35 สภาพปญั หาและข้อจากัดของดิน สภาพปัญหาและข้อจากัดของดินในพื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง ส่วนใหญ่เป็นดินต้ืนและเนื้อดินปนเศษ หิน ความอุดมสมบรู ณ์ของดนิ ต่า เสีย่ งต่อการขาดแคลนน้าและการชะลา้ งพังทลายของดิน เน่ืองจากพ้ืนท่ี มีความลาดชันสูง โดยแยกเป็น 3 ประเภทหลัก (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2561) ซ่ึงพบการกระจายตัวในพ้ืนท่ี ต่าง ๆ (ตารางที่ 3-4 ภาพท่ี 3-5) โดยมีรายละเอียด พอสงั เขป ดังนี้ 1) ปัญหาดนิ ตื้น เป็นดินท่ีเป็นชั้นดินหนาประมาณ 50 เซนติเมตร ส่วนใหญ่มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ช้ันถัดไปเป็นช้ันดินมีเน้ือดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวและดินเหนียวที่มีปริมาณกรวด หรือเศษหินปะปน มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 35 โดยปริมาตร หรือพบหินพ้ืน ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน จากลักษณะของดินดังกล่าวถือเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืชด้านการชอนไชของรากพืช ทาให้ การเกาะยึดตัวของดินไม่ดี ยากแก่การไถพรวน เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย สภาพปัญหานี้พบ ครอบคลุมเนื้อท่ีรวม 22,011 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 25.29 ของเน้ือท่ีทั้งหมด แบ่งดินตื้นออกได้เป็น 2 ประเภท คือ (1) ดินต้ืนถึงชั้นก้อนกรวด ลูกรังหรือเศษหิน พบกระจายตัวอยู่บริเวณพื้นที่ตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน และตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด มีเน้ือท่ี 15,010 ไร่ หรือร้อยละ 17.67 ของ เนอ้ื ทที่ ้งั หมด (2) ปัญหาดินตื้นช้ันหินพื้น พบกระจายตัวอยู่บริเวณพื้นท่ีตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน และ ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด มีเนอ้ื ที่ 7,001 ไร่ หรอื ร้อยละ 8.25 2) ปญั หาดินมคี วามอุดมสมบูรณ์ต่า เมื่อพิจารณาหลักเกณฑ์การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินในประเทศไทยน้ัน กรมพัฒนาที่ดิน ใชเ้ กณฑ์การประเมนิ จากค่าวิเคราะห์ดิน 5 รายการ คือ ร้อยละปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรสั ท่ีเป็น ประโยชน์ ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ ความจุแลกเปล่ียนแคตไอออน และอัตราร้อยละความอ่ิมตัว เบส ซ่ึงแต่ละรายการจะมีเกณฑ์ประเมินเป็นค่าสูง ปานกลาง ต่า เน่ืองจากสภาพทางธรรมชาติ โดยดินมีวัตถุ ต้นกาเนิดดินท่ีมีแร่ธาตุอาหารตามธรรมชาติต่า ประกอบกับมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเน่ืองติดต่อกัน เป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการปรับปรุงบารุงดินเท่าท่ีควร ทาให้ดินเสื่อมโทรม ความอุดมสมบูรณ์ลดลงอย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตช้า ผลผลิตตกต่า คุณภาพไม่ดี สภาพปัญหาน้ีพบกระจายครอบคลุมเน้ือที่ รวม 5,248 ไร่ หรือร้อยละ 6.20 ของเนือ้ ที่ทัง้ หมด และสามารถแบ่งตามสภาพพ้ืนท่ี คอื (1) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่าในพื้นที่ลุ่ม พบกระจายตัวอยู่บริเวณพ้ืนท่ีตาบลหนองบอน ตาบล ชา้ งทูน และตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด มีเนือ้ ที่ 5,170 ไร่ หรอื ร้อยละ 6.11 ของเนื้อที่ทั้งหมด (2) ดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ตา่ ในพ้นื ท่ดี อน พบในพืน้ ที่ตาบลบ่อพลอย อาเภอบอ่ ไร่ จังหวัดตราด มเี นอ้ื ที่ 78 ไร่ หรือรอ้ ยละ 0.09 ของเน้ือทท่ี ้ังหมด
36 3) ปญั หาพน้ื ที่มคี วามลาดชันสงู พ้ืนที่ที่มีความลาดชันสูง ส่วนใหญ่มีสภาพการใช้ที่ดินเป็นป่าไม้ พ้ืนที่นี้ไม่เหมาะท่ีจะนามาใช้ ประโยชน์ด้านการเกษตร และมีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทะลายของดินสูง พบกระจายตัวอยู่บริเวณ พ้ืนที่ตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน และตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด มีเนื้อท่ี 34,809 ไร่ หรือรอ้ ยละ 41.00 ของเน้ือท่ที ัง้ หมด ตารางท่ี 3-4 สภาพปัญหาของดินในพนื้ ที่ลุม่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด คาอธิบาย เนอื้ ที่ ไร่ ร้อยละ 1) ปัญหาดนิ ตืน้ 22,011 25.92 1.1) ดนิ ตนื้ ในพืน้ ทด่ี อนถงึ ช้นั ก้อนกรวด ลูกรงั หรือเศษหนิ 15,010 17.67 1.2) ดนิ ตื้นในพื้นทด่ี อนถึงชั้นหนิ พ้นื 7,001 8.25 5,248 6.20 2) ปัญหาดินมคี วามอุดมสมบรู ณ์ตา่ 5,170 6.11 2.1) ดินมีความอดุ มสมบูรณต์ ่าในพืน้ ที่ล่มุ 2.2) ดนิ มคี วามอุดมสมบรู ณต์ ่าบนพ้ืนที่ดอน 78 0.09 34,809 41.00 3) ปัญหาพื้นท่ีมคี วามลาดชันสูง 18,085 21.30 4) ดนิ ที่มคี วามอุดมสมบูรณป์ านกลางถึงสูง 2,824 3.33 5) พื้นท่ีชุมชนและสิง่ ปลูกสร้าง 1,913 2.25 6) พื้นทนี่ า้ 84,890 100.00 รวมเนอ้ื ที่
37 ภาพที่ 3-5 สภาพปัญหาทรพั ยากรดนิ พนื้ ทล่ี ุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด
38 พนื้ ท่ลี มุ่ น้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด ลักษณะลมุ่ น้าวางตัวตามแนวทิศเหนือ-ใต้ เป็นสว่ นหน่ึงของลมุ่ น้าสาขาแม่น้าเมืองตราด โดยมรี ายละเอียด (ภาพที่ 3-6) ดงั นี้ แมน่ ้าสายสาคัญของพ้ืนท่ี ได้แก่ คลองแอ่ง ซ่ึงมตี น้ น้าจากสันปันนา้ ทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของพ้นื ที่ไหลลงไปรวมกับคลองครีพและคลองช้างกินคนในพืน้ ท่ีตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด บริเวณทิศใต้ของพ้ืนที่ ลาน้าที่สาคัญอื่น ๆ ได้แก่ คลองไก๊ คลองเซ่ คลองขวาง คลองครีพ คลองช้างกินคน คลองอึดใจ คลองละกอ และคลองท่าลุ สาหรับแหลง่ นา้ ทีส่ าคญั ในพ้นื ที่ ไดแ้ ก่ หนองแอ่ง และอา่ งเกบ็ นา้ บา้ นมะนาว - แหล่งน้าท่ีมีอยู่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มท่ี เน่ืองจาก ขาดระบบส่งน้าและเครื่อง สบู น้า ตลอดจนการบรหิ ารจัดการท่ีดี - ขาดแคลนน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค ตลอดจนแหล่งน้าเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะในช่วง ฤดูแล้งในบรเิ วณพ้นื ท่ใี กล้ลาน้าหรือแหลง่ น้าขนาดเลก็ - การบุกรกุ พื้นท่ีแหลง่ นา้ จากชาวบ้าน บรเิ วณแหล่งน้าหลายสายถูกบุกรุกจากชาวบ้านเพื่อ นาไปใช้เป็นพ้ืนทเ่ี พาะปลกู โดยเฉพาะการปลูกพชื สวนและไรน่ า เปน็ ตน้ - คุณภาพน้าในลาน้าสายสาคัญบางสายเส่ือมโทรม เนื่องจากการปนเป้ือนของสารเคมีทาง การเกษตรสูล่ านา้ โดยตรง - การพัฒนาพ้ืนท่ีแหล่งน้าที่มีอยู่ไม่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ มี ศกั ยภาพในการเกบ็ และการระบายนา้ - ปัญหาน้าท่วมฉับพลันท่ีเกิดขึ้นในบางชุมชน เน่ืองจากลาน้ามีความลาดชันสูง ไม่มีแหล่ง เก็บกกั นา้ และชะลอการไหลของนา้ อกี ทัง้ ยังเป็นพ้ืนที่เปน็ ทางผ่านของนา้ อีกดว้ ย แนวโน้มในอนาคตสถานการณ์ปัญหาของแหล่งน้า เช่น ปัญหาการขาดแคลนน้าใช้ในช่วงฤดูแล้ง ปัญหาน้าท่วมในช่วงฤดูฝนที่เกิดข้ึนในบางพื้นท่ี ปัญหาการบุกรุกพ้ืนท่ีแหล่งน้า ปัญหาการพัฒนาพ้ืนท่ี แหล่งน้า และปัญหาคุณภาพแหล่งน้า ในอนาคตเม่ือคานึงถึงความต้องการท่ีเพิ่มขึ้นของการใช้น้าในด้าน ต่าง ๆ อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากร การเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงจะทาให้เกิด ความไม่สมดุลในด้านการใช้น้าและทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง อาจก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา ปญั หาเหลา่ นี้ยงั คงเปน็ ปัญหาสาคัญทค่ี วรได้รับการแก้ไขอย่างต่อเน่ือง
39 ภาพที่ 3-6 เสน้ ทางน้าและเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ลุ่มน้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
40 จากการศึกษาสภาพพ้ืนท่ีของลุ่มน้าคลองแอ่ง มีพื้นที่รับน้าเท่ากับ 135.82 ตารางกิโลเมตร (84,890ไร)่ โดยภายในลุ่มนา้ จะมีลาน้า ลาห้วยไหลลงสลู่ านา้ สายหลัก จึงสามารถแบ่งพ้ืนท่ีภายในเป็นลุ่ม น้ายอ่ ยได้อีก 1) ปรมิ าณน้าท่า โดยวิธี Resional Runoff equation จากการคานวณปริมาณน้าท่า ด้วยวิธี Resional Runoff equation ซึ่งอาศัยความสัมพันธ์ แบบถดถอย (regression) ระหว่างปริมาณน้านองสูงสุดเฉลี่ยและพ้ืนท่ีรับน้าฝน ซึ่งจากข้อมูลพื้นท่ี ลุม่ น้าคลองแอ่ง มีพนื้ ทรี่ บั น้าฝนเท่ากบั 135.82 ตารางกิโลเมตร สามารถคานวณปริมาณนา้ ท่าไดจ้ ากสมการ Qm = 2.101748A0.974130 เมื่อ Qm = ปรมิ าณนา้ ทา่ รายปี (ลา้ นลูกบาศก์เมตร/ปี) A = พน้ื ท่รี บั นา้ ฝน (ตร.กม.) *คา่ คงที่ในสมการ อา้ งอิงจากรายงานวิเคราะหผ์ ลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการอา่ งเกบ็ น้า หว้ ยสะตอ จงั หวัดตราด พ.ศ.2562 สามารถวิเคราะห์ปรมิ าณน้าเฉลี่ยรายปีและพน้ื ทีร่ บั นา้ ที่ได้จากสมการ เท่ากับ 251.40 ล้าน ลกู บาศกเ์ มตร พื้นท่ีป่าไม้ในเขตป่าตามกฎหมาย วิเคราะห์จากการซ้อนทับข้อมูลพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (เขตรักษาพันธ์ุ สัตว์ป่า อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน) พ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ (เขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและท่ีดินป่าไม้ ในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ) พื้นท่ีป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี เร่ือง การกาหนดชั้นคุณภาพล่มุ น้า ป่าไม้ ถาวรนอกเขตป่า เขตปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) และสภาพการใช้ท่ีดินในพื้นที่โครงการ พบว่า มีสถานภาพของทรัพยากรป่าไม้ ดังตารางท่ี 3-5 ตารางท่ี 3-5 สถานภาพทรพั ยากรป่าไม้ในพน้ื ทล่ี ุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด สถานภาพทรัพยากรป่าไม้ ไร่ เน้ือที่ 30,353 ร้อยละ พนื้ ทใ่ี นเขตปา่ ตามกฎหมาย 23,024 35.76 1) พื้นท่ปี ่าสมบรู ณ์ 1,914 27.12 2) พ้ืนท่ปี ่ารอสภาพฟนื้ ฟู 5,415 2.26 3) พนื้ ที่มีการใช้ประโยชนเ์ พื่อเกษตรกรรม 6.38
41 ตารางที่ 3-5 สถานภาพทรัพยากรป่าไมใ้ นพื้นทล่ี ุม่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จังหวัดตราด (ต่อ) สถานภาพทรัพยากรป่าไม้ เน้ือท่ี ไร่ ร้อยละ - พชื ไร่ - ไม้ยนื ตน้ 12 0.01 - ไมผ้ ล 3,893 4.59 - อื่น ๆ 800 0.94 710 0.84 หมายเหต:ุ เนื้อท่ีปา่ ไมต้ ามกฎหมายและปา่ ตามมติคณะรฐั มนตรี คานวณด้วยระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ข้อมลู ขอบเขตทด่ี ินของรัฐดา้ นทรัพยากรปา่ ไม้ ดงั ตารางที่ 3-6 ตารางที่ 3-6 ขอ้ มูลทด่ี ินของรฐั ทใ่ี ชร้ ่วมในการวเิ คราะหด์ า้ นทรัพยากรป่าไม้ อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด หน่วยงาน และข้อมูลประเภททด่ี ิน สถานะทางกฎหมาย 1. กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธพ์ุ ชื 1.1 อทุ ยานแห่งชาติ แผนที่แนบท้าย พระราชกฤษฎีกา (พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม) 2. กรมปา่ ไม้ 2.1 ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าสงวนแห่งชาติ โดยกฎกระทรวง ตาม พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507และท่ี แก้ไขเพิม่ เติม 2.2 เขตการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและดินป่าไม้ มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี 10 และ 17 ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ มนี าคม 2535 3. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม ชนั้ คุณภาพลมุ่ นา้ มติคณะรัฐมนตรี 4. กรมพัฒนาที่ดนิ ป่าไม้ถาวร มติคณะรัฐมนตรี 5. สานักงานปฏริ ปู ท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม เขตปฏิรูปท่ดี ิน (ส.ป.ก.) แผนทแ่ี นบทา้ ย พระราชกฤษฎกี า (พระราชบัญญตั ิการปฏริ ปู ทีด่ นิ เพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ.2518)
42 เม่ือจาแนกพ้ืนท่ีป่าไม้ตามข้อกาหนดการใช้ท่ีดินประเภทและวัตถุประสงค์ของการประกาศเขตป่า ไม้ตามกฎหมาย (แนวเขตป่าไม้และที่ดินของรัฐประเภทอื่นไม่ชัดเจนและมีการทับซ้อนกัน) สามารถ จาแนกพ้นื ท่ีในพน้ื ท่ลี มุ่ นา้ ไดด้ งั นี้ พื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด มีพื้นที่บางส่วนท่ีเป็นเขตอุทยานแห่งชาติ น้าตกคลองแก้ว (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2560) เน้ือที่ประมาณ 15,751 ไร่ หรือร้อยละ 18.55 ของเนื้อท่ีโครงการฯ การจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและท่ีดินป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติตามมติ คณะรัฐมนตรี วันท่ี 10 และ 17 มีนาคม 2535 ได้ให้ความเห็นชอบตามมติของคณะกรรมการ นโยบาย ป่าไม้แห่งชาติ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่ืองการจาแนกเขตการใช้ประโยชนท์ รัพยากรและทีด่ ิน ป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งได้จาแนกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ออกเป็น 3 เขต ดังน้ี เขตพื้นท่ีป่าเพ่ือ การอนุรักษ์ (โซน C) และเขตพ้ืนที่ป่าเพ่ือเศรษฐกิจ (โซน E) เม่ือจาแนกป่าตามเขตป่าสงวนแห่งชาติ พบว่า พ้ืนทเี่ ขตป่าสงวนท้ังหมดของลุม่ น้าคลองแอ่ง อย่ใู นเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ ป่าเขาสมิง ตารางที่ 3-7 พ้ืนทีเ่ ขตการใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรและที่ดินปา่ ไม้พ้นื ทล่ี ุ่มนา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด เขตปา่ จาแนกในเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ เน้อื ท่ี ไร่ รอ้ ยละ พน้ื ท่ปี ่าอนุรกั ษ์ (โซน C) 18,272 21.52 พน้ื ทป่ี า่ เศรษฐกจิ (โซน E) 57,358 67.57 พืน้ ที่นอกเขตปา่ 9,260 10.91 รวมทั้งหมด 84,890 100.00 ทีม่ า : กรมป่าไม้ (2560) ตามมติคณะรัฐมนตรี เร่ือง การกาหนดช้ันคุณภาพลุ่มน้า เพ่ือให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากร ทีเ่ หมาะสมจงึ ได้แบง่ พืน้ ทีช่ ้ันคณุ ภาพลุ่มนา้ ออกเปน็ 6 ชั้น คือ พ้นื ที่ล่มุ น้าชั้น 1A พนื้ ท่ีลมุ่ น้าชนั้ 1B พื้นท่ี ลุ่มน้าช้ัน 2 พ้ืนที่ลุ่มน้าชั้น 3 พ้ืนท่ีลุ่มน้าช้ัน 4 และพ้ืนที่ลุ่มน้าชั้น 5 จากข้อกาหนดการใช้ประโยชน์และ การจัดการพนื้ ทชี่ น้ั ลมุ่ นา้ คุณภาพต่างๆ สรุปสาระสาคัญได้ คอื การใชป้ ระโยชนพ์ ื้นทลี่ ุ่มนา้ ช้นั 1 และพื้นท่ี ลุ่มน้าชั้น 2 ซึ่งเป็นพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญที่ต้องสงวนรักษาไว้เป็นแหล่งต้นน้าลาธารและเป็น พื้นท่ีป่าไม้ของประเทศ เน่ืองจากมีลักษณะและสมบัติท่ีอาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการ
43 เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ไม่ควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นท่ีเพ่ือใช้ทาการเกษตร สาหรับการใช้ ประโยชน์พ้ืนท่ีลุ่มน้าช้ัน 3 พื้นที่ลุ่มน้าชั้น 4 และพื้นท่ีลุ่มน้าช้ัน 5 น้ัน ให้ใช้ทาการเกษตรได้แต่ต้องมี มาตรการตามข้อกาหนดการใช้ประโยชน์พ้ืนท่ีลุ่มน้า ได้แก่ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า และการ ปอ้ งกันการชะลา้ งพงั ทลายของดิน เป็นต้น ดงั นนั้ ข้อกาหนดตา่ งๆ จงึ มมี าตรการทเี่ ข้มงวดแตกต่างกนั เพอ่ื ป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน และให้สามารถใช้ประโยชน์ท่ีดินได้อย่างยั่งยืนต่อไปพื้นท่ีโครงการฯ รายละเอยี ดแสดงในตารางที่ 3-8 ประกอบด้วย ชั้นคุณภาพลุม่ นา้ ดังนี้ 1) พืน้ ท่ลี ุ่มน้าช้นั 1A เป็นพน้ื ท่ีลุ่มน้าชัน้ ท่ี 1 ซึ่งมีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ก่อนปี 2525 โดย พ้ืนท่ีน้ีควรสงวนรักษาไวเ้ ป็นป่าต้นน้าลาธาร (ห้ามมีการใช้ประโยชน์อย่างอ่ืน) มีเน้ือที่ประมาณ 6,789 ไร่ หรือรอ้ ยละ 8.00 ของเนอื้ ท่ีทั้งหมด 2) พื้นที่ลุ่มน้าช้ัน 2 เป็นพ้ืนที่มีความลาดชันค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมต่อการ เป็นป่าต้นน้าลาธาร และสามารถนามาใช้ประโยชน์เพ่ือกิจการท่ีสาคัญ เช่น การทาเหมืองแร่ สวนยางพารา หรือพืชที่มีความมั่นคงต่อเศรษฐกิจ มีเนื้อท่ีประมาณ 11,619 ไร่ หรือร้อยละ 13.69 ของ เน้ือทท่ี ้งั หมด 3) พื้นที่ลุ่มน้าช้ัน 3 เป็นพ้ืนท่ีมีความลาดเทสูง สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ท้ังกิจกรรม ทาไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พืน้ ท่ีเพอ่ื การเกษตรไดโ้ ดยถ้าเป็นบรเิ วณทเี่ ปน็ ดนิ ลึกควรปลกู ไมผ้ ล หรอื ไม้ ยืนต้น แต่ถ้าเป็นบริเวณท่ีเป็นดินตื้นควรปลูกป่าและทุ่งหญ้า มีเน้ือที่ประมาณ 20,910 ไร่ หรือร้อยละ 24.63 ของเนื้อทที่ ้งั หมด 4) พื้นท่ีลุ่มน้าชั้น 4 เป็นพื้นท่ีมีความลาดชันต่า และป่าถูกบุกรุกเป็นพ้ืนที่ใช้ประโยชน์ เพ่ือกิจการทาไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พ้ืนที่เพื่อการเกษตรได้ โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึก และมี ความลาดชันมากควรปลูกไม้ผล แต่ถ้าเป็นบริเวณที่มีความลาดชันน้อยจะใช้ประโยชน์เพ่ือการปลูกพืชไร่ ได้ มเี น้ือที่ประมาณ 24,935 ไร่ หรือร้อยละ 29.37 ของเนือ้ ทที่ งั้ หมด 5) พ้ืนท่ีลุ่มน้าชั้น 5 เป็นพื้นท่ีราบลุ่ม มีเน้ือท่ีประมาณ 20,637 ไร่ หรือร้อยละ 24.31 ของเนือ้ ทที่ ัง้ หมด ตารางท่ี 3-8 พืน้ ทช่ี ัน้ คณุ ภาพลมุ่ น้าในพ้ืนทล่ี ุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด ชั้นคุณภาพลมุ่ นา้ เนอ้ื ที่ ไร่ ร้อยละ 8.00 พ้นื ทีล่ มุ่ นา้ ชั้น 1A 6,789 13.69 24.63 พ้ืนทล่ี ุม่ น้าชนั้ 2 11,619 29.37 24.31 พน้ื ทลี่ ุม่ นา้ ชน้ั 3 20,910 100.00 พ้นื ทล่ี มุ่ น้าชั้น 4 24,935 พื้นท่ลี มุ่ น้าชั้น 5 20,637 รวมเน้อื ท่ี 84,890 ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (2555)
44 ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี เป็นแนวเขตท่ีดินที่เห็นสมควรรักษาไว้เป็นเขตป่าไม้ โดยมี กรมป่าไม้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการนาพ้ืนท่ี ท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติให้รักษาไว้เป็นป่าไม้ถาวรในพ้ืนท่ี โครงการฯ ไมพ่ บว่ามพี ื้นทเ่ี ขตป่าไมถ้ าวรนอกเขตปา่ เขตพื้นที่ปฎิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ตามแผนท่ีแนบท้าย พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2518 พบว่า มีเนื้อท่ี 45,831 ไร่ หรือร้อยละ 53.99 ของเน้ือทท่ี ัง้ หมด
45 ภาพที่ 3-7 สถานภาพป่าไม้และแปลงปฏิรปู ทดี่ นิ ในพื้นท่ีลุ่มนา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด
46 สภาพการใช้ท่ีดินในโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรักษ์ดินน้า พื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ซ่ึงมีเน้ือที่รวมทั้งส้ิน 84,890 ไร่ พบว่า มีการ ใชท้ ี่ดินแบง่ ออกเป็น 5 ประเภทหลัก ไดแ้ ก่ 1) พ้ืนท่ีชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเน้ือที่ 2,824 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.32 ของเน้ือที่ท้ังหมด ได้แก่ หมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ รีสอร์ท โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม และ แหล่งรับซื้อทางการเกษตร ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ามัน ไม้ผล 2) พ้ืนท่ีเกษตรกรรม (A) มีเนื้อท่ี 50,576 ไร่ หรือร้อยละ 59.59 ของเนื้อท่ีท้ังหมด 3) พ้ืนท่ีป่าไม้ (F) มีเนื้อที่ 26,546 ไร่ หรือร้อยละ 31.27 ของเนื้อท่ี ท้ังหมด 4) พ้ืนท่ีเบ็ดเตล็ด มีเน้ือท่ี 3,031 ไร่ หรือร้อยละ 3.57 ของเนื้อท่ีท้ังหมด ได้แก่ ทุ่งหญ้าสลับไม้ พมุ่ /ไมล้ ะเมาะ ไผป่ ่า/ไผ่หนาม พ้ืนท่ลี ่มุ และพน้ื ท่ถี ม 5) พน้ื ทน่ี า้ มีเน้ือที่ 1,913 ไร่ หรือรอ้ ยละ 2.25 ของ เน้อื ท่ที ัง้ หมด ตามลาดบั (ตารางท่ี 3-9 และภาพที่ 3-8) ตารางท่ี 3-9 ประเภทการใช้ทด่ี ินในพ้ืนท่ลี มุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จังหวัดตราด สญั ลกั ษณ์ ประเภทการใช้ท่ีดิน เน้อื ที่ ร้อยละ ไร่ 3.32 U พื้นท่ชี ุมชนและสงิ่ ปลกู สรา้ ง 2,824 2.38 U201 หมบู่ ้านบนพน้ื ราบ 2,017 0.66 U301 สถานทีร่ าชการและสถาบันต่าง ๆ 561 0.24 U405 ถนน 208 0.02 U502 โรงงานอตุ สาหกรรม 15 0.01 U503 ลานตากและแหลง่ รับซอ้ื ทางการเกษตร 11 0.01 U602 รสี อรท์ โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ 12 59.59 พื้นที่เกษตรกรรม 50,576 0.49 A พื้นท่ีนา 417 0.08 A1 นารา้ ง 66 0.41 A100 นาขา้ ว 351 0.90 A101 พืชไร่ 758 0.30 A2 สบั ปะรด 251 0.60 A205 สบั ปะรด/ยางพารา 507 44.08 A205/A302 ไมย้ ืนต้น 37,413 A3 ไม้ยืนต้นรา้ ง/เส่ือมโทรม 0.10 A300 ไมย้ นื ต้นผสม 82 0.04 A301 ยางพารา 31 33.63 A302 28,546
47 ตารางท่ี 3-9 ประเภทการใชท้ ี่ดนิ ในพ้ืนที่ล่มุ นา้ คลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด (ต่อ) สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ท่ีดิน เน้ือท่ี รอ้ ยละ ไร่ 0.03 A302/A322 ยางพารา/กฤษณา 8.7 A303 ปาล์มน้ามนั 23 0.18 A304 ยคู าลปิ ตัส 7,386 0.14 A308 กระถนิ 0.01 A315 ไผ่ปลกู เพ่ือการค้า 149 0.01 A317 หมาก 115 0.18 A322 กฤษณา 12 0.45 0.01 A302/A401 ยางพารา/ไมผ้ ลผสม 5 0.04 A302/A404 ยางพารา/เงาะ 152 0.01 A302/A404/A419 ยางพารา/เงาะ/มังคุด 386 0.16 A302/A411 ยางพารา/กล้วย 0.02 A302/A419 ยางพารา/มงั คดุ 9 0.12 A302/A420 ยางพารา/ลางสาด ลองกอง 37 0.01 A303/A401 ปาลม์ น้ามนั /ไม้ผลผสม 9 0.02 A303/A403 ปาล์มน้ามัน/ทุเรยี น 138 0.10 A303/A404 ปาล์มน้ามนั /เงาะ 14 0.03 A303/A411 ปาล์มนา้ มัน/กลว้ ย 102 0.01 A303/A421 ปาลม์ นา้ มัน/ระกา สละ 12 0.01 A312/A419 กาแฟ/มงั คดุ 19 0.03 A317/A401 หมาก/ไม้ผลผสม 87 0.01 A322/A401 กฤษณา/ไมผ้ ลผสม 23 0.03 A322/A404 กฤษณา/เงาะ 12 14.09 A322/A419 กฤษณา/มังคดุ 9 5.78 22 0.88 A4 ไม้ผล 6 0.27 A401 ไมผ้ ลผสม 27 A403 ทุเรยี น 11,959 A403/A404 ทเุ รียน/เงาะ 4,910 744 229
48 ตารางท่ี 3-9 ประเภทการใช้ทีด่ นิ ในพน้ื ทลี่ มุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด (ตอ่ ) สญั ลกั ษณ์ ประเภทการใช้ท่ีดนิ เนื้อที่ รอ้ ยละ ไร่ 0.06 A403/A411 ทเุ รยี น/กล้วย 0.03 A403/A413 ทุเรยี น/ลาไย 54 0.39 A403/A419 ทุเรียน/มงั คุด 24 0.04 A403/A420 ทุเรยี น/ลางสาด ลองกอง 327 1.72 เงาะ 33 0.03 A404 เงาะ/มะม่วง 1,458 0.02 A404/A407 เงาะ/มะม่วงหิมพานต์ 22 0.02 A404/A408 เงาะ/กล้วย 16 0.47 A404/A411 เงาะ/มังคดุ 18 0.04 A404/A419 เงาะ/ลางสาด ลองกอง 399 1.69 A404/A420 มะม่วงหมิ พานต์ 34 0.01 พทุ รา/มังคุด 1,434 0.13 A408 กล้วย 8 0.01 A409/A419 กล้วย/ลาไย 111 0.02 กลว้ ย/มงั คุด 7 0.14 A411 ลาไย 18 1.31 A411/A413 มังคดุ 120 0.91 A411/A419 มังคดุ /ลางสาด ลองกอง 1,113 0.01 มังคุด/มะไฟ ละไม 774 0.10 A413 ลางสาด ลองกอง 7 0 A419 มะนาว 85 0.01 A419/A420 มังคดุ /พริกไทย 3 0.01 A419/A430 พืชสวน 11 0.01 A420 พืชผกั 7 0.02 A422 สถานทเ่ี พาะเล้ียงสตั วน์ ้า 7 0.01 A419/A505 สถานท่เี พาะเลยี้ งสัตว์นา้ ผสม 22 0.01 A5 สถานทีเ่ พาะเลี้ยงปลา 13 A502 9 A9 A901 A902
49 ตารางท่ี 3-9 ประเภทการใช้ทด่ี นิ ในพืน้ ที่ลมุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด (ตอ่ ) สญั ลกั ษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน เน้อื ท่ี ร้อยละ ไร่ 31.27 F พ้ืนท่ปี า่ ไม้ 26,546 24.53 F101 ป่าไม่ผลัดใบสมบูรณ์ 20,826 2.55 F200 ป่าผลดั ใบรอสภาพฟน้ื ฟู 2,165 4.19 F201 ป่าผลดั ใบสมบูรณ์ 3,555 2.25 W พน้ื ที่นา้ 1,913 0.63 W101 แม่นา้ ลาห้วย ลาคลอง 533 0.84 W102 หนอง บึง ทะเลสาบ 717 0.52 W201 อา่ งเก็บน้า 438 0.26 W202 บ่อน้าในไร่นา 225 3.57 M พน้ื ท่เี บ็ดเตลด็ 3,031 0.92 M101 ทงุ่ หญ้าธรรมชาติ 779 1.62 M102 ทงุ่ หญ้าสลับไม้พมุ่ /ไม้ละเมาะ 1,375 0.30 M103 ไผ่ป่า ไผ่หนาม 255 0.71 M201 พื้นทีล่ ่มุ 602 0.02 M405 พื้นที่ถม 20 100.00 84,890 รวมเนอื้ ที่ 1) พื้นที่ชุมชนและส่ิงปลูกสร้าง (U) มีเนื้อท่ี 2,824 ไร่ หรือร้อยละ 3.32 ของเน้ือที่ทั้งหมด ประกอบด้วย หม่บู ้าน สถานทรี่ าชการและสถาบันตา่ ง ๆ ถนน โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหลง่ รับ ซอ้ื ทางการเกษตร รสี อร์ท (1) หมู่บ้าน (U2) มีเนื้อท่ี 2,017 ไร่ หรือร้อยละ 2.38 ของเนื้อที่ท้ังหมด ได้แก่ หมู่บ้านบนพื้น ที่ราบ ซึ่งเปน็ ทีอ่ ยอู่ าศยั โดยทั่วไป มักกระจายอยทู่ ัว่ ไปตามพื้นที่ (2) สถานทรี่ าชการและสถาบันต่าง ๆ (U3) มีเน้อื ที่ 561 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 0.66 ของเนอ้ื ท่ีท้ังหมด (3) ถนน (U4) มเี นือ้ ที่ 208 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.24 ของเน้ือทีท่ ั้งหมด (4) ย่านอุตสาหกรรม (U5) มีเน้ือที่ 26 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเน้ือที่ท้ังหมด ประกอบด้วย โรงงานอุตสาหกรรม 15 ไร่ ลานตากและแหล่งรับซอ้ื ทางการเกษตร 11 ไร่ (5) พ้ืนที่อ่ืน ๆ (U6) มีเน้ือที่ 12 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของเนอื้ ที่ทงั้ หมด ได้แก่ รสี อร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์
50 2) พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม (A) มีเนื้อท่ี 50,576 ไร่ หรือร้อยละ 59.59 ของเนื้อที่ทั้งหมด (1) นาข้าว (A1) มีเน้ือที่ 417 ไร่ หรือร้อยละ 0.49 ของเนือ้ ที่ท้ังหมด โดยมพี น้ื ท่ีนารา้ ง มเี นอื้ ท6่ี 6 ไร่ หรือร้อยละ 0.08 ของเนื้อทท่ี ้ังหมด (2) พืชไร่ (A2) มีเน้ือท่ี 758 ไร่ หรือร้อยละ 0.90 ของเนื้อที่ท้ังหมด ได้แก่ สับปะรด และ สับปะรด/ยางพารา (3) ไม้ยืนต้น (A3) เป็นพืชเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของลุ่มน้าคลองแอ่ง มีเน้ือที่ 37,413 ไร่ หรือร้อย ละ 44.07 ของเนื้อที่ท้ังหมด โดยพชื เศรษฐกิจที่สาคัญ ได้แก่ และปาล์มน้ามัน นอกจากนี้ ยงั มีไมย้ นื ต้นอื่น ๆ ได้แก่ กฤษณา ยคู าลิปตัส กระถนิ ไผ่ (ไผ่ตง,ไผห่ วานปลกู เพอ่ื การคา้ ) และหมาก (4) ไม้ผล (A4) มเี นอ้ื ที่ 11,959 ไร่ หรือร้อยละ 14. 09 ของเน้ือท่ีท้ังหมด ไดแ้ ก่ ไมผ้ ลผสม เงาะ มะม่วงหิมพานต์ มังคุด และทุเรยี น นอกจากนี้ ยงั มไี ม้ผลอน่ื ๆ ทีเ่ กษตรกรปลกู เปน็ แปลงเล็ก ๆ อีกหลาย ชนิดไดแ้ ก่ ลาไย กล้วย ลางสาด/ลองกอง และมะนาว (5) พืชสวน (A5) มเี นือ้ ที่ 7 ไร่ หรือรอ้ ยละ 0.01 ได้แก่ พชื ผกั (7) สถานท่ีเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (A9) มีเนื้อที่ 22 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ประกอบด้วย สถานท่ี เพาะเลี้ยงสัตว์นา้ ผสม และสถานที่เพาะเล้ียงปลา 3) พ้ืนที่ป่าไม้ (F) มีเน้ือท่ี 26,546 ไร่ หรือร้อยละ 31.27 ของเน้ือท่ีท้ังหมด ประกอบด้วย (1) ป่าไม่ผลัดใบ (F1) มีเน้ือท่ี 20,826 ไร่ หรือร้อยละ 24.53 ของเน้ือท่ีทั้งหมด ได้แก่ ป่าไม่ ผลดั ใบสมบรูณ์ (2) ป่าผลัดใบ (F2) มีเนื้อที่ 5,720 ไร่ หรือร้อยละ 6.74 ของเนื้อที่ทั้งหมด ได้แก่ ป่าผลัดใบ สมบรูณ์ และ ป่าผลัดใบรอสภาพฟ้ืนฟู 4) พน้ื ทแ่ี หลง่ น้า (W) มีเนื้อท่ี 1,913 ไร่ หรือรอ้ ยละ 2.25 ของเนื้อท่ีทง้ั หมด ประกอบดว้ ย (1) แหล่งน้าธรรมชาติ มีเนื้อที่ 1,250 ไร่ หรือร้อยละ 1.47 ของเนื้อที่ทั้งหมด ได้แก่ แม่น้า ลาคลอง หว้ ย และ หนอง บึง (2) แหล่งน้าที่สร้างข้ึน มีเนื้อที่ 663 ไร่ หรือร้อยละ 0.78 ของเน้ือท่ีท้ังหมด ได้แก่ อ่างเก็บน้า และ บ่อนา้ ในไรน่ า 5) พ้ืนทเี่ บ็ดเตล็ด (M) มเี นอ้ื ที่ 3,031 ไร่ หรือร้อยละ 3.57 ของเนือ้ ท่ีท้งั หมด ประกอบดว้ ย (1) พ้นื ท่ีทุ่งหญา้ และไม้ละเมาะ มีเนื้อท่ี 663 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.78 ของเนื้อที่ท้ังหมด ได้แก่ ทุ่งหญา้ ธรรมชาติ ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ และไผ่ปา่ /ไผห่ นาม (2) พ้ืนที่ลุ่ม มีเน้ือท่ี 602 ไร่ หรือร้อยละ 0.71 ของเนอื้ ท่ที ้ังหมด (3) พ้ืนทถ่ี ม มีเนื้อท่ี 20 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.02 ของเนื้อทท่ี ้ังหมด
51 ภาพที่ 3-8 สภาพการใช้ทด่ี ินพน้ื ท่ลี มุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด
52 การชะล้างพังทลายของดินเป็นปัญหาที่สาคัญท่ีส่งผลให้ทรัพยากรท่ีดินเสื่อมโทรมเนื่องจาก ทาให้ เกิดการสูญเสียหน้าดิน การสูญเสียธาตุอาหารและอินทรียวัตถุในดิน ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพ้ืนที่ทม่ี ีการใช้ที่ดินในการปลูกพชื อย่างเข้มข้นในรอบปี รวมท้งั ในพ้นื ทที่ ี่มีการ ใช้เคร่ืองจักรกลในการไถพรวนดินเปน็ สาเหตสุ าคัญที่ทาให้สมบัติทางกายภาพของดนิ โดยเฉพาะโครงสร้าง ดินถูกทาลาย ยิ่งส่งเสริมให้เกิดการพังทลายของดินในพ้ืนท่ี ผลจากการชะล้างพังทลายของดินจะส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมท้ังในพ้ืนท่ีท่ีเกิดการชะล้างพังทลายของดิน และพ้ืนท่ีโดยรอบ และทาให้ผลผลิตตอ่ หน่วยพน้ื ทลี่ ดลง เนื่องจากความอุดมสมบรู ณล์ ดลง และเกดิ การตื้นเขินของแม่นา้ ลาคลองจากมีการสะสม ของตะกอนดิน ทาให้ศักยภาพในการเก็บกักน้าของแหล่งน้าต่าลง ปัญหาเหล่าน้ีจะส่งผลกระทบต่อการ เพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการป้องกันการชะล้างพังทลายของ ดนิ เพือ่ รกั ษาทรัพยากรท่ีดินให้สามารถใช้ที่ดนิ ได้อย่างยง่ั ยนื การชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพื้นที่จะมีระดับความรุนแรงแตกต่างกันไป ข้ึนอยู่กับลักษณะ ของดินเอง และปัจจัยจากภายนอก โดยปกติแล้วการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทยจะเกิดขึ้นโดย มีฝนเป็นปัจจัยหลักท่ีสาคัญ แต่โดยธรรมชาติแล้วจะเกิดไม่รุนแรงบนพื้นท่ีท่ีมีความลาดชันน้อยและมีส่ิง ปกคลุมผิวดินหรือพื้นที่ท่ีมีความลาดชันสูงแต่มีสิ่งปกคลุมผิวดินหนาแน่นจนเม็ดฝนไม่สามารถกระทบสู่ พื้นดินได้ แต่จะเกิดรุนแรงมากข้ึนถ้าพ้ืนท่ีมีความลาดชันมากขึ้นและไม่มีสิ่งปกคลุมผิวดิน โดยมีกิจกรรม การใช้ที่ดินของมนุษย์เป็นตัวเร่งให้เกิดความรุนแรงมากข้ึน การชะล้างพังทลายของดินนอกจากมี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังสง่ ผลเสียทางด้านเศรษฐกิจ และจากการประเมินการสูญเสียดิน (ตัน/ไร/่ ปี) ในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด สามารถแบ่งระดับความรุนแรงของการชะล้าง พงั ทลายของดินออกเป็น 5 ระดบั (ตารางที่ 3-10 และภาพที่ 3-9) ดงั นี้ 1) ความรุนแรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ระดบั น้อย พื้นท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับน้อย ซ่ึงมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตนั ตอ่ ไร่ตอ่ ปี โดยมีครอบคลุมเน้อื ทปี่ ระมาณ 42,530 ไร่ หรอื ร้อยละ 50.10 ของเน้อื ที่ทง้ั หมดพบกระจาย ตัวอยู่ในตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ ซ่ึงบรเิ วณทีม่ สี ญู เสยี ดนิ เล็กน้อยส่วน ใหญ่มีสภาพพ้ืนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงพ้ืนที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบจนถึงพื้นที่ลาดชัน การใช้ท่ีดินส่วนใหญ่เป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์ และใช้ประโยชน์ในการปลูกไม้ผล ยางพารา ปาล์มน้ามันและ มะม่วงหิมพานต์ แม้ในพ้ืนท่ีน้ีซ่ึงมีสถานภาพความรุนแรงในระดับน้อย แต่ควรได้รับการจัดการด้วย มาตรการอนรุ ักษ์ดินและนา้ ที่เหมาะสม เพ่อื ปอ้ งกนั การสญู เสียดินเพื่อใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสม 2) ความรนุ แรงของการชะล้างพังทลายของดินระดบั ปานกลาง พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลาง ซ่ึงมีปริมาณการสูญเสียดิน 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเนื้อที่ครอบคลมุ ประมาณ 4,661 ไร่ หรือร้อยละ 5.49 ของเนื้อท่ีท้ังหมด พบกระจาย ตัวอยู่ในตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ สภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ในการปลูกไม้ผล ยางพารา ปาล์มน้ามันและมะม่วงหิมพานต์
53 พ้ืนท่ีนี้ควรมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างระมัดระวัง โดยการปลูกพืชตามแนวระดับหรือขวางความลาดเท และควรมีการปรับปรุงบารงุ ดนิ อย่างต่อเน่ือง 3) ความรุนแรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดินระดับรนุ แรง พื้นทม่ี คี วามรนุ แรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรง ซึ่งมีปริมาณการสูญเสยี ดนิ 5-15 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเน้ือที่ครอบคลุมประมาณ 23,535 ไร่ หรือร้อยละ 27.72 ของเน้ือที่ท้ังหมด โดยพบ กระจายตัวอยู่พ้ืนท่ีตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ ส่วนใหญ่มีการใช้ที่ดินใน การปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามันและมะม่วงหิมพานต์ พื้นท่ีนี้ควรนามาตรการป้องกันการสูญเสียดินท้ังวิธีพืช และวิธีกลสาหรับป้องกันการสูญเสียดิน มีการปรับปรุงบารุงดินอย่างต่อเนื่อง เพื่อการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ทางการเกษตรได้อยา่ งย่ังยนื ตลอดไป 4) ความรุนแรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดินระดบั รุนแรงมาก พื้นท่ีมีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรงมาก ซ่ึงมีปริมาณการสูญเสียดิน 15-20 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเนื้อที่ครอบคลุมประมาณ 2,262 ไร่ หรือร้อยละ 2.67 ของเน้ือที่ทั้งหมด โดย ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในตาบลหนองบอน ตาบลช้างทนู ตาบลบอ่ พลอย อาเภอบอ่ ไร่ สภาพพน้ื ทสี่ ่วน ใหญ่มีความลาดชันสูง และมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินในการปลูกยางพาราและไม้ผล พื้นที่นี้ หากมีการใช้ ประโยชน์ที่ดินทางการเกษตร จาเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าอย่างเคร่งครัด มีการ ปรบั ปรุงบารุงดินอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ป้องกันการสญู เสียดนิ 5) ความรุนแรงของการชะลา้ งพังทลายของดินระดับรนุ แรงมากทส่ี ดุ พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับรุนแรงมาก ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน มากกว่า 20 ตนั ต่อไรต่ อ่ ปี โดยมเี นือ้ ทคี่ รอบคลมุ ประมาณ มเี น้อื ที่ 11,902 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 14.02 ของเนื้อ ท่ีทั้งหมด โดยพบกระจายตัวอยู่ในตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ พื้นท่ีส่วน ใหญ่มีความลาดเทสูง สภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นพ้ืนที่ลูกคลื่นลอนชัน ส่งผลให้มีอัตราการสูญเสีย ดนิ รนุ แรงมากที่สดุ มีการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในการปลูกไม้ผล ยางพารา ปาลม์ น้ามันและมะม่วงหิมพานต์ ตารางที่ 3-10 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ระดบั ความรนุ แรง คา่ การสูญเสยี ดนิ เนือ้ ที่ (ตนั /ไร/่ ป)ี น้อย 0-2 ไร่ รอ้ ยละ ปานกลาง 2-5 รนุ แรง 5-15 42,530 50.10 รุนแรงมาก 15-20 รนุ แรงมากท่สี ดุ มากกว่า 20 4,661 5.49 23,535 27.72 2,262 2.67 11,902 14.02 รวมเนอ้ื ท่ี 84,890 100.00
54 จากผลการศึกษา จะเหน็ ว่า แมว้ า่ พ้ืนทส่ี ว่ นใหญม่ คี วามรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อย โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมเนื้อที่คิดเป็นร้อยละ 50.10 ของเนื้อที่ ทั้งหมด โดยพบกระจายตัวอยู่ในตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อไร่ ซึ่งพื้นที่ ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันอยู่ในช่วง 0-12 เปอร์เซ็นต์ มีลักษณะสภาพพื้นที่เป็นแบบราบเรียบถึง ค่อนข้างราบเรียบ ลูกคลน่ื ลอดลาดเล็กน้อย และลูกคล่ืนลอนลาดบางส่วน เมื่อพิจารณาประเภทการใช้ ที่ดินเป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์ และมีการใช้ประโยชน์ของพ้ืนที่ในการปลูกไม้ผล ยางพารา ปาล์มน้ามันและ มะม่วงหิมพานต์ ซ่ึงอาจพบปัญหาการชะล้างพังทลาย เนื่องจากปริมาณน้าฝนท่ีสูงมากและพืชท่ีปกคลุม ดินเป็นไม้ยืนต้นและไม้ผลเชิงเดี่ยว ควรได้รับการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อการผลิตและ ผลผลิตของเกษตรกร อกี ท้ังลดต้นทนุ การผลติ ท่ีสูญหายไปกับการชะล้างของผวิ หนา้ ดินท่ีอาจเกดิ ขึ้นอย่าง ต่อเนื่องนอกจากนี้ ในพื้นที่ที่มีสภาพภูมิประเทศแบบเนินเขาแบบสูงชันและแบบสูงชันมากจะเกิด การชะล้างพังทลายของดินที่มีความรุนแรงมากที่สุด โดยก่อให้เกิดปริมาณการสูญเสียดินมากกว่า 20 ตนั ตอ่ ไร่ต่อปโี ดยพนื้ ท่ดี งั กล่าวมีการใชป้ ระโยชน์ที่ดินเป็นไมผ้ ล ยางพารา ปาลม์ นา้ มนั และมะมว่ งหมิ พานต์ ท้ังน้ี เพื่อเป็นการป้องกันและหยุดการชะล้างพังทลายของดินอย่างย่ังยืนโดยเฉพาะพื้นที่ท่ีมีความ รุนแรงของการสูญเสียดินปานกลางถึงรุนแรงมากที่สุดนั้น ควรมีมาตรการในการจัดระบบอนุรักษ์ ดินและน้าที่เหมาะสมสาหรับแต่ละพ้ืนที่ โดยเฉพาะในพ้ืนที่บางแห่งท่ีมีการใช้ท่ีดินอย่างไม่เหมาะสม เนอื่ งจากพื้นที่ท่ีมคี วามลาดชันสูง ควรปรบั เปลี่ยนการใชท้ ี่ดนิ ให้เหมาะสม และวธิ ีการจดั การมีความเป็นไป ได้จริง วิธีการที่สะดวก และเสียค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ต้องใช้แรงงานมาก และสอดคล้องตามความต้องการของ ชุมชน
55 ภาพที่ 3-9 การสูญเสยี ดนิ ในพน้ื ท่ลี มุ่ นา้ คลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด
56 จากการศึกษาข้อมูลเชิงสังคมและเศรษฐกิจจากหน่วยงานต่าง ๆ และการสัมภาษณ์เกษตรกรใน พื้นท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง ประกอบดว้ ยตาบลบ่อพลอย ตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด มรี ายละเอยี ดดงั น้ี (ตารางท่ี 3-11) 1) สภาพทั่วไป ประชากรของพื้นท่ีเฉล่ียประมาณ 2,086.66 คนต่อตาบล โดยตาบลที่มีประชากรสูงสุดคือ ตาบลบ่อพลอย รองลงมาเป็นตาบลช้างทูน และตาบลหนองบอนตามลาดับ สัดส่วนของเพศชาย และ เพศหญิงค่อนข้างใกล้เคียงกัน คือ เป็นเพศชายเฉล่ียประมาณ 780 คนต่อตาบล และเป็นเพศหญิงเฉลี่ย ประมาณ 789 คนต่อตาบล จานวนครัวเรือนเฉล่ียประมาณ 880 ครัวเรือนต่อตาบล โดยตาบลหนองบอนมี จานวนครัวเรือนสูงสุด 1,036 ครัวเรือน รองลงมาตาบลบ่อพลอย และตาบลช้างทูน เฉล่ียแล้วมีจานวน ประชากร 2.36 คนต่อครัวเรือน มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรทุกตาบล โครงสร้างพ้ืนฐานด้าน สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา โทรคมนาคม) ด้านสถานบริการสาธารณะ และหน่วยธุรกิจมีครบถ้วนทุก ตาบล แต่มจี านวนแตกต่างกันขนึ้ อยู่กบั ขนาดของพนื้ ท่ีและประชากร ในดา้ นการศกึ ษาประชากรสว่ นใหญ่ กาลังศึกษาในระบบช้ันมัธยมปลายมากที่สุด รองลงมาคือระดับก่อนประถม และประชากรมีการศึกษาใน ระดบั ประถมศกึ ษาถึงมธั ยมตน้ มากที่สุด 2) ดา้ นเศรษฐกจิ การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ในทุกตาบลประกอบอาชีพรับจ้างท่ัวไปมากท่ีสุด เช่น การประกอบอาชีพรับจ้างท้ังในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร ส่วนอาชีพอ่ืน ๆ มีรับราชการ รัฐวิสาหกิจ พนักงานเอกชน ธุรกิจส่วนตัว ทาเกษตรกรรม ค้าขาย และอ่ืน ๆ จานวนครัวเรือนเกษตรเฉลี่ยประมาณ 157 ครัวเรือนต่อตาบล หรือร้อยละ 18.94 ของครัวเรือนท้ังหมด ตาบลท่ีมีครัวเรือนเกษตรมากที่สดุ คือ ตาบล บ่อพลอย รองลงมาเป็นตาบลช้างทูน และตาบลหนองบอน มีพื้นท่ีเกษตรเฉลี่ย 1.95 ไร่ต่อครัวเรือน จานวนแรงงาน ภาคเกษตรเฉลย่ี 2 คนต่อครัวเรือน มีรายได้เฉลี่ย 73,953.85 บาทต่อคนต่อปี ซ่ึงตาบลที่ มีรายได้เฉล่ียสูงสุดคือ ตาบลช้างทูน รองลงมาเป็นตาบลบ่อพลอย และตาบลหนองบอน ลักษณะการถือ ครองที่ดินพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีที่ดินทากินเป็นของตนเอง มีท้ังที่มี หนังสือสาคัญในท่ีดิน เช่น โฉนด นส.3 น.ส.3ก เป็นต้น และไม่มีเอกสารสิทธิ์ในท่ีดินทากิน เครื่องมือการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่เป็น เคร่ืองจกั รขนาดใหญ่ เชน่ รถไถเดินตาม รถไถใหญ่ เป็นตน้
57 ตารางที่ 3-11 สภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมในพ้ืนท่ลี ุ่มนา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด สภาวะเศรษฐกิจและสงั คม ตาบล ค่าเฉลีย่ บ่อพลอย ชา้ งทูน หนองบอน สภาพสงั คมและการรวม 2,086.66 กลุ่มเกษตร 2,692 1,999 1,569 1,054.33 1) ประชากร (คน) 1,032.33 1,375 1,008 780 (1) ชาย (คน) 880 (2) หญงิ (คน) 1,317 991 789 (3) จานวนครวั เรือน (หลงั คาเรือน) 22.86 2) โครงสร้างพ้นื ฐาน 969 635 1,036 1.78 (1) สาธารณปู โภค (ร้อยละ) 20.30 100.00 100.00 100.00 0.12 - ครวั เรอื นท่ีมไี ฟฟ้าใช้ 27.22 75.08 100.00 0.48 - ครัวเรือนท่ใี ช้นา้ 6.55 ประปาตลอดปี 93.70 99.86 89.69 44.04 - ครวั เรอื นท่มี ีโทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ 100.00 100.00 100.00 3.87 - การคมนาคมใช้ไดต้ ลอดทัง้ ปี 157 (2) สถานบริการสาธารณะ มี มี มี (18.94) (3) หนว่ ยธุรกจิ มี มี มี 1.95 (4) การรวมกลุม่ ของเกษตรกร มี มี มี สภาพเศรษฐกิจ 1) การประกอบอาชพี (รอ้ ยละ) 20.84 24.61 23.14 (1) เกษตรกรรรม 1.56 2.75 1.02 (2) ราชการ 20.91 23.92 16.08 (3) กาลังศกึ ษา 0.15 0.15 0.06 (4) พนักงานรฐั วสิ าหกจิ 0.26 1.05 0.13 (5) พนกั งานบรษิ ทั 5.25 3.15 11.26 (6) ธรุ กิจส่วนตวั เชน่ คา้ ขาย 48.24 36.77 47.10 (7) อืน่ ๆ เช่น รบั จา้ งทว่ั ไป 2.79 7.60 1.21 (8) ไมม่ ีอาชพี 187 164 121 2) ครัวเรอื นเกษตรกร (19.30) (25.83) (11.68) (ร้อยละของครัวเรอื นทั้งหมด) 2.05 3.01 0.80 3) พนื้ ทที่ าการเกษตร (ไร/่ ครวั เรือน)
58 ตารางที่ 3-11 สภาวะเศรษฐกิจและสงั คมในพน้ื ท่ีลมุ่ น้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จังหวดั ตราด (ต่อ) สภาวะเศรษฐกิจและสงั คม บ่อพลอย ตาบล คา่ เฉลีย่ ช้างทนู หนองบอน 4) แรงงานภาคเกษตร 2 73,953.85 22 (คน/ครัวเรอื น) 30.66 93,937.70 65,609.94 227 5) รายได้ (บาท/คน/ป)ี 62,313.93 605 ไร่ 630 ไร่ 89.33 6) ลกั ษณะการถอื ครองทด่ี ิน 51 มี มี 51 (1) หนังสอื สาคญั ในท่ีดนิ 803 ไร่ มี มี 7 41 12.67 (โฉนดที่ดิน, นส.3, น.ส.3ก ฯ) 18 42 395.67 (2) ไม่มเี อกสารสิทธ์ิ 45 ไร่ 57 14 146 351 70 87 8) เคร่อื งจักรขนาดเลก็ 3 150 64 93.33 91 30 13.33 เครือ่ งจักรขนาดกลาง 4 93 24 175.33 20 18 1,491 เครือ่ งจกั รขนาดใหญ่ 10 1,251.67 278 250 9) การศึกษาของประชากรกาลังศกึ ษาในระบบ 57 80 28 61 (1) ก่อนประถม 21 10 80 (2) ประถมศกึ ษา-มธั ยมต้น 260 2 21 (3) มัธยมปลาย 54 (4) อนุปรญิ ญา 32 210 93 (5) ปริญญาตรี 36 1,326 1,990 (6) สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 1,086 1,936 จบการศึกษา - (1) ประถมศึกษา-มัธยมตน้ (2) มัธยมปลาย 659 (3) อนุปริญญา 301 (4) ปริญญาตรี 172 (5) สงู กว่าปริญญาตรี 190 10) การฝึกอบรม 17 (1) ฝกึ อบรมในดา้ นการงาน อาชีพ 223 (2) ฝกึ อบรมในด้านการศกึ ษา 1,157 (3) ฝึกอบรมในด้านสขุ ภาวะ 733 ทมี่ า: กรมการพัฒนาชุมชน (2562)
59 3) พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ จากผลการศึกษาสถานการณ์พืชเศรษฐกิจที่สาคัญในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ปีการผลิต 2563 ได้แก่ เงาะ ยางพารา และไม้ผลผสม โดยพิจารณาการปลูกพืชตามระดับ ของความรนุ แรงของการชะล้างพังทลายของดนิ 5 ระดบั คอื การสญู เสียดินนอ้ ย มคี า่ (0-2 ตนั ตอ่ ไร่ต่อปี) การสูญเสียดินปานกลาง มีค่า (2-5 ตันต่อไร่ต่อปี) การสูญเสียดินรุนแรง มีค่า (5-15 ตันต่อไร่ต่อปี) การ สูญเสียดนิ รุนแรงมก มคี า่ (15-20 ตันตอ่ ไรต่ ่อป)ี และการสญู เสียรนุ แรงมากที่สุดมีค่า (มากกว่า 20 ตนั ต่อ ไรต่ ่อปี) โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ (ตารางที่ 3-12 ) 3.1) เงาะ ปลูกในพื้นที่ดินท่ีมีการชะล้างพังทลายของดิน 4 ระดับ คือ ระดับปานกลาง ระดับรนุ แรง ระดบั รุนแรงมาก และระดบั รนุ แรงมากทสี่ ดุ พันธุท์ ีใ่ ชป้ ลูก คอื พันธุ์สที อง และ พันธโ์ุ รงเรยี น พ้ืนท่ีดินที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย 1,515 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนท้ังหมด 5,830.38 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ต้นทนุ ท้ังหมด 21,000.27 บาทต่อไร่ อัตราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ ทัง้ หมด 4.60 พ้ืนที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรง ผลผลิตเฉล่ีย 1,440 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุน ท้ังหมด 6,925.41 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุน ทง้ั หมด 18,576.99บาทตอ่ ไร่ อัตราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทุนทงั้ หมด 3.70 พ้ืนท่ีดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมาก ผลผลิตเฉลี่ย 1,349.09 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 7,464.70 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ต้นทนุ ทัง้ หมด 16,427.68 บาทต่อไร่ อตั ราสว่ นผลตอบแทนต่อตน้ ทุนทงั้ หมด 3.22 พื้นท่ีดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมากที่สุด ผลผลิตเฉล่ีย 1,241.41 กิโลกรัม ต่อไร่ ต้นทุนท้งั หมด 8,693.95 บาทตอ่ ไร่ เมอื่ พิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ต้นทนุ ทง้ั หมด 13,291.42 บาทต่อไร่ อัตราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ต้นทุนทั้งหมด 2.54 พ้ืนทีด่ ินที่มี เม่ือพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนของการผลิตเงาะ ในพ้ืนที่ดิน แต่ละระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้ม ท่ีเพ่ิมขึ้นตาม ระดับความรนุ แรงของการชะล้างพังทลายของดินท่ีเพ่ิมข้ึน ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเม่อื ระดับความ รนุ แรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดินเพม่ิ ข้นึ ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือตน้ ทุนทงั้ หมดมีแนวโนม้ ลดลงเม่ือ ระดบั ความรนุ แรงของการชะล้างพงั ทลายของดนิ เพ่มิ สงู ขึน้ 3.2) ยางพารา ปลูกในพ้ืนที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 4 ระดับ คือ ระดับปานกลาง ระดับรนุ แรง และระดับรุนแรงมากท่ีสุด พนั ธ์ทุ ี่ใชป้ ลกู คือ RRIM 600 พ้ืนท่ีดินที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง ผลผลิตเฉล่ีย 593.45 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 9,673.69 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ตน้ ทุนท้งั หมด 9,298.91 บาทตอ่ ไร่ อัตราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ต้นทุนทงั้ หมด 1.96
60 พ้ืนท่ีดนิ ท่มี ี การชะลา้ งพังทลายของดนิ ระดับรุนแรง ผลผลติ เฉลีย่ 457.53 กิโลกรมั ต่อไร่ ต้นทนุ ทั้งหมด 9,968.43 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุน ทง้ั หมด 4,658.80 บาทตอ่ ไร่ อตั ราสว่ นผลตอบแทนต่อต้นทนุ ทง้ั หมด 1.47 พื้นที่ดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมาก ผลผลิตเฉลี่ย 433.75 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 11,202.56 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ตน้ ทนุ ทงั้ หมด 2,664.43 บาทตอ่ ไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนตอ่ ต้นทนุ ท้งั หมด 1.24 พื้นท่ีดนิ ทม่ี ี การชะลา้ งพงั ทลายของดินระดบั รนุ แรงมากทส่ี ุด ผลผลติ เฉล่ยี 409.53 กโิ ลกรัมต่อ ไร่ ต้นทุนท้ังหมด 11,523.71 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ต้นทุนทง้ั หมด 1,568.96 บาทต่อไร่ อตั ราสว่ นผลตอบแทนต่อต้นทุนท้ังหมด 1.14 พื้นที่ดินทม่ี ี เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนของการผลิตยางพารา ในพื้น ที่ดินแต่ละระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้ม ที่เพิ่มขึ้น ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพ่ิมข้ึน ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเม่ือระดับ ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนท้ังหมดมีแนวโน้ม ลดลงเมื่อระดับความรุนแรงของการชะลา้ งพังทลายของดินเพิ่มสูงข้ึน 3.3) ไม้ผลผสม ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 4 ระดับ คือ ระดับปานกลาง ระดบั รุนแรง ระดบั รนุ แรงมาก และระดับรนุ แรงมากที่สุด พันธุท์ ่ใี ช้ปลกู คอื เงาะ มังคดุ ลองกอง และทุเรียน พ้ืนท่ีดินท่ีมีการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย 516.83 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนท้ังหมด 4,530.61 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ตน้ ทุนท้ังหมด 15,615.42 บาทตอ่ ไร่ อัตราสว่ นผลตอบแทนต่อต้นทุนทง้ั หมด 4.44 พนื้ ทด่ี นิ ท่มี ี การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ระดับรนุ แรง ผลผลิตเฉลีย่ 486.62 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ต้นทุน ทั้งหมด 4,912.49 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุน ท้งั หมด 14,055.96 บาทต่อไร่ อตั ราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทุนท้งั หมด 3.96 พื้นท่ีดินที่มี การชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรงมาก ผลผลิตเฉล่ีย 409.09 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 5,531.24 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ต้นทนุ ทั้งหมด 10,415.09 บาทตอ่ ไร่ อัตราสว่ นผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 3.46 พน้ื ที่ดินทมี่ ี การชะลา้ งพังทลายของดินระดับรุนแรงมากท่สี ุด ผลผลติ เฉลยี่ 353.69 กโิ ลกรมั ต่อ ไร่ ต้นทุนทั้งหมด 6,493.74 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือ ต้นทนุ ทั้งหมด 7,293.09 บาทต่อไร่ อตั ราส่วนผลตอบแทนต่อตน้ ทุนทัง้ หมด 2.55 พน้ื ทีด่ นิ ทมี่ ี เม่ือพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ตน้ ทุน และผลตอบแทนของการผลิตไม้ยืนตน้ สวนผสม ในพื้นท่ีดินแต่ละระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้ม ที่ เพิ่มขึน้ ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพงั ทลายของดนิ ทีเ่ พิม่ ข้นึ ปริมาณผลผลติ มีแนวโน้มลดลงเม่ือ ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มข้ึน ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนท้ังหมดมี แนวโน้มลดลงเม่อื ระดับความรุนแรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เพิม่ สงู ขึ้น
61 ทั้งน้ี จากผลการศึกษาจะเห็นว่า พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ ไดแ้ ก่ เงาะ ยางพารา และไม้ผลผสม ให้ ผลตอบแทนคุม้ ค่าการลงทุน โดย เงาะให้ผลตอบแทนคุม้ ค่ากว่าการปลูกพชื ชนิดอ่นื รองลงมาคอื การทาไม้ ผลผสม และยางพาราตามลาดับ ท้ังนี้ต้องพิจารณาตามปัจจัยภายนอกท่ีผันแปรโดยเฉพาะอย่างย่ิงราคา ของพืชผลผลิตโดยเฉพาะ เงาะ มังคุด ทุเรียน ที่มีราคาสูงมากในปัจจุบันและเป็นท่ีต้องการของตลาด จึง ส่งผลให้มีผลตอบแทนท่ีสูงมาก แต่ตรงกันข้ามกับยางพาราซึ่งในปัจจุบันมีสภาวะอุปทานส่วนเกินหรือ สนิ คา้ ล้นตลาดส่งผลต่อราคารับซอ้ื ผลผลติ ท่ปี ัจจบุ นั ตกตา่ กวา่ ครัง้ ในอดีตทผี่ า่ นมา ตารางที่ 3-12 ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนท้ังหมดของการปลูกพืชในพ้ืนที่มี ระดบั การชะล้างพังทลายตา่ งกัน ระดบั การ ผลผลติ ราคา มูลค่าผลผลติ ต้นทนุ การผลติ ผลตอบแทนเหนอื B/C พชื ชะลา้ งพังทลาย เฉล่ยี ผลผลติ (บาท/กก.) ท้งั หมด ตน้ ทุนทง้ั หมด ratio ของดนิ * (กก./ไร)่ (บาท/กก.) (บาท/ไร่) (บาท/ไร)่ เงาะ น้อย -- - - -- ปานกลาง 1,515.00 17.71 26,830.65 5,830.38 21,000.27 4.60 รุนแรง 1,440.00 17.71 25,502.40 6,925.41 18,576.99 3.70 รนุ แรงมาก 1,349.09 17.71 23,892.39 7,464.70 16,427.68 3.22 รนุ แรงมากทส่ี ดุ 1,241.41 17.71 21,985.37 8,693.95 13,291.42 2.54 ยางพารา นอ้ ย -- - - -- ปานกลาง 593.45 31.97 18,972.60 9,673.69 9,298.91 1.96 รุนแรง 457.53 31.97 14,627.23 9,968.43 4,658.80 1.47 รนุ แรงมาก 433.75 31.97 13,866.99 11,202.56 2,664.43 1.24 รนุ แรงมากทส่ี ดุ 409.53 31.97 13,092.67 11,523.71 1,568.96 1.14 ไมผ้ ลผสม น้อย -- - - -- ปานกลาง 516.83 38.98 20,146.03 4,530.61 15,615.42 4.44 รนุ แรง 486.62 38.98 18,968.45 4,912.49 14,055.96 3.96 รนุ แรงมาก 409.09 38.98 15,946.33 5,531.24 10,415.09 3.46 รุนแรงมากท่ีสุด 353.69 38.98 13,786.84 6,493.74 7,293.09 2.55 หมายเหตุ * ระดบั การชะล้างพงั ทลายของดิน 5 ระดับ และคา่ การสูญเสียดนิ คือ น้อย (0-2 ตัน/ไร่/ปี) ปาน กลาง (2-5 ตนั /ไร่/ป)ี รุนแรง (5-15 ตัน/ไร่/ปี) รุนแรงมาก (15-20 ตัน/ไร่/ป)ี และรนุ แรงมากทส่ี ุด (มากกว่า 20 ตนั /ไร/่ ปี) 4) ความรู้ ความเขา้ ใจ ด้านการอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้
62 จากผลการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเก่ียวกับความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดิน และน้าในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง โดยมุ่งเน้นข้อมูลเกี่ยวกับ 1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของ ดิน 2) ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อผลผลิต 3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และ ทศั นคติตอ่ การป้องกันสภาพปัญหา (ตารางท่ี 3-13) 4.1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน เกษตรกรให้ข้อมูลถึงการชะล้าง พังทลายของดินในพ้ืนที่เพาะปลูกพืช และท่ีอยู่อาศัยของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรร้อยละ 73.33 ของ เกษตรกรท้ังหมด พื้นที่มีสภาพหน้าดินเป็นร่องหรือร่องน้าขนาดเล็ก ร้อยละ 33.33 มีน้าไหลบ่าพัดพาหน้าดิน โดยเฉพาะในชว่ งฤดูฝน ร้อยละ 86.67 การชะล้างพังทลายของหน้าดนิ สง่ ผลให้แหลง่ น้าตน้ื เขินขึ้น ทาให้มี ปริมาณการกักเก็บน้าได้น้อยลง ร้อยละ 93.33 มีการใช้ปุ๋ย สารเคมี ยาฆ่าแมลงเพิ่มมากขึ้น และร้อยละ 46.67 ในบางพน้ื ที่มสี ภาพรอยทรุดหรือรอยแยกของหน้าดนิ ทัง้ นี้ จะเห็นวา่ เกษตรกรมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั ผลกระทบของการชะลา้ งพงั ทลายของ ดินต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม โดยดินท่ีถูกชะล้างหรือ กัดเซาะจะถูกพัดพา ไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้า ทาให้แหล่งน้าตื้นเขิน ส่งผลให้ในฤดูฝนแมน่ ้าลาคลองเก็บน้าไวไ้ ม่ทันเกิดน้า ท่วม และเกิดสภาวะขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง อีกทั้งสารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดินสู่พื้นที่ ตอนลา่ ง ทาให้เกดิ มลพิษสะสมในดินและน้ามผี ลเสียต่อคน พชื สัตว์บก และสัตว์นา้ 4.2) ผลกระทบต่อผลผลิต เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 57.50 ได้รับผลกระทบต่อปริมาณ ผลผลิตจากการชะล้างพังทลายของดิน ในกรณีพื้นท่ีเพาะปลูกทางการเกษตรท่ีมีสภาพเป็นร่องน้า การ สูญเสียของหน้าดินซึ่งถูกพัดพาไป หรือทรุดตัวในบางแห่ง โดยแบ่งระดับผลกระทบต่อผลผลิตออกเป็น 3 ระดับ คือ น้อย (ลดลงไม่เกิน 20%) ปานกลาง (ลดลง 20-40%) และมาก (ลดลงมากกว่า 40%) ซึ่งมี สัดส่วนของเกษตรกรท่ีได้รับผลกระทบใกล้เคียงกันร้อยละ 35.71 - 31.43 แต่มีเกษตรบางกลุ่ม (ร้อยละ 42.50) ใหข้ ้อมลู สภาพปัญหาการชะล้างพังทลายท่ีเกิดข้ึนไม่ได้ส่งผลกระทบตอ่ ปริมาณผลผลติ ทางเกษตร 4.3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย จากสภาพปัญหาของ การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และท่ีอยู่อาศัยของเกษตรกร จะเห็นว่า มีเกษตรกรเพียง ร้อยละ 37.50 ของเกษตรกรท้ังหมด มีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย โดยอาศัย 2 วิธี หลกั คอื 1) การก่ออิฐขวางทางน้า และ 2) การปลกู พืชคลุมดิน ในขณะท่ีเกษตรกรมากถึงร้อยละ 62.50 ที่ไม่ได้มีแนวทางหรือมาตรการในการป้องกันหรือแก้ไขแต่อย่างใด โดยให้เหตุผลว่า ส่วนใหญ่ขาดองค์ ความรู้ และยังขาดการสนับสนุนงบประมาณ ขาดแรงงาน เพ่ือดาเนินการดังกล่าว อีกท้ังไม่มีเวลาในการ ดาเนินการ นอกจากนี้ หากมีชอ่ งทางในการป้องกันหรือแก้ไขโดยอาศยั หนว่ ยงานรฐั เขา้ มาจัดการแก้ไขให้ ซง่ึ เกษตรกรส่วนใหญ่ (รอ้ ยละ 70.00) ไมต่ อ้ งการให้เขา้ มาดาเนนิ การแก้ไข และมเี พยี งบางส่วนที่ต้องการให้ เขา้ มาดาเนินการแก้ไข
63 ตารางที่ 3-13 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้า ในพื้นท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ปกี ารผลิต 2563 รายการ ร้อยละ 1) ลักษณะและสภาพปัญหาดา้ นการชะล้างพังทลายของดนิ ในพน้ื ท่ปี ลูกพชื และที่อยูอ่ าศัย (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) ไม่มี 37.50 มี 62.50 (1) หนา้ ดนิ มีร่อง/ร่องนา้ เล็ก ๆ 73.33 (2) น้าไหลบ่าพัดพาหนา้ ดิน 33.33 (3) แหล่งนา้ ต้ืนเขินมากขนึ้ 86.67 (4) มีการใชป้ ุ๋ย/สารเคมี/ยาฆา่ แมลง มากขึ้น 93.33 (5) มรี อยทรุดหรอื รอยแยก 46.67 (6) ไม่พบสภาวะทร่ี ะบุข้างต้น 37.50 2) ผลกระทบต่อผลผลิต (กรณที ี่มรี อ่ งนา้ /หน้าดนิ ถูกพัดพาหรือทรุดตวั ) (1) ไมม่ ี 42.50 (2) มี โดยมผี ลกระทบให้ผลผลิตลดลงในระดับ 57.50 - น้อย (ลดลงไมเ่ กิน 20%) 35.71 - ปานกลาง (ลดลง 20-40%) 32.86 - มาก (ลดลงมากกว่า 40%) 31.43 3) แนวทางการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการชะล้างพังทลาย (กรณที ่ดี ินถูกน้ากัดเซาะ/นา้ พดั พาหน้าดนิ ) (1) ดาเนนิ การแกไ้ ข/ปอ้ งกัน โดยวิธี 37.50 - การกอ่ อฐิ ขวางทางนา้ 46.67 - การปลกู พืชคลมุ ดิน 53.33 (2) ไม่ดาเนินการแก้ไข/ปอ้ งกนั เน่ืองจาก 62.50 - ขาดองคค์ วามรู้ 36.00 - ขาดงบประมาณสนบั สนุน 48.00 - ขาดแรงงาน 4.00 - ไม่มีเวลา 12.00 * กรณที ีไ่ มไ่ ด้แก้ไข ความประสงคใ์ ห้หนว่ ยงานรัฐช่วยเหลอื (1) ไมต่ อ้ งการ 70.00
64 ตารางที่ 3-13 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้า ในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ปีการผลติ 2563 (ตอ่ ) รายการ รอ้ ยละ (2) ต้องการ โดยมีระดับความตอ้ งการ 30.00 - นอ้ ย 22.22 - ปานกลาง 27.78 - มาก 50.00 ท่มี า: จากการสารวจ กลมุ่ วางแผนการใชท้ ด่ี ิน สานกั งานพัฒนาท่ดี ินเขต2 (2563) ทั้งน้ี จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้างพังทลาย ของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน แต่เมื่อสอบถามถึงความต้องการวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน พบว่า 3 อันดับแรกท่ีเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการรักษา และป้องกันการชะล้าง พังทลายของดนิ คือ การปลูกหญา้ แฝกขวางทางลาดชัน การทาฝายน้าลน้ หรือคนั ชะลอความเร็วของนา้ การยกร่อง และการปลูกพืชทาร่องนา้ ไปตามแนวระดับ (ตารางที่ 3-14) ตารางท่ี 3-14 ความรู้และความเข้าใจ และลาดับความต้องการของวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลาย ของหนา้ ดนิ พืน้ ที่ล่มุ น้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด ปีการผลติ 2563 วธิ ีการรกั ษาและปอ้ งกัน รอ้ ยละ ลาดบั ความรู้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่แนใ่ จ ความเขา้ ใจ 1) การปลกู หญา้ แฝกขวางทางลาดชนั 68.43 21.25 10.32 1 2) การทาฝายนา้ ลน้ หรอื คันชะลอความเร็วของนา้ 66.72 16.62 16.66 2 3) การยกรอ่ งและปลกู พืชทารอ่ งน้าไปตามแนวระดับ 63.14 25.67 11.19 3 4) การทาคันดนิ ขวางทางลาดเท 60.39 21.83 17.78 4 5) การปลกู พืชสลับเปน็ แถบ 58.53 34.32 7.15 5 6) การปลกู พืชคลุมดนิ 55.82 31.57 12.61 6 7) การใชว้ สั ดตุ า่ ง ๆ อย่างงา่ ย เช่นท่อนไม้ หนิ กระสอบ 48.25 40.11 11.64 7 บรรจทุ ราย อฐิ และ กอ่ สรา้ งขวางทางระบายนา้ เพอ่ื ชะลอความเร็วของน้าไมใ่ หก้ ัดเซาะ 8) การปลกู พชื แบบข้ันบันได (ปรบั พ้ืนท่เี ปน็ ขน้ั ๆ) 47.03 35.75 17.22 8 9) การปลกู พชื หมุนเวียน/ปลกู พืชแซม/ปลูกพืชเหลือ่ มฤดู 45.81 37.43 16.76 9 10) การถางป่า ตดั ไมท้ าลายปา่ การขุดถนนทาให้เกิด 42.53 39.32 18.15 10 การชะลา้ งพงั ทลายของดิน 11) การใชว้ ัสดุคลมุ ดิน เชน่ เศษซากพชื พลาสติก กระดาษ 39.26 55.18 5.56 11 ทม่ี า: จากการสารวจ กลุม่ วางแผนการใช้ทด่ี ิน สานักงานพฒั นาทด่ี ินเขต2 (2563)
65 เม่ือพิจารณาข้อมูลทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับประเดน็ ที่เชอ่ื มโยงกับสภาพปัญหาการชะล้าง พังทลายของดนิ 3 ด้าน (ตารางท่ี 3-15) ดงั น้ี 1) การย้ายถิ่นฐาน จากประเด็นทัศนคติเก่ียวกับ “กรณีหากเกิดเหตุการณ์ดินถล่มในพื้นท่ี เส่ียงภัย แล้วภาครัฐต้องการให้เกษตรกรในพื้นท่ีอพยพออกจากพื้นท่ีโดยจะจัดหาสถานที่ที่เหมาะสมให้ ซึ่งส่วนใหญ่เกษตรกรร้อยละ 72.50 ไม่มีความต้องการย้ายออกจากพื้นท่ี ร้อยละ 17.50 มีความต้องการ ยา้ ยออกจากพน้ื ท่ีไปอยใู่ นสถานทร่ี ฐั จัดให้ และสว่ นท่ีเหลือไมแ่ นใ่ จ 2) ความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานภาครัฐในการจัดทาเขตระบบอนุรักษ์ดินและน้า โดยเกษตรกร ในพ้ืนท่ีทุกคนเหน็ ดว้ ยทจ่ี ะมีหนว่ ยงานรัฐมาจัดทาเขตระบบอนรุ ักษ์ดนิ และนา้ ในพ้ืนท่ี 3) ปัญหาด้านการเกษตร เกษตรกรในสัดส่วนใกล้เคียงกันให้ข้อมูลทั้งมีและไม่มีปัญหาด้าน การเกษตร โดยเกษตรกรรอ้ ยละ 10.00 ไม่มีปญั หาด้านการเกษตร รอ้ ยละ 90.00 มีปัญหาด้านการเกษตร ปัญหาท่ีพบ ได้แก่ ฝนแล้ง ฝนท้ิงช่วง ศัตรูพืชรบกวน และบางส่วนมีปัญหาเรื่องผลผลิตลดลง และราคา ผลผลติ ตกตา่ ตารางที่ 3-15 ทศั นคติดา้ นการย้ายถ่นิ ฐาน และปญั หาดา้ นการเกษตรของเกษตรกรพื้นที่ลุ่มนา้ คลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด ปกี ารผลิต 2563 รายการ รอ้ ยละ 1) การย้ายถิน่ ฐาน (กรณที ี่คาดวา่ ในอนาคตจะเกดิ ดินถล่ม และทางรัฐต้องการพ้ืนท่ี 72.50 ใหอ้ พยพออกจากโดยทางจดั หาสถานท่ใี ห้) 17.50 10.00 (1) ไมม่ คี วามต้องการออกจากพ้นื ท่ี (2) มีความตอ้ งการออกจากพืน้ ท่ีไปอยู่ในสถานที่ทรี่ ฐั จดั ให้ - (3) ไมแ่ นใ่ จ 100.00 2) ความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐในการจดั ทาเขตระบบอนุรักษด์ นิ และน้า 10.00 (1) ไม่เหน็ ดว้ ย 90.00 (2) เห็นด้วย 61.11 3) ปญั หาดา้ นการเกษตร (1) ไม่มี 8.33 (2) มี 25.00 5.56 - ฝนแลง้ /ฝนทิ้งช่วง - ศตั รูพืชรบกวน - ราคาผลผลิตตกต่า - ผลผลติ ลดลง ท่ีมา: จากการสารวจ กล่มุ วางแผนการใชท้ ี่ดิน สานักงานพัฒนาทีด่ นิ เขต 2 (2563)
66 จากการรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ เพ่ือจัดทาแผนการใช้ท่ีดิน เพือ่ การป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม พ้นื ทล่ี ุ่มคลองแอ่งไดว้ ิเคราะห์ SWOT โดยศึกษาสภาพการณ์ภายในและภายนอก วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจากัด ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านนโยบาย เพ่ือนาไปใช้ในการกาหนดมาตรการที่ เหมาะสมและวางแผนบริหารโครงการ สรุปไดด้ ังนี้ 1. ด้านกายภาพ (ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม จดุ แข็ง (Strength) จดุ อ่อน (Weakness) - มีระบบลุ่มน้าย่อยท่ีสามารถบริหารจัดการ - พื้นท่มี ีการชะล้างพังทลายของดินสูง เชิงพ้ืนท่ีในแตล่ ะระดบั ได้ - ในบางพ้นื ท่ปี ระสบปญั หาการขาดแคลนนา้ - มีเส้นทางตอ่ เนอื่ งถึงลาน้าหลัก (ลมุ่ น้าแม่น้า - มตี ะกอนดนิ สะสมในพืน้ ท่ีแหล่งนา้ เมืองตราด) - ทรัพยากรดินส่วนใหญ่ของพ้ืนท่ีลุ่มน้า มี ศกั ยภาพในการทาเกษตรกรรม - มีแหล่งน้าธรรมชาติและแหล่งน้าท่ีสร้างข้ึน เพื่อให้เกษตรกรใช้ในการทาการเกษตร และ อปุ โภค บรโิ ภค และสามารถพัฒนาตอ่ ยอดได้ โอกาส (Opportunity) ปญั หา ( Threat ) - เปน็ นโยบายระดับประเทศในการการแก้ไข - ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม โดยเฉพาะ ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทรัพยากรดินท้ังจากภัยธรรมชาติและมนุษย์ (ด้านทรพั ยากรดนิ ) เนื่องจากการใช้ท่ีดินมาเป็นเวลานานปลูกพืช - มีทรัพยากรพ้ืนฐาน ได้แก่ ทรัพยากรดิน เชิงเด่ียวบางพื้นที่ไม่มีมาตรการการปรบั ปรุง บารุง แหล่งน้า และแหล่งท่องเที่ยว ที่เพียงพอที่จะ ดนิ นาไปสภู่ าคการผลิตหรือการพฒั นาตอ่ ไป - การบุกรุกพื้นที่ปา่ พืน้ ทีส่ าธารณะ ปญั หาการทับ ซอ้ นกันระหว่างพ้ืนที่ทากินของราษฎรเดิมกับพื้นท่ี เขตป่า -ปัญหาการเข้าทาลายผลผลิตทางการเกษตรของ ชา้ งป่า
67 2. ดา้ นสังคม จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) - เกษตรกรในพ้ืนที่ให้ความสนใจและมีส่วนรว่ มใน - ขาดแรงงานภาคการเกษตร การพฒั นาโครงการ - เกษตรกรส่วนใหญ่อยู่ในวัยสงู อายุ - เกษตรกรมคี วามร้จู ากภูมปิ ญั ญาชาวบา้ น ในการ - ระบบสาธารณปู โภค เชน่ ไฟฟา้ ระบบประปายัง หาแนวทางเพือ่ แก้ไขปัญหาและพัฒนาพืน้ ท่ี ไม่เพยี งพอกับความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ - มีการรวมกลุ่มเกษตรกรท่ีเข้มแข็ง และผู้นา เน่อื งจาก ขอ้ จากดั เรอ่ื งงบประมาณ ชมุ ชนมีความเขม้ แขง็ โอกาส (Opportunity) ปัญหา ( Threat ) - องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ใหค้ วามสาคัญใน - การขนส่งสินคา้ ทางการเกษตรเกิดความลา่ ช้าใน ด้านการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นตา่ ง ๆ บางพนื้ ท่ี เนอ่ื งจากการคมนาคมไม่สะดวกเส้นทาง - องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ มีการติดต่อ คมนาคมบางสว่ นชารดุ ประสานงานจากหน่วยงานอ่ืน ๆ มาดาเนินการ - องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีงบประมาณจากัด พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานเพื่อให้ครอบคลมุ ท่ัวถึงทุก จึงไม่สามารถพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานได้อย่าง หมู่บา้ น ซ่ึงได้กาหนดเป็นแผนงานไวช้ ัดเจน ท่วั ถึงภายในเวลาจากัด - ภาคเอกชนให้ความสนใจและเข้ารว่ มสนับสนนุ การแก้ไขปัญหาใหก้ บั ชุมชน 3. ด้านเศรษฐกิจ จุดแข็ง (Strength) จดุ อ่อน (Weakness) - เป็นชุมชนท่ีมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยู่ - พ้ืนที่ทาการเกษตรของเกษตรกรส่วนหนึ่งไม่มี แล้วพืชที่ปลูก ได้แก่ ยางพารา และไม้ผลผสม เอกสารสิทธ์ใิ นท่ดี นิ ทากนิ ต่างๆ การเข้าไปส่งเสริมหรือพัฒนาดา้ นตา่ ง ๆ ทา - พืชที่ปลูกส่วนหน่ึงได้รับความเสียหายเมื่อได้รับ ไดง้ า่ ยขน้ึ ผลกระทบจากภัยทางธรรมชาติ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความสาคัญใน - เกษตรกรบางส่วนขาดความเข้าใจในด้านการ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ด้านการประกอบอาชีพ พฒั นาทรัพยากรดิน พืช น้า และการตลาด การช่วยเหลือเกษตรกรด้านต่างๆการส่งเสริมการ รวมกลมุ่ - มีกลุ่มการผลิตต่าง ๆ อยู่แล้ว ท่ีสามารถพัฒนา ตอ่ ยอดให้มีความเข้มแขง็ ได้
68 โอกาส (Opportunity) ปญั หา ( Threat ) - นโยบายของรัฐบาลมุ่งเน้นการแก้ไขภาค - ราคาผลผลิต ราคาสินค้าเกษตรไม่แน่นอนทาให้ การเกษตรเพ่อื สรา้ งการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เกษตรกรไม่สามารถวางแผนการผลิตได้ ส่งผล - ยุทธศาสตร์จังหวัดตราด ให้ความสาคัญกับการ กระทบต่อรายได้และความเป็นอยู่ พัฒนาระบบตลาดและสินค้าเกษตรท่ีมีคุณภาพ - ปัจจัยการผลิตมีราคาแพง ส่งผลกระทบต่อ การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การเช่ือมโยงตลาด รายไดแ้ ละต้นทนุ การผลิตของเกษตรกร สินค้าเกษตรทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ - แผนปฏริ ูปประเทศด้านเศรษฐกจิ ให้ความสาคัญ กับการพัฒนาฟื้นฟูทรัพยากรดิน ที่เป็นพื้นฐาน สาคัญตอ่ การพฒั นาการผลิตภาคการเกษตร 4. ดา้ นนโยบาย จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) - กรมฯ ให้ความสาคัญในการคัดเลือกพื้นที่เป็น - ยังขาดการรับรู้ของหน่วยงานผู้ปฏิบัติงานใน ตน้ แบบในการบรหิ ารจดั การเชงิ พ้นื ทร่ี ะดบั ลมุ่ นา้ ระดบั พน้ื ที่ - กรมฯ กาหนดให้เป็นแผนปฏิบัติการโครงการ - ยังขาดการเช่ือมโยงงานด้านแผนงาน วิชาการ ระยะ 20 ปี และปฏิบตั กิ าร เพือ่ ขบั เคล่ือนงานสู่ระดับพื้นท่ี - หน่วยงานมีฐานข้อมูลเชิงวิชาการสนับสนุนการ วางแผนและกาหนดมาตรการในการแก้ไขปญั หา โอกาส (Opportunity) ปญั หา ( Threat ) - มีความสอดคล้องของยุทธศาสตรช์ าติยทุ ธศาสตร์ - แผนงาน/โครงการยังไม่สามารถสนับสนุนได้ ท่ี 5: ด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ท่ี ครอบคลุมทุกสภาพปัญหาของพ้ืนที่ เน่ืองจาก เป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม แผนแม่บท: การบรหิ าร ขอ้ จากดั ของงบประมาณ จดั การน้าทงั้ ระบบ - ขาดการติดตามและประเมินผลตามตัวช้ีวัดท่ี - อยู่ในแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ครอบคลุมทุกมิติ ทางกายภาพ สังคม และ 20 ปี ของสานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติด้านท่ี เศรษฐกิจ 5: การอนุรักษ์ฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมในพ้ืนท่ีดิน เสื่อมโทรมและชะลา้ งพงั ทลายของดิน - การดาเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกบั หลายหน่วยงาน จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็งกับโอกาสจุดแข็งกับข้อจากัดจุดอ่อนกับ โอกาสและจุดอ่อนกับข้อจากัด (TOWS matrix) ซ่ึงผลของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในข้อมูลแต่ละคู่
69 ดังกล่าวทาให้ได้แนวทางและมาตรการสาหรับการพัฒนาพ้ืนท่ีเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม เพ่ือเป็นแนวทางในการกาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า กาหนด แผนงาน/โครงการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดลาดับความสาคัญของปัญหาในการกาหนด แผนการดาเนนิ งาน และกลไกการขบั เคลอ่ื นแผนบริหารจัดการโครงการ ในลาดบั ถัดไป
70
71 4
72 4 เขตการใช้ที่ดินเป็นผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพการใช้ ที่ดินร่วมกับข้อกฎหมายท่ีเก่ียวข้องภายในพ้ืนท่ีโครงการฯ โดยการวิเคราะห์อยู่ภายใต้เง่ือนไขที่ต้องรักษา สภาพป่าไม้และระบบนิเวศของพ้ืนท่ีไว้ ร่วมกับการใชพ้ ื้นท่ีให้เหมาะสมกับศักยภาพของที่ดินตามประเภท การใช้ที่ดิน ภายใต้ข้อจากัดการใช้ที่ดินของภาครัฐ และต้องสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจสังคมของชุมชน ในพ้ืนท่ีตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการมีสว่ นร่วมของชุมชนและภาครฐั ในการพิจารณาจัดทา แผนการใช้ท่ีดินในพื้นท่ีโครงการฯ เพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์พ้ืนท่ีอย่างยั่งยืน และคงไว้ซ่ึงสมดุลของ ระบบนิเวศรวมทงั้ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในแงข่ องการฟืน้ ฟแู ละอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตใิ นพ้ืนทีโ่ ครงการฯ ตอ่ ไป จากการวิเคราะห์ฐานข้อมูลเพ่ือการพิจารณากาหนดเขตการใช้ท่ีดินในพื้นท่ี ลุ่มน้าคลองแอ่ง สามารถกาหนดเขตการใช้ท่ีดินในพ้ืนท่ี ได้เป็น 6 เขตหลัก คือ 1) เขตพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย 2) เขตเกษตรกรรม 3) เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 4) เขตแหล่งน้า 5) เขตพื้นท่ีคงสภาพป่าไม้นอกเขต ปา่ ตามกฎหมาย และ 6) เขตพื้นที่อืน่ ๆ (ตารางท่ี 4-1 และภาพท่ี 4-1) โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ เขตพ้ืนที่ป่าไม้ตามกฎหมายในพื้นท่ีโครงการฯ มีเนื้อท่ี 30,353 ไร่ หรือร้อยละ 35.76 ของเน้ือท่ี ท้ังหมด พ้ืนที่ในเขตน้ีเป็นบริเวณท่ีมีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย รวมถึงบริเวณที่มีมