท่ี มคี วามสอดคล้องกบั สภาพปญั หา แผนการใชท้ ่ีดนิ บนพน้ื ฐานการมสี ่วนร่วม ประกอบด้วย 1. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้าเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน แบ่งตามระดับ ความรนุ แรงของการชะล้าง ดังนี้ 1.1 พื้นที่ที่มีการชะล้างรุนแรงมาก กาหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตาม แนวระดบั (contour cultivation) การยกรอ่ งตามแนวระดับ (ridging) การสรา้ งคนั ดนิ (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลาเลียง (farm road) คูรับน้าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) 1.2 พื้นท่ีที่มีการชะล้างปานกลาง กาหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตาม แนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคนั ดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลาเลียง (farm road) คูรับน้าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอนา้ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) 1.3 พ้ืนท่ีที่มีการชะล้างรุนแรงน้อย กาหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตาม แนวระดบั (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดบั (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลาเลียง (farm road) คูรับน้าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) การไถพรวนดินล่าง (sub soiling) การปรบั ระดบั และปรบั รูปแปลงนา 2. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและนา้ เพ่ือฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ดินที่พบส่วนใหญ่มปี ัญหาดิน ตื้นและมีความอุดมสมบูรณ์ต่า จึงกาหนดมาตรการ คือ ปลูกพืชคลุมดินปลูกพืชปุ๋ยสดการใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และป๋ยุ ชวี ภาพเพอื่ เพิ่มอินทรียวตั ถุ

91 3. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้าเพ่ือพัฒนาแหล่งน้า พ้ืนท่ีทางการเกษตร พบปัญหา การขาดแคลนน้าสาหรับพื้นที่เกษตรกรรรม จึงกาหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและความต้องการของ ชมุ ชน คอื อา่ งเก็บนา้ สระเกบ็ น้า ฝายทดนา้ การปรับปรงุ ลาน้า คลองส่งน้า ระบบสง่ นา้ ด้วยทอ่ และระบบ ให้น้าแบบ micro irrigation ขอ้ แนะนาเพ่ิมเติมในการใช้มาตรการอนรุ ักษ์ดินและน้าเพื่อแก้ไขปัญหาให้สอดคลอ้ งตาม สภาพของพืน้ ท่ี การอนุรักษ์ดินและน้า ประกอบด้วย มาตรการหลายอย่างเป็นเคร่ืองมือในการปรับปรุง พื้นท่ีเพ่ือประโยชน์ท้ังทางตรงและทางอ้อม การนามาตรการต่าง ๆ ไปใช้ต้องคานึงถึงสภาพของพ้ืนที่ใน ด้านต่าง ๆ ดังนั้นในการออกแบบสาหรับพ้ืนทห่ี น่ึง ๆ จงึ จาเป็นจะตอ้ งใชห้ ลายมาตรการรว่ มกนั เพ่ือให้เกิด ประโยชน์ และการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามแนวทางปฏิบัติและมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน ซ่ึงในแต่ละมาตรการก็จะมีวิธีแยกย่อยต่อไปอีก โดยสามารถให้คาแนะนาสาหรับพ้ืนท่ีที่มีความลาดชัน ต่างกันไป แต่ต้องพิจารณาตามความเหมาะตามสภาพการใช้ที่ดิน และคุณสมบัติทางกายภาพ (ความลึก หน้าดนิ ) ประกอบการออกแบบการจัดการพน้ื ทดี่ ว้ ย 1) พื้นท่ีป่าไม้ตามกฎหมาย ให้คาแนะนาในการนามาตรการโดยให้หน่วยงานเจ้าของ พ้ืนทนี่ าไปดาเนินงาน ไดแ้ ก่ ฟน้ื ฟูทรัพยากรปา่ ไม้ ปลูกแฝก ฝายชะลอน้า การปรับปรุงลาน้า 2) พน้ื ทเี่ กษตรกรรมมคี วามลาดชนั น้อยกวา่ 2 เปอร์เซ็นต์ มาตรการทเ่ี หมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การพรวนดินล่าง การจัดรูปแปลงทางลาเลียง (farm road) มาตรการปรับปรุงบารุงดิน อ่างเก็บน้า สระเก็บน้า ฝายทดน้า การปรับปรุงลาน้า คลองส่งน้า ระบบส่งน้าด้วยท่อ ระบบให้น้าแบบ micro irrigation 3) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝก ทางลาเลียง (farm road) คูรับน้าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบารุงดิน อ่างเก็บน้า สระเก็บน้า ฝายทดน้า การปรับปรุงลาน้า คลองสง่ นา้ ระบบส่งน้าดว้ ยท่อ และระบบให้นา้ แบบ micro irrigation 4. พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 5 – 12 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝก ทางลาเลียง (farm road) คูรับน้าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบารุงดิน อ่างเก็บน้า สระเก็บน้า ฝายทดน้า การปรบั ปรงุ ลานา้ คลองสง่ นา้ ระบบสง่ นา้ ดว้ ยท่อ และระบบให้น้าแบบ micro irrigation

92 5. พ้ืนที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 12 – 35 เปอร์เซ็นต์ มาตรการท่ีเหมาะสมตามหลัก วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝก ทางลาเลียง (farm road) คูรับน้าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบารุงดนิ อา่ งเกบ็ น้า สระเก็บนา้ ฝายทดน้า การปรับปรงุ ลาน้า คลองส่งน้า ระบบส่งน้าด้วยท่อ และระบบใหน้ ้าแบบ micro irrigation ในการบรหิ ารจัดการพื้นที่อนรุ ักษ์ดินและน้า จะพจิ ารณาการบริหารจัดการเปน็ ลุ่มนา้ ดังน้ัน จงึ ได้นาผลจากการคัดเลือกพืน้ ที่ดาเนนิ การจากการจัดลาดับความสาคัญมาพจิ ารณาเพ่ือกาหนดพนื้ ที่และ มาตรการ โดยแบ่งเป็นลุ่มน้าขนาดย่อย ๆ เพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงาน และการติดตามประเมินผล ตัวชี้วัด โดยในปีงบประมาณ 2564 สามารถดาเนินการได้ในพื้นที่ หมู่ 2 บ้านช้างทูน หมู่ 3 บ้านหนอง แฟบ หมู่ 4 บ้านหนองมาตร หมู่ 5 บ้านหนองไม้หอม ตาบลช้างทูน ซ่ึงมีขนาดพ้ืนที่รวมกว่า 10,000 ไร่ โดยกาหนดมาตรการด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้าประเภทที่ทาในพื้นท่ีถือครองของเกษตรกรท่ีมี ระดับการชะล้างพังทลายสูง และปานกลาง ไดแ้ ก่ แนวหญ้าแฝก ทางลาเลยี ง (farm road) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam weir) บ่อดักตะกอน (pond) และระบบให้น้าแบบ micro irrigation และระบบอนุรักษ์ดินและน้าที่ตอ้ งทาในพ้ืนที่สาธารณะ ได้แก่ อ่างเก็บน้า สระเก็บน้า ฝายทดนา้ คลองสง่ นา้ และระบบส่งน้าด้วยทอ่

93 ภาพท่ี 5-2 พนื้ ท่ีลุ่มนา้ เป้าหมายในแผนปฏิบัตกิ ารเพื่อปอ้ งกันการชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟ้ืนฟู พน้ื ทีเ่ กษตรกรรม ลุม่ น้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด ระยะ 1 ปี โดยจะได้นามาตรการดังกล่าวไปใช้ในการออกแบบเฉพาะพื้นที่ และท่ีจุดรวมน้า (outlet) ของแต่ละลาน้าจะกาหนดให้มีอาคารแหล่งน้า ไว้เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการน้าและวัดปริมาณ ตะกอนดินในลาน้าเพื่อประเมินการลดการชะล้างของดินตามตวั ช้ีวัดในข้ันตอนการติดตามและประเมินผล ต่อไป โมเดลการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าเชงิ บูรณาการเพ่ือป้องการการชะล้างพังทลาย ของดิน เป็นรูปแบบการบรหิ ารจดั การลุม่ น้าเชงิ ระบบ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม (interdisciplinary) ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยกาหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็น ตวั นา (problem orientation) ความรูท้ างวิชาการทีห่ ลากหลายสาขาผา่ นกระบวนการคิด วิเคราะห์ จาก งานวิจัย (research) และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและน้า ผ่านกระบวนการมีส่วน ร่วมของชุมชน (participation approach)

94

95 6

96 6 5การดาเนินงานตามแผนบรหิ ารจัดการปอ้ งกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ และฟื้นฟูพ้นื ทีเ่ กษตรกรรม ดว้ ย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีกลไกการขับเคล่ือนการดาเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการและคณะทางาน ประกอบด้วย คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า และคณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและนา้ พ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่งอาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด ในการจัดทาต้นแบบแผนการบริหารจัดการการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรกั ษ์ดนิ และนา้ สาหรับขับเคลื่อนการดาเนนิ งานด้านการอนุรกั ษด์ ินและน้าใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 และแผนแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรนา้ ดังนัน้ เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธ์ิในทางปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ จึง จาเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคส่วนและให้เกิดการบูรณาการทุกระดับและผ่าน กระบวนการมีสว่ นร่วม เพอื่ ให้การบริหารจดั การทรัพยากรดนิ และนา้ มีเปา้ หมายไปในทศิ ทางเดยี วกนั ควรมแี นว ทางการดาเนนิ งาน ดังน้ี ให้ สามารถนาไปสู่การวางแผน การกาหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมท่ีมีความเส่ียงต่อการชะล้าง พังทลายของดินและพ้ืนที่ดินเส่ือมโทรม รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการ บริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณาการการดาเนินงานของหน่วยงานโดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มีสว่ นได้เสียที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องเกิดการยอมรบั และตระหนัก ถงึ ความสาคญั ของแผน และนาตน้ แบบของแผนไปขยายผลส่กู ารปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในด้านวิชาการท่ีเป็นกระบวนการหลัก (core process) และ กระบวนการ สนบั สนนุ (support process) โดยนาแนวทางการปฏบิ ตั ิงานไปกาหนดเป็นแผนงานโครงการ และกาหนด

97 เป็นข้อตกลงการทางานระหว่างหน่วยงาน เน้นการทางานเชิงบูรณาการเพ่ือขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุ เปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ โดยจัดต้ัง คณะทางานตดิ ตามประเมนิ ผลท่ีมกี ลไกและเครือข่ายการดาเนนิ งานทัง้ หน่วยงานท่ีปฏบิ ัติงานในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคเช่ือมโยงการประเมินผลตั้งแต่บริบท (concept) ปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ทุกมติ ิ ประกอบด้วย มิติทาง กายภาพหรือสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติเศรษฐกิจ ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของงานได้ชัดเจน จน นาไปสู่การปรบั ปรงุ พัฒนาแผนการดาเนนิ งานโครงการให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลและมีประสทิ ธิภาพ คณะกรรมการขบั เคล่อื นโครงการป้องกนั การชะล้างพังทลายของดิน และฟ้ืนฟูพ้นื ท่เี กษตรกรรม ด้วยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ คณะอนุกรรมก1ารจดั ทาแผน คณะอนุกรร2มการจัดทา คณะอนุกร3รมการดา้ นการ บรหิ ารจดั การโครงการป้องกนั การ มาตรการดา้ นการอนุรกั ษ์ ประเมนิ สถานการณท์ รัพยากรดนิ ดินและน้าเพื่อปอ้ งกันการ และน้า โครงการป้องกนั การชะลา้ ง ชะลา้ งพังทลายของดินและฟืน้ ฟู ชะล้างพงั ทลายของดิน พังทลายของดิน พ้ืนทเี่ กษตรกรรม แผน สรู่ ะดบั พื้นที่ ตัวชว้ี ดั ดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ (Action/Implement) และเกณฑ์ (Monitoring & Evaluation) ด้วยระบบอนรุ ักษด์ ินและนา้ ปฏิบตั ิการ ระดับพน้ื ที่ (Planning) ตน้ แบบแผนบริหาร คู่มอื การจัดทามาตรฐาน บรบิ ท (Content) ดา้ นการอนรุ กั ษด์ ินและนา้ ดา้ นแผนบรหิ ารจดั การ แผนบรหิ ารจัดการ (จ.ตราด) คู่มือการปฏิบตั ิงาน ปจั จัยนาเข้า (Input) คณะทางานแผนบรหิ าร (Work manual) มาตรการด้านการอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ จดั การ 10 แหง่ /ปี - ดา้ นฐานขอ้ มลู ทรัพยากร แผนบริหารจดั การ ดินและน้า กระบวนการ (Process) 10 แห่ง ในปี 2563 - ด้านการใช้ทด่ี นิ - มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านดา้ นต่าง ๆ - ดา้ นการสารวจภาวะ แผนบริหารจัดการ เศรษฐกิจและสังคม ผลผลิต (Productivity) 200 แหง่ (20ปี) - ดา้ นการวางแผนการใช้ - ผลผลติ (output) ทดี่ นิ - ผลลพั ธ์ (outcome) - ผลกระทบ (impact) พื้นทไ่ี ดร้ บั การป้องกนั การชะลา้ ง พื้นที่เกษตรกรรมสามารถใช้ประโยชน์ทด่ี ินได้ และฟน้ื ฟูพน้ื ท่ีเกษตรกรรม อยา่ งเหมาะสม ลดการสูญเสียดิน เกษตรกรมี (ไม่นอ้ ยกวา่ 2 ลา้ นไร่ ภายใน 20 ป)ี รายไดแ้ ละคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี ึ้น

98 การกาหนดบทบาทหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ไปสู่การปฏิบัติ ตามบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ได้แก่ ผู้บริหาร (อธิบดี รองอธิบดี) หน่วยงานท่ีปฏิบัติงาน ส่วนกลาง หน่วยงานที่ปฏิบัติงานส่วนภูมิภาค รวมถึงหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในระดับพื้นท่ี มแี นวทางการดาเนนิ งาน ดงั น้ี ตารางที่ 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรพั ยากรดินและน้าเพอื่ ปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้นื ฟูพนื้ ท่ีเกษตรกรรม ระดบั หนว่ ยงาน แนวทางการขับเคลอื่ น หนว่ ยงาน รับผิดชอบ 1. ระดับนโยบาย กากบั ดแู ลและติดตามการดาเนินงาน คณะกรรมการขบั เคล่ือนโครงการ อธบิ ดี (Policy Maker) ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วย กรมพฒั นา ระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ท่ีดนิ และรอง กากับดูแลและติดตามการดาเนนิ งาน คณะทางานจดั ทาแผนการบริหาร อธิบดกี รม จัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี พัฒนาทีด่ ิน เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า และขับเคล่ือนงานวิชาการ ด้านการกาหนดมาตรการ แนวทางการจัดการดินและน้า ให้รองรับการ แกไ้ ขปญั หาตามสภาพพ้นื ท่ี กากับดูแลและติดตามการดาเนินงาน ในการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ และแผนปฏิบัติราชการ ภายใต้แผนการบริหารจัดการโครงการป้องกัน การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนรุ ักษด์ ินและน้า กากับดูแลและติดตามการดาเนินงานในระดับพ้ืนท่ี และจัดตั้ง คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและ น้า คณะทางานจัดทามาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าเพื่อป้องกัน การชะล้างพังทลายของดินสู่ระดับพื้นที่ คณะทางานด้านการติดตาม และประเมินผลโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบ อนุรกั ษด์ นิ และน้า

99 ตารางท่ี 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม (ตอ่ ) ระดับหน่วยงาน แนวทางการขับเคล่อื น หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบ 2. ระดับปฏิบัติ (Operator) 2.1 สว่ นกลาง 1) จัดประชุมช้ีแจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ กผง. และคณะ และประสานความรว่ มมอื โดยเปดิ โอกาสใหห้ น่วยงานได้กาหนดแนว ทางการดาเนินงานร่วมกัน สาหรับใช้เป็นกรอบแนวทางการจัดทา แผนปฏิบัติการและแผนปฏิบัติราชการประจาปี รวมถึงการติดตาม และประเมนิ ผลทคี่ รอบคลมุ ทุกมิติ 2) จัดทามาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน จากต้นแบบแผนการบรหิ ารจัดการ กผง.และคณะ โ ค ร ง ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น แ ล ะ ฟ้ื น ฟู พื้ น ที่ เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับใช้ขยายผลและ ขับเคลื่อนการดาเนินงานในพ้ืนทล่ี มุ่ นา้ ยอ่ ยอ่ืน ๆ 3) ขับเคล่ือนและติดตามการดาเนินงานในการจดั ทาแผนการบริหาร คณะทางานฯ จัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ี เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้า ลุ่มน้ายอ่ ย 4) ปรับบทบาทกระบวนการทางานให้สอดคล้องกับเป้าหมายการ กสด. สวด. ดาเนินงาน ด้านการสารวจ วิจัยทรัพยากรดินและน้า การวิเคราะห์ กนผ. กวจ. ดิน การวิเคราะห์สภาพการใช้ทดี่ ิน การวางแผนการใชท้ ่ีดิน และการ สวพ. สสผ. ประเมนิ สถานภาพทรพั ยากรดนิ และการประเมนิ เชงิ เศรษฐสังคม 5) กาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้สอดคล้องกับ สวพ. กวจ. แผนการใช้ท่ีดินเพื่อป้องการการชะล้างพังทลายและฟ้ืนฟูพื้นที่ เกษตรกรรม 6) จัดทาฐานข้อมูลการติดตามและประเมินผลในระดับภาพรวมและ กวจ. กนผ. ระดับพ้ืนท่ี ครอบคลุมการประเมินผลเชิงกายภาพ สังคมและ กผง. เศรษฐกิจ 2.2 ส่วนภมู ิภาค 1) จัดตง้ั คณะทางานขับเคลอ่ื นการบริหารจดั การโครงการป้องกนั การ สพข./สพด. ชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟน้ื ฟพู ้นื ท่ีเกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษ์ ดินและนา้ ระดับพ้ืนที่ลุ่มน้าย่อย

100 ตารางท่ี 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม (ตอ่ ) ระดบั หน่วยงาน แนวทางการขับเคล่อื น หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบ 2.2 ส่วนภูมภิ าค 2) ประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานส่วนกลางและคณะทางานจัดทา สพข./สพด. (ตอ่ ) แผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ให้เกิด ความเขา้ ใจจนสามารถนาไปถา่ ยทอดแก่หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบได้ 3) จัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดิน และน้าระดับลุม่ น้ายอ่ ย 4) ขับเคล่ือนการดาเนินงานในระดับพื้นท่ีให้สอดคล้องกับแผน บรหิ ารจัดการ 5) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานอย่างต่อเน่ืองในระดับ พื้นท่ี พร้อมรายงานผลการดาเนินงาน 3. หน่วยงานภาคเี ครอื ขา่ ย (Network) 1) ประสานความร่วมมือในการกาหนดกรอบแนวทางการจัดทา หน่วยงานระดบั แผนบรหิ ารจดั การทรพั ยากรดินและนา้ เพอ่ื เช่อื มโยงเปา้ หมายการ จังหวดั ดาเนนิ งานกันในระดบั พื้นท่ี 2) สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการขับเคลือ่ นแผนการบริหารจัดการ หนว่ ยงานภาครัฐ โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่ และเอกชน เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ ินและน้าระดบั ลุ่มนา้ ยอ่ ย 3) สร้างแนวทางหรือกาหนดรูปแบบการระชาสัมพันธ์ในการทา องคก์ รปกครอง ความเข้าใจกับประชาชนในพน้ื ทอี่ ยา่ งเปน็ รูปธรรม สว่ นทอ้ งถิ่น 4) ร่วมดาเนินกิจกรรมหรือโครงการเพื่อการบริหารจัดการ หน่วยงานภาครัฐ ทรพั ยากรดินและน้าเชิงบรู ณาการ และเอกชน 5) ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร พร้อมทั้งสร้าง สอ่ื มวลชน ความตระหนักและกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมใน การขับเคลอื่ นการดาเนินงาน

101 การดาเนินงานตามแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม มีแนวทางการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผนงาน โดยมีการ ดาเนินการในด้านตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1) การติดตามความก้าวหน้า ในการดาเนินงานตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการและ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง ส่วนกลาง และระดับพ้ืนท่ี โดยกาหนดให้มีการจัดทารายงานผลการดาเนินงานประจาปี การติดตาม ประเมินผลสาเรจ็ และผลกระทบจากการดาเนินงานตามแผนทกุ 2 ปี มีการประเมนิ ผลชว่ งกลางแผน เพือ่ ปรับเป้าหมายและตัวช้ีวัด ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงรวมทั้งมีการประเมินผลเม่ือส้ินสุด การดาเนนิ การตามแผนปฏิบัติการ 2) จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล เพ่ือติดตามความก้าวหน้าการดาเนินงาน และผลสัมฤทธ์ิ ของงานในแต่ละด้านตามแผน ท้ังด้านปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการทางาน (process) ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ประกอบด้วย นักวิชาการจากส่วนกลาง นักวชิ าการและเจ้าหน้าท่ีผูป้ ฏิบัติงานระดบั พ้ืนที่ และหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง เข้ามามีสว่ นรว่ มในการติดตาม ประเมินผลตามแผนปฏิบตั ิการ ท่ีมกี ารกาหนดกรอบตัวช้วี ดั ทคี่ รอบคลุมทกุ มติ ิ ประกอบด้วย ประเด็นการ วัดและติดตามประเมนิ ผล ผ้จู ัดเกบ็ ตัวชว้ี ัดและรายงานผล (ตารางที่ 6-2) พร้อมทง้ั เสนอวิธีการจดั เก็บและ ติดตามสถานการณ์การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ในการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อ ประเมินการเปล่ียนแปลงตามตัวชี้วัด ประกอบด้วย ประเด็นการวัด รายการตรวจวัด ผู้รับผิดชอบ ฐานข้อมลู กลางและฐานข้อมลู เชิงพนื้ ท่ี (ตารางที่ 6-3) ตารางท่ี 6-2 กรอบตวั ชี้วัดในการตดิ ตามและประเมินผล แผนบริหาร ตวั ชวี้ ัด ประเด็นการวดั ผรู้ ับผดิ ชอบ จัดการ และติดตามประเมนิ ผล ตัวชี้วดั ระยะสัน้ -ระยะกลาง - ฐานขอ้ มลู มคี วามถูกต้อง ผ้กู ากบั ตัวช้ีวดั ตามหลกั วชิ าการ กองแผนงาน ปี 2562 - มีฐานข้อมูลดา้ นการชะลา้ ง - ต้นแบบแผนบริหารจดั การ ผู้จัดเก็บและ พังทลายของดนิ (soil erosion) ได้รับความเห็นชอบจาก รายงานผลตาม คณะกรรมการและหนว่ ยงาน ในพน้ื ท่ีเกษตรกรรม ท่เี กยี่ วข้อง ตวั ช้วี ัด คณะทางานฯ - มีตน้ แบบแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรดนิ ระดบั ลมุ่ นา้ ยอ่ ยทมี่ ี การกาหนดมาตรการด้านการ ปอ้ งกนั และฟน้ื ฟูทรพั ยากรดนิ ตาม สภาพปญั หาของแตล่ ะพนื้ ท่ี

102 ตารางที่ 6-2 กรอบตวั ชว้ี ัดในการตดิ ตามและประเมนิ ผล (ตอ่ ) แผนบรหิ าร ตวั ช้ีวัด ประเด็นการวดั ผรู้ บั ผดิ ชอบ และตดิ ตามประเมนิ ผล ตัวชี้วดั จัดการ - มาตรการด้านการอนุรกั ษ์ ผู้กากบั ตวั ช้ีวัด ระยะสน้ั -ระยะกลาง ดินและนา้ ได้รบั การยอมรบั กองแผนงาน จากเกษตรกรและชมุ ชน ผจู้ ัดเก็บและรายงาน - มีการรูปแบบมาตรการดา้ นการ ผลตามตัวชี้วัด - แผนการบรหิ ารจดั การ คณะทางานระดบั อนรุ ักษด์ ินและน้าในระดบั ลุ่ม ทรพั ยากรดินระดบั ลมุ่ นา้ ยอ่ ยท่ี พื้นทแ่ี ตล่ ะลุ่ม มกี ารกาหนดมาตรการดา้ นการ น้าย่อยนารอ่ งสาหรบั ดาเนนิ การใน ป้องกนั และฟื้นฟูทรัพยากรดนิ น้ายอ่ ย สอดคล้องตามสภาพปัญหาของ ระดบั พ้นื ที่ แต่ละพนื้ ที่ ผ้กู ากบั ตัวชว้ี ดั กองแผนงาน ปี 2563 - 66 1. แผนบริหารจดั การ ผจู้ ัดเกบ็ และรายงาน ทรพั ยากรดนิ 10 แหง่ ผลตามตัวช้วี ัด สพข./สพด. - จานวนพื้นท่ที ม่ี กี ารจัดทา ผจู้ ัดเก็บและรายงาน แผนการบรหิ ารจัดการทรัพยากรดนิ ผลตามตวั ชี้วัด กสด./กวจ. ระดบั ล่มุ นา้ ย่อย (จานวน 10 แหง่ ) สวพ./กวจ. ปี 2563 - 65 2. โครงการปอ้ งกนั การชะลา้ ง (ต่อ) พงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟพู ื้นที่ เกษตรกรรมลุ่มนา้ ยอ่ ย จงั หวัดตราด - ความสอดคล้องของมาตรการ 2.1 ระดบั ผลผลิต (output) ด้านการอนรุ ักษด์ ินและนา้ และ - รอ้ ยละความสาเร็จในการดาเนนิ ระยะในการดาเนินงานเปน็ ไป กจิ กรรมตามมาตรการดา้ นการอนรุ ักษ์ ตามแผน ดนิ และน้า - พื้นท่ีเกษตรกรรมไดร้ บั การ - จานวนพ้ืนท่ีเกษตรกรรมได้รับ ปอ้ งกันและฟน้ื ฟู ไมน่ ้อยกวา่ การปอ้ งกันและฟน้ื ฟูทรพั ยากรดิน 10,000 ไร/่ ลุม่ น้ายอ่ ย 2.2 ระดบั ผลลัพธ์ outcome) - ทรัพยากรดนิ สามารถใช้ - จัดทาฐานข้อมูลเพอื่ ประเมิน ประโยชนท์ ่ดี ินไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ลดการ การเปลยี่ นแปลงตามตัวชี้วัด สูญเสียหนา้ ดนิ ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ การ เชน่ ค่าการสญู เสยี ดนิ คณุ ภาพ ผลิตภาคการเกษตร ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ย ดนิ ความช้ืนในดิน ปรมิ าณ ละ 80 เมื่อเปรยี บเทยี บกับปฐี าน หรือ ตะกอนดนิ และปริมาณการกกั คา่ เฉล่ยี ในพ้นื ท่ีระดับลุม่ นา้ ยอ่ ย เกบ็ นา้ - รักษาและเพม่ิ ความชมุ่ ชนื้ ใหก้ ับ ดิน ไม่นอ้ ยกว่า รอ้ ยละ 80 เมอื่ เปรียบเทยี บกับปฐี าน หรอื ค่าเฉลย่ี ใน พน้ื ทีร่ ะดบั ลมุ่ น้าย่อย

103 ตารางท่ี 6-2 กรอบตัวช้วี ดั ในการติดตามและประเมินผล (ตอ่ ) แผนบริหาร ตวั ช้ีวัด ประเด็นการวัด ผู้รบั ผดิ ชอบตัวชว้ี ดั จดั การ และตดิ ตามประเมินผล สวพ./สพข. ระยะส้ัน-ระยะกลาง กนผ./สพข. - เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชน้ า้ ภาค กนผ./สพข. การเกษตร ด้วยการเพิม่ แหล่งน้า ต้นทนุ และระบบการกระจายนา้ ไม่ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 เม่ือเปรยี บเทียบ กบั ปีฐาน หรือคา่ เฉลีย่ ในพ้นื ทร่ี ะดบั ลุ่มน้ายอ่ ย - เกษตรกรสามารถใชป้ ระโยชน์ ทด่ี นิ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตรงตาม ศกั ยภาพของพ้นื ท่ีไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 เมื่อเปรยี บเทียบกับปี ฐาน หรือคา่ เฉลย่ี ในพน้ื ท่ีระดับ ลุม่ นา้ ยอ่ ย 2.3 ระดับผลกระทบ (impact) - สารวจข้อมูลเชิงสงั คม - เพ่ิมผลผลิตภาคการเกษตร เศรษฐกจิ เพือ่ ประเมนิ การ - เพม่ิ รายไดใ้ นครัวเรือนให้กับ เปลี่ยนแปลงหลังได้รับ เกษตรกร ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 30 ประโยชนจ์ ากมาตรการตาม เม่ือเปรยี บเทียบกับปีฐาน หรือ ตวั ช้วี ัดดา้ นสงั คมเศรษฐกจิ คา่ เฉลย่ี ในพ้นื ที่ระดบั ลุ่มนา้ ย่อย - เพม่ิ มลู ค่าการผลติ ภาค การเกษตร และผลติ ภัณฑม์ วลรวม ของประเทศ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 เมือ่ เปรียบเทยี บกบั ปฐี าน หรือ คา่ เฉลยี่ ในพื้นทีร่ ะดบั ลุ่มนา้ ยอ่ ย

ตารางท่ี 6-3 การจดั ทาฐานข้อมลู เพื่อประเมนิ การเปลี่ยนแปลงตามตัวช้วี ัดมติ ิกายภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม 104

ตารางท่ี 6-3 การจดั ทาฐานข้อมลู เพื่อประเมนิ การเปลี่ยนแปลงตามตวั ชี้วดั มิตกิ ายภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม (ตอ่ ) 105

ตารางที่ 6-3 การจัดทาฐานขอ้ มลู เพ่อื ประเมินการเปลย่ี นแปลงตามตวั ชวี้ ัดมติ ิกายภาพ เศรษฐกิจและสงั คม (ตอ่ ) 106 หมายเหตุ : * พิจารณาตามสภาพภมู สิ งั คม ** วิธีการเกบ็ ตัวอยา่ ง เก็บขอ้ มลู และวิเคราะหต์ วั อย่างและขอ้ มลู ตามระบบมาตรฐานสากล ผู้ประเมินผลเชิงนโยบาย : กองแผนงาน ผู้รวบรวมภาพรวม และประเมินผลเชิงวิชาการ : กองวจิ ัยและพัฒนาการจัดการทีด่ นิ ผ้รู วบรวมข้อมูลเชิงพนื้ ที่ : สถานีพฒั นาที่ดนิ สานักงานพัฒนาทด่ี นิ และหน่วยอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วข้อง โดยประเมินจากประเดน็ (1) พื้นทเี่ กิดการชะล้างพังทลายของดนิ และ 2) พ้นื ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ

107 กรมการพัฒนาชุมชน. 2562. สรุปข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2562 ระดับตาบล. (Online). สืบคน้ จาก www.rdic.cdd.go.th/nrd-service (15 มถิ ุนายน 2563). กรมป่าไม้. 2560. แผนท่ีขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ (ไฟล์ข้อมูล). กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม กรมพัฒนาทีด่ นิ . 2545. การประเมนิ การสญู เสียดินในประเทศไทย. กรมพัฒนาท่ีดนิ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพฯ. กรมพัฒนาท่ีดิน. 2551. คู่มือการสารวจดิน. เอกสารวิชาการฉบับท่ี 30/03/50. ส่วนมาตรฐาน การสารวจจาแนกดินและท่ดี ิน สานักสารวจดินและวางแผนการใช้ท่ีดิน. กรมพัฒนาที่ดิน. 2558. สถานภาพทรัพยากรดินและที่ดินของประเทศไทย. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 304 หนา้ . กรมพัฒนาท่ีดิน. 2561. แผนบริหารจัดการทรัพยากรดิ นปัญหาของประเทศไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580). กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 161 หน้า. กรมพัฒนาท่ดี นิ . 2561. ทรพั ยากรดนิ (มาตราส่วน 1 : 25,000) ปี พ.ศ. 2561 และขอ้ มลู ลกั ษณะสมบัติ ดนิ บางประการ (ไฟล์ขอ้ มูล). กองสารวจดินและวจิ ัยทรัพยากรดนิ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช. 2560. พ้ืนท่ีเขตป่าอนุรักษ์ฯ ป่าสงวน และเขตอุทยานแห่งชาติ จงั หวดั ตราด (ไฟลข์ ้อมลู ). กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. กองสารวจและจาแนกดนิ . 2543. การชะลา้ งพังทลายของดินในประเทศไทย. กรมพัฒนาท่ีดนิ . 39 หนา้ . บริษัท ครเี อทฟี เทคโนโลยี จากัด. 2562. รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม โครงการอ่างเก็บ นา้ ห้วยสะตอ จงั หวัดตราด (Online). สบื ค้นจาก http://eia.onep.go.th/projectdetail.php?id=13891 (15 มถิ ุนายน 2563). มนู ศรขี จร อรรถ สมรา่ ง ไพบลู ย์ ประโมจนีย์ สทุ ธพิ งษ์ ประทบั วทิ ย์ ไชยสทิ ธิ์ อเนกสัมพนั ธ์ และปทุม พร ฟั่นเเพ็ง. 2527. การใช้สมการสูญเสียดินสากลสาหรับประเทศไทย. รายงานการประชุม วิชาการประจาปี 2527, กองบริรักษ์ที่ดิน กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2561. (ร่าง) แผนการบริหารจัดการท่ีดิน และทรัพยากรดินของประเทศ ( พ.ศ. 2560 – 2564 ) และแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากร ดินของประเทศ ระยะเร่งด่วน. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 201 หน้า. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. 2555. พ้ืนที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้า (ไฟลข์ ้อมลู ). กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. Wischmeier, W.H. and D.D. Smith. 1965. Predicting rainfall erosion losses from cropland east of the Rocky Mountain : guide for selection of practices for

108 soil and water conservation. Agr. Handbook No. 282.USDA, Washington, D.C.47p. Wischmeier, W. H. and D. D. Smith. . 1978. Predicting rainfall erosion losses. A guide to conservation planning. Agr.Handbook No.537.USDA, Washington, D.C. 49 p.

109 ภาคผนวกที่ 1 : คาอธิบายชดุ ดนิ ภาคผนวกที่ 2 : ภาพประกอบกิจกรรมการประชุมชแี้ จงเพอ่ื รบั ฟังข้อคิดเห็นของชุมชน ตอ่ แนวทางการดาเนินงานของโครงการ ภาคผนวกท่ี 3 : ภาพประกอบกิจกรรมในการดาเนินงานในระดบั พ้ืนที่ ภาคผนวกที่ 4 : ภาพตัวอย่างมาตรการดา้ นการอนุรักษด์ นิ และนา้ ของกรมพัฒนาทีด่ ิน ภาคผนวกที่ 5 : คาสง่ั คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการปอ้ งกนั การชะล้างของดนิ และฟื้นฟูพื้นทเ่ี กษตรกรรม ด้วยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้า

110 ภาคผนวกที่ 1 : คาอธิบายชุดดนิ ชดุ ดิน (soil series) หมายถงึ หน่วยจาแนกดินระดบั ตา่ สดุ ของการจาแนกดนิ ตามระบบอนุกรมวิธาน โดยถือลักษณะทางสัณฐานของดินเป็นหลัก เช่น ความหนาของชั้นดิน การจัดเรียงของช้ันดิน โครงสร้าง ดิน สีดินเน้ือดิน ปฏิกิริยาดิน การยึดตัว ปริมาณคาร์บอเนตและเกลือชนิดต่างๆ ฮิวมัส เศษหิน องคป์ ระกอบของแร่ในดินวัตถุต้นกาเนดิ ดิน เป็นต้น ดินคล้ายชุดดิน (soil variants) หมายถึง หน่วยจาแนกดินระดับเดียวกันกับชุดดินที่เคยกาหนดไว้ แล้วซึ่งดินคล้ายชุดดินน้ีมีลักษณะเด่นชดั พอที่จะกาหนดเป็นชดุ ดินใหม่ได้ตามระบบการจาแนกดนิ แตเ่ นื้อ ที่ที่พบดินดังกล่าวจากการสารวจยังมีเนื้อที่น้อยกว่า 20 ตารางกิโลเมตร จึงไม่สามารถกาหนดเป็นชุดดิน ใหม่ได้แต่เพ่ือสะดวกในการจดจาจึงเอาช่ือชุดดินท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกันมากาหนด โดยระบุลักษณะท่ี แตกตา่ งจากชดุ ดินนั้น เชน่ ดนิ คล้ายชดุ ดินรือเสาะทม่ี ีเนอ้ื ดิน เปน็ ดิน 1) ชุดดนิ ห้วยยอด (Ho) การจาแนกดิน (USDA) Loamy-skeletal, mixed, semiactive, acid, isohyperthermic, shallow Typic Udorthents สภาพพน้ื ท่ี ลูกคลื่นลอนลาดชนั ถึงเปน็ เนินเขา มีความลาดชัน 12-35 เปอร์เซน็ ต์ ภูมิสัณฐาน พ้ืนท่เี หลือคา้ งจากการกดั กร่อน วัตถุต้นกาเนิด การผุพงั สลายตัวอยู่กบั ท่ีและ/หรือเคลอื่ นย้ายมาเปน็ ระยะทางใกล้ๆ โดย แรงโน้มถว่ งของหนิ ดนิ ดาน และหนิ ในกลมุ่ ทม่ี ีเน้ือละเอยี ด การระบายน้า ดี การซึมผา่ นได้ของนา้ เรว็ การไหลบา่ ของนา้ บนผวิ ดิน เรว็ ลักษณะสมบตั ขิ องดิน ดินร่วนตื้นมากถึงช้ันหินพ้ืน ดินบนมีเน้ือดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนดิน เหนียว สีน้าตาลหรือสีน้าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็น กรดปานกลาง (pH 4.5-6.0) ดินล่างมีเน้ือดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปน ก้อนกรวดมาก โดยมีปริมาณกรวดเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร มีสีนา้ ตาลหรือสีน้าตาลปนเหลือง (กอ้ นกรวดเปน็ หนิ ดินดาน) และพบช้นั หินพ้ืน ผภุ ายในความลึก 50 ซหมู่ จากผิวดนิ ปฏิกริ ยิ าดนิ เป็นกรดจดั มากถึงเปน็ กรดจัด (pH 4.5-5.5) ข้อจากดั พบช้นั หนิ พืน้ ตืน้ มากและสภาพพืน้ ทมี่ ีความลาดชนั สูง 2) ชุดดินคลองซาก (Kc) การจาแนกดนิ (USDA) Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults

111 สภาพพ้นื ที่ คอ่ นข้างราบเรยี บถึงลูกคล่ืนลอนชนั ความลาดชัน 2-20 เปอร์เซ็นต์ ภูมสิ ณั ฐาน พ้นื ทเี่ หลอื ค้างจากการกดั กร่อน วตั ถุตน้ กาเนดิ การผพุ งั สลายตวั อยู่กับที่ และ/หรือ เคล่อื นยา้ ยมาเป็นระยะทางใกลๆ้ โดย การระบายนา้ แรงโน้มถว่ งของหนิ ดินดานและหินในกลุม่ การซึมผา่ นไดข้ องน้า ดี ลกั ษณะสมบัตขิ องดนิ เรว็ การไหลบา่ ของนา้ บนผวิ ดนิ เร็ว ดินเหนียวตืน้ ถึงช้นั ลูกรังหนาแน่น ดนิ บนมีเน้อื ดินเปน็ ดินรว่ นหรือดินร่วนปนดิน ข้อจากดั เหนียว สีน้าตาลหรือสีน้าตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกรด เล็กน้อย (pH 6.0-6.5) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว ปนลูกรังมาก สีแดงปนเหลือง (มีเศษหินดินดานหรือหินในกลุ่มปะปนอยู่เท่ากับ หรือมากกว่าร้อยละ 35 โดยปรมิ าตร ในดนิ ภายในความลึก 50 ซหมู่จากผิวดิน) ปฏกิ ิรยิ าดินเป็นกรดจัดมากถึงเปน็ กรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินตื้น ความอดุ มสมบรู ณต์ ่า สภาพพื้นท่มี ีความลาดชนั และขาดแคลนนา้ 3) ชุดดนิ แกลง (Kl) การจาแนกดิน (USDA) Very-fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Plinthaquults สภาพพน้ื ท่ี ราบเรียบถงึ ค่อนขา้ งราบเรยี บ มคี วามลาดชนั 0-2 เปอรเ์ ซ็นต์ ภูมิสณั ฐาน ที่ราบตะกอนน้าพา วตั ถุต้นกาเนดิ ดิน ตะกอนนา้ พา การระบายน้า เลว การซมึ ผา่ นไดข้ องน้า ช้า การไหลบ่าของนา้ บนผิวดิน ชา้ ลกั ษณะสมบตั ิของดนิ ดนิ เหนยี วละเอียด ลกึ มาก ดินบนมีเน้อื ดนิ เปน็ ดินร่วน ดนิ ร่วนปนดนิ เหนยี วหรอื ดินรว่ นเหนียวปนทรายแป้ง สนี ้าตาลปนเหลอื ง สนี ้าตาลปนเทาหรือสีเทา มจี ุด ประสนี า้ ตาลหรอื สีน้าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจดั ถึงเปน็ กรดปาน กลาง (pH 5.5-6.0) ดินลา่ งมีเนอ้ื ดนิ เป็นดินเหนียวหรอื ดนิ เหนยี วปนทรายแปง้ มสี เี ทา และในดนิ บนมจี ดุ ประสีนา้ ตาลหรือสนี ้าตาลปนเหลือง ส่วนในดินล่างจะ มีจดุ ประสนี ้าตาลปนเหลืองหรอื สแี ดงปนเหลอื งและมศี ลิ าแลงออ่ น (plinthite) เท่ากับหรือมากกว่ารอ้ ยละ 50 โดยปรมิ าตร หรือพบต่อเนื่องกันภายในความลกึ 150 เซนตเิ มตร จากผิวดนิ ปฏกิ ิรยิ าดินเป็นกรดจดั มากถึงเปน็ กรดจัด (pH 4.5- 5.5) ขอ้ จากดั ความอดุ มสมบูรณต์ ่า

112 4) ชดุ ดนิ หนองบอน (Nb) การจาแนกดนิ (USDA) Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults สภาพพนื้ ท่ี ลูกคล่นื ลอนลาดเล็กน้อยจนถึงลกู คล่นื ลอนชัน มคี วามลาดชัน 2-20 เปอรเ์ ซ็นต์ ภมู สิ ณั ฐาน พ้ืนที่เหลอื ค้างจากการกัดกร่อน วัตถุต้นกาเนดิ ดนิ การผพุ งั สลายตวั อยู่กบั ท่ี และ/หรอื เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรง โน้มถว่ งของหินบะซอลต์ การระบายน้า ดี การซึมผ่านได้ของนา้ เรว็ การไหลบ่าของนา้ บนผวิ ดิน ปานกลาง ลักษณะสมบัติของดิน ดินเหนียวละเอียดลกึ มาก ดินบนมีเนอื้ ดนิ เปน็ ดนิ เหนียวปนทรายแปง้ หรือดนิ เหนียว สนี ้าตาลหรือสนี า้ ตาลปนเทา ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดปานกลางถงึ เปน็ กลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างมีเน้ือดนิ เปน็ ดนิ เหนยี ว สนี า้ ตาล ปฏิกริ ิยาดนิ เป็นกรดจดั มากถึงเปน็ กรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ข้อจากดั ดินมโี ครงสรา้ งแนน่ ทึบและบางพนื้ ท่ีขาดแคลนนา้ 5) ชดุ ดินโปง่ นา้ รอ้ น (Pon) การจาแนกดนิ (USDA) Loamy, mixed, active, isohyperthermic, shallow Typic Hapludults สภาพพน้ื ท่ี ลูกคล่นื ลอนลาดถึงเปน็ ลกู คล่ืนลอนชัน มีความลาดชนั 5-20 เปอร์เซ็นต์ ภูมิสณั ฐาน พื้นทีเ่ หลอื ค้างจากการกัดกร่อน วัตถุต้นกาเนิดดิน การผุพงั สลายตวั อยู่กับทแี่ ละ/หรือเคลอื่ นยา้ ยมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรง โนม้ ถว่ งของโลกของหินบะซอลต์ การระบายน้า ดี การซมึ ผา่ นไดข้ องนา้ เรว็ การไหลบา่ ของน้าบนผวิ ดนิ เร็ว ลกั ษณะสมบัตขิ องดิน ดินตนื้ ดนิ บนมีเนอ้ื ดินเป็นดนิ ร่วนปนดินเหนยี วหรือดนิ รว่ นเหนียวปนทรายแปง้ สนี ้าตาลหรอื สีน้าตาลปนแดง ปฏิกริ ิยาดินเปน็ กลางถึงด่างเลก็ นอ้ ย (pH 6.5- 7.5) ดินลา่ งมีเน้ือดินเป็นดินร่วนเหนยี วปนทรายแป้งปนก้อนกรวดและพบชนั้ หนิ พ้นื ท่ีแข็งภายในความลึก 50 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ ปฏิกริ ิยาดนิ เป็นกรด เลก็ นอ้ ยถึงเปน็ กลาง (pH 6.5-7.0) ข้อจากัด ดนิ ต้นื สภาพพืน้ ท่ีมีความลาดชนั สูงเสยี งตอ่ การเกดิ การชะล้างพังทลายของดิน หากนามาใช้ไม่เหมาะสม บางแหง่ มีพ้ืนหินโผลล่ อยหน้า

113 6) ชุดดินพัทลงุ (Ptl) การจาแนกดนิ (USDA) Fine, kaolinitic, isohyperthermic Plinthic Paleaquults สภาพพ้นื ที่ ราบเรียบถึงคอ่ นข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซน็ ต์ ภูมิสัณฐาน ตะพักลานา้ วตั ถุตน้ กาเนดิ ดิน ตะกอนนา้ พา การระบายน้า เลว การซมึ ผ่านไดข้ องนา้ ชา้ การไหลบา่ ของนา้ บนผวิ ดนิ ช้า ลกั ษณะสมบัติของดนิ ดนิ ลึกมาก ดนิ บนมเี น้อื ดินเป็นดนิ ร่วนถงึ ดินร่วนปนดนิ เหนยี ว สีนา้ ตาลถงึ สี น้าตาลปนเทา ดนิ ล่างมีเน้ือดินเป็นดนิ รว่ นปนดนิ เหนียวทบั อยบู่ นดนิ เหนียว ดิน เหนียวปนทรายแป้ง สีเทา มีจดุ ประสีนา้ ตาล สเี หลอื ง และสีแดง มศี ิลาแลง อ่อน (plinthite) ปรมิ าณร้อยละ 5-50 โดยปรมิ าตรภายในความลกึ 150 เซนติเมตร จากผิวดนิ ปฏิกริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั มากถึงกรดจัด (pH 5.0-6.5) ตลอด หนา้ ตดั ดนิ ขอ้ จากดั ความอดุ มสมบูรณต์ ่า 7) ชุดดนิ รือเสาะ (Ro) การจาแนกดนิ (USDA) Fine-silty, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic Paleudults สภาพพื้นที่ ลกู คลน่ื ลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ภูมสิ ณั ฐาน สนั ดนิ รมิ น้า วตั ถตุ น้ กาเนดิ ดนิ ตะกอนน้าพา การระบายน้า ดี การซึมผ่านได้ของน้า เร็วถงึ ปานกลาง การไหลบา่ ของน้าบนผิวดิน ปานกลาง ลักษณะสมบัตขิ องดนิ ดินลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนถึงดินร่วนปนทรายแป้ง สีน้าตาล สี น้าตาลปนเหลือง ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้าตาลหรือสี น้าตาลปนเหลือง พบเกล็ดแร่ไมก้าตลอด ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรด ปานกลาง (pH 4.5-6.0) ตลอดหน้าตดั ดิน ข้อจากดั ความอดุ มสมบรู ณ์ของดนิ ต่าและมกั ขาดน้าในช่วงที่ฝนทิ้งช่วงนานๆ 8) ดินคลา้ ยชุดดนิ รือเสาะท่ีเป็นดนิ ร่วนละเอยี ด (Ro-fl) การจาแนกดิน (USDA) Fine-loamy, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic Paleudults

114 สภาพพืน้ ที่ ลูกคลน่ื ลอนลาดเลก็ น้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ ภมู สิ ณั ฐาน วตั ถุต้นกาเนิดดนิ สันดินรมิ นา้ การระบายน้า การซมึ ผ่านได้ของน้า ตะกอนนา้ พา ลักษณะสมบตั ขิ องดนิ ดี ข้อจากัด เร็วถึงปานกลาง การไหลบ่าของนา้ บนผิวดิน ปานกลาง ดินลึกมาก ดินบนมีเน้ือดินเป็นดินร่วนถึงดินร่วนปนดินเหนียว สีน้าตาล สี น้าตาลปนเหลือง ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้าตาลหรือสี น้าตาลปนเหลือง พบเกล็ดแร่ไมก้าตลอด ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรด ปานกลาง (pH 4.5-6.0) ตลอดหนา้ ตดั ดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดินตา่ และมกั ขาดนา้ ในชว่ งทฝ่ี นทิ้งชว่ งนานๆ 9) ชุดดนิ ตราด (Td) การจาแนกดนิ (USDA) Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults สภาพพ้นื ท่ี ลูกคลืน่ ลอนลาดเลก็ น้อย มคี วามลาดชัน 2-5 เปอร์เซน็ ต์ ภูมิสณั ฐาน พื้นทีเ่ หลอื ค้างจากการกดั กร่อน วตั ถุตน้ กาเนดิ ดิน การผพุ งั สลายตวั อย่กู บั ที่ และ/หรอื เคลอ่ื นยา้ ยมาเปน็ ระยะทางใกลๆ้ โดย แรงโน้มถ่วงของโลกของหินดนิ ดานและหินในกลมุ่ การระบายนา้ ดี การซมึ ผา่ นได้ของน้า เรว็ การไหลบา่ ของน้าบนผิวดิน เร็ว ลักษณะสมบตั ขิ องดิน ดินลึก ดนิ บนมีเนอื้ ดินเป็นดินรว่ น ดนิ ร่วนปนดนิ เหนียวหรอื ดนิ ร่วนเหนยี วปน ทรายแปง้ สีน้าตาลหรือสีนา้ ตาลปนแดง ปฏกิ ิรยิ าดนิ เปน็ กรดปานกลางถึงกรด เล็กน้อย (pH 6.0-6.5) ดินลา่ งมีเนือ้ ดินเป็นดนิ รว่ นเหนยี วปนกรวด สีแดงปน เหลอื ง ดนิ ชน้ั ลา่ งถัดลงไปเป็นดินเหนยี วปนลูกรงั และเศษหินดนิ ดานอยใู่ นระดับ ความลกึ 50 -100 เซนติเมตรจากผวิ ดิน ปฏิกิริยาดินเปน็ กรดจัดมากถึงกรดจดั (pH 4.5-5.5) ข้อจากดั ความอดุ มสมบูรณต์ ่าและเป็นดินปนลกู รังมาก ลกึ ปานกลาง

115 ภาคผนวกท่ี 2 : ภาพประกอบกิจกรรมการประชุมช้ีแจงเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นของชุมชน ต่อแนวทางการดาเนนิ งานของโครงการ ภาพผนวกท่ี 2-1 การประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนนิ งาน ณ สถานพี ัฒนาที่ดนิ ตราด ภาพผนวกที่ 2-2 การประชุมเตรียมความพร้อมของการทาประชาพิจารณ์ ณ องค์การบริหารส่วนตาบล บ่อพลอย อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด

116 ภาพผนวกที่ 2-3 การนาเสนอแนวทางการดาเนินงานจัดทาแผนบริหารจัดการโครงการป้องกัน การชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพน้ื ทีเ่ กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้า ณ หอ้ งประชมุ อบตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด ภาพผนวกท่ี 2-4 การรับฟังข้อคิดเห็นของชุมชนต่อแนวทางการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟืน้ ฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม

117 ภาพผนวกท่ี 2-5 การนาเสนอสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นต่อแนวทางการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดนิ และฟน้ื ฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม ในภาพรวมของล่มุ นา้ คลองแอ่ง

118 ภาคผนวกที่ 3 : ภาพประกอบกจิ กรรมในการดาเนินงานในระดบั พน้ื ท่ี ภาพผนวกที่ 3-1 การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คม ภาพผนวกที่ 3-2 การสารวจสภาพการใช้ทด่ี ิน

119 ภาคผนวกท่ี 4 : ภาพตวั อย่างมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและนา้ ของกรมพฒั นาที่ดนิ 1. มาตรการอนรุ กั ษ์ดินและน้าเพ่อื ป้องกนั การชะลา้ งพังทลายของดิน ภาพผนวกท่ี 4-1 การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดบั (Contour cultivation) ภาพผนวกที่ 4-2 การยกร่องตามแนวระดบั (Ridging) ภาพผนวกที่ 4-3 การสร้างคนั ดิน (Terrace, bench terrace)

120 ภาพผนวกท่ี 4-4 คนั ดินเบนนา้ ภาพผนวกที่ 4-5 แนวหญ้าแฝกทางลาเลยี ง (Division terrace) (Farm road) ภาพผนวกท่ี 4-6 คูรบั น้ารอบเขา (Hillside ditch) ภาพผนวกที่ 4-7 ทางระบายนา้ (waterways)

121 ภาพผนวกที่ 4-8 ฝายชะลอนา้ (check dam, weir) ภาพผนวกที่ 4-9 บ่อดักตะกอน (pond) ภาพผนวกท่ี 4-10 การไถพรวนดนิ ล่าง (sub soiling) ภาพผนวกที่ 4-11 การปรบั ระดบั ทน่ี า

122 2. มาตรการดา้ นอนุรกั ษด์ ินและนา้ เพ่อื ฟื้นฟพู ืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ภาพผนวกที่ 4-12 ปลกู พืชคลุมดิน พืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก ปยุ๋ หมัก และปยุ๋ ชวี ภาพ 3. มาตรการดา้ นอนุรักษ์ดินและน้าเพ่อื พัฒนาแหลง่ น้า ภาพผนวกท่ี 4-13 อ่างเก็บนา้ ภาพผนวกท่ี 4-14 สระเกบ็ นา้ ภาพผนวกท่ี 4-15 ฝายทดน้า ภาพผนวกที่ 4-16 การปรบั ปรงุ ลาน้าคลองส่งนา้

123 ภาพผนวกท่ี 4-17 ระบบส่งน้าด้วยท่อ ภาพผนวกท่ี 4-18 ระบบให้นา้ แบบ micro irrigation

124 (สา้ เนา) ค้าสง่ั กรมพัฒนาท่ดี ิน ที่ 3482563/ เรอื่ ง แตง่ ต้ังคณะทางานจดั ทาแผนบริหารจดั การโครงการปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของดินและฟนื้ ฟูพน้ื ท่ี เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ ปี 2563 เพื่อให้การด้าเนินงานในพืนที่เป้าหมายระดับลุ่มน้าสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการโครงการ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูฟ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ระยะ 20 ปี และเป็นไปตามมาตรฐานของต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าเชิงบูรณาการท่ีมีการท้างานเชิง พืนที่เป็นหลักมีความถูกต้องตามหลักวิชาการ ส้าเร็จตามเป้าหมาย น้าไปสู่การก้าหนดพืนท่ีด้าเนินการและ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าในระดับพืนท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงแต่งตังคณะท้างานจัดท้าแผน บริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูฟื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดิน และนา้ ปี 2563 โดยมอี งค์ประกอบและหนา้ ท่ี ดังนี 1 .องคป์ ระกอบ ทปี่ รกึ ษา 1.1 นายวุฒิชาติ ศริ ิชว่ ยชู ที่ปรกึ ษา 1.2 นายวรี ะชัย กาญจนาลยั ประธานคณะทา้ งาน 1.3 รองอธบิ ดกี รมพัฒนาทีด่ ินด้านวชิ าการ รองประธานคณะทา้ งาน 1.4 ผอู้ ้านวยการกองวจิ ยั และพัฒนาการจดั การท่ดี นิ คณะท้างาน 1.5 ผู้เชี่ยวชาญดา้ นวางระบบการพฒั นาทดี่ ินทเ่ี ก่ยี วข้อง คณะท้างาน 1.6 นายรตั นชาติ ชว่ ยบดุ ดา คณะทา้ งาน 1.7 นายนันทพล หนองหารพทิ ักษ์ คณะทา้ งาน 1.8 นายวรญั ญู บวั ขาว คณะท้างาน 1.9 นายจตุรงค์ ละออพันธส์ กุล คณะทา้ งาน 1.10 นายวิศษิ ฐ์ งามสม คณะทา้ งาน 1.11 นายจักรกฤษณ์ มีใย คณะทา้ งาน 1.12 นายกฤดิโสภณ ดวงกมล คณะท้างาน 1.13 นางสาวอมรรตั น์ สระเพ็ชร คณะท้างาน 1.14 นางสาววันดี พึง่ เจาะ คณะท้างาน 1.15 นางสาวกรวรรณ อาจเลศิ คณะท้างานและ 1.16 นายอรรณพ พุทธโส เลขานุการ คณะท้างานและ 1.17 นางสาวพยัตตกิ า พลสระคู เลขานุการรว่ ม คณะท้างานและ 1.18 นายธนกฤต ผลเกลยี ง ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร คณะท้างานและ 1.19 นายอภชิ าติ บุญเกษม ผู้ช่วยเลขานุการ คณะท้างานและ 1.20 นายธงชยั คงหนองลาน ผ้ชู ่วยเลขานุการ \\ 2. หน้าท่ี ...

125 -2– 2. หนา้ ที่ 2.1 จัดท้าแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพืนที่ เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดนิ และนา้ ใหเ้ กิดผลส้าเรจ็ เปน็ รปู ธรรม 2.2 ก้าหนดแนวทางการด้าเนินงานโครงการ ป้องกันการชะล้างพังทลายของ ดิน และฟื้นฟพู ืนทีเ่ กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และนา้ ใหเ้ กิดผลสา้ เรจ็ เป็นรูปธรรม 2.3 จัดท้าฐานข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรดินและน้า เพ่ือติดตามและประเมินผลการ ด้าเนินงานภายใต้แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษ์ดินและน้าระดับพืนท่ี 2.4 ประสานการด้าเนินงานกับคณะท้างานขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟ้ืนฟูพืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้าระดับพืนท่ี ส้านักงานพัฒนาท่ีดินเขต 12-1 2.5 ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย ทงั นี ตงั แต่บัดนเี ปน็ ตน้ ไป สง่ั ณ วนั ท่ี 8 เมษายน พ.ศ. 2563 )ลงนาม( เบญจพร ชาครานนท์ (นางสาวเบญจพร ชาครานนท(์ อธิบดีกรมพัฒนาทีด่ ิน ส้าเนาถกู ตอ้ ง (นายสนั ธษิ ณ์ ดิษฐ์อ้าไพ) นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

126 )ส้าเนา( ค้าสัง่ กรมพฒั นาทด่ี นิ ที่ 2563/ เร่อื ง แตง่ ตังคณะท้างานขบั เคลอ่ื นโครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟื้นฟูพนื ทเ่ี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ ักษด์ นิ และนา้ ระดบั พนื ที่ สา้ นกั งานพฒั นาท่ีดินเขต 12-1 เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ก า ร ด้ า เ นิ น ง าน โค ร ง ก า ร ร ะ ดับ พื นท่ี สอ ด ค ล้ อ ง ตา ม แ ผน ปฏิ บั ติการ โครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟื้นฟูฟ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ที่ยึดการบูรณาการเชิงพืนที่เป็นหลัก ประสานงานเช่ือมโยงการดาเนินการระหว่างส่วนกลางกับระดับพื้นท่ี และสนับสนุนการจัดทาแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่ เกษ ต รกรรมด้ ว ย ระ บ บ อนุรักษ์ ดิ น แล ะ น้า ให้ บ รรลุ ผ ลส้ าเร็จ ต า มเป้าหมา ย อย่ า งมีป ระ สิท ธิ ภาพ อย่ า งเป็น รูปธรรม จึงแต่งตังคณะท้างานขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูฟื้นที่ เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้าระดับพืนท่ี ส้านักงานพัฒนาท่ีดินเขต 12-1 โดยมีองค์ประกอบ และหนา้ ท่ี ดงั นี 1 .องค์ประกอบ ประธานคณะทา้ งาน 1.1 ผู้อ้านวยการส้านักงานพฒั นาท่ีดินเขต รองประธานคณะทา้ งาน 1.2 ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นวางระบบการพฒั นาท่ดี นิ 1.3 ผู้อ้านวยการสถานีพัฒนาทดี่ ินทีเ่ กย่ี วขอ้ ง คณะท้างาน 1.4 ผ้อู า้ นวยการกล่มุ วเิ คราะหด์ นิ คณะทา้ งาน 1.5 ผอู้ ้านวยการกล่มุ วิชาการเพอื่ การพัฒนาที่ดิน คณะท้างาน 1.6 ผอู้ า้ นวยการกลมุ่ ส้ารวจเพื่อท้าแผนท่ี คณะทา้ งาน 1.7 ผอู้ ้านวยการกล่มุ วางแผนการใชท้ ่ีดิน คณะทา้ งานและ 1.8 นักวิชาการสังกัดกลมุ่ วางแผนการใชท้ ด่ี ิน เลขานุการ คณะท้างานและ ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร .2 หนา้ ที่ 2.1 รวบรวมและจัดท้าฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดินและน้า การวางแผนการใช้ที่ดินและ เศรษฐกิจสงั คม เพ่ือน้าไปใชป้ ระกอบการดา้ เนนิ งานของโครงการ 2.2 ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าในระดับลุ่มน้า เพ่ือก้าหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า และแผนงานโครงการตามภารกิจของกรมพัฒนาที่ดิน ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การป้องกันชะลา้ งพังทลายของดนิ และฟืน้ ฟูทรัพยากรดนิ ตามสภาพปัญหา 2.3 ประสานและเช่ือมโยงการด้าเนินงานระดับพืนที่กับส่วนกลางเพ่ือสนับสนุนการ จัดทาแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนรุ ักษด์ นิ และน้า 2.4 จัดท้าแผนการบริหารจัดการโครงการการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ระดับพื้นที่ เสนอคณะทางานจัดทาแผนบริหารจัดการ โครงการป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟื้นฟพู น้ื ที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และนา้ ปี 2563

127 -2– \\ 2.5 ปฏบิ ัตงิ าน ... 2.5ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ทงั นี ตงั แตบ่ ัดนเี ป็นตน้ ไป สั่ง ณ วันท่ี 8 เมษายน พ2563 .ศ. )ลงนาม( เบญจพร ชาครานนท์ )นางสาวเบญจพร ชาครานนท์( อธบิ ดกี รมพัฒนาทด่ี นิ สา้ เนาถูกตอ้ ง (นายสันธษิ ณ์ ดษิ ฐ์อ้าไพ) นกั ทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั ิการ

128 ผ้ดู าเนินงาน ระดบั พื้นที่ สานักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 1. นายโชตินนั ท์ เท่ียงสายสกลุ ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาทดี่ นิ เขต 2 2. นางสาวนฤมล หวะสวุ รรณ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นวางระบบการพฒั นาทด่ี ิน สานกั งานพัฒนาท่ดี นิ เขต 2 3. นายสาคร เหมอื นตา ผู้อานวยการสถานีพัฒนาท่ดี ินตราด 4. นายนนิ นาท พฒั นวงศส์ ุนทร ผู้อานวยการกล่มุ วางแผนการใชท้ ี่ดนิ สานกั งานพฒั นาทีด่ นิ เขต 2 5. นางสาววลญั ดรรชน์ เอ่ยี มวรการ ผอู้ านวยการกลุ่มวิชาการเพื่อการพฒั นาที่ดนิ สานกั งานพัฒนาที่ดนิ เขต 2 6. นายฤทธิรงค์ หลอดกระโทก ผอู้ านวยการกลุ่มสารวจเพื่อการทาแผนท่ี สานักงานพฒั นาที่ดนิ เขต 2 7. นางสาวอภิวรรณ จลุ นิมิ นกั สารวจดินชานาญการพิเศษ 8. นางสาวชนาภรณ์ จันต๊ะ นกั สารวจดนิ ปฏบิ ัตกิ าร 9. นายอานนท์ นนั สว่าง นกั สารวจดินปฏบิ ตั ิการ 10. นายจนิ ตวฒั น์ ไพบลู ย์ไตรรตั น์ เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร 11. นายธวัชชัย บุญพงษ์ นกั วิชาการเกษตรปฏิบัตกิ าร 12. นางสาวศริ วิ รรณ อินทร์พรหม นักวชิ าการเกษตรชานาญการ 13. นายศภุ ชัย ไชยพันธุ์ เจา้ พนักงานการเกษตรชานาญงาน 14. นางนติ ยา ภาคสุภาพ นักวชิ าการเกษตรชานาญการ 15. นายสัญชยั แซ่เจียง นักวชิ าการเกษตรปฏบิ ตั ิการ 16. นางสาวนนั ทิตา ดใี หญ่ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน 17. นางสาวศรอนงค์ อุยโต นกั วิชาการเกษตร 18. นายอนุพนธ์ ศริ ิไทย นกั สารวจดิน 19. นางสาวกรกมล ปา่ เขือ เศรษฐกร 20. นายเปยา ผลเชวง เจา้ พนกั งานการเกษตร

129


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook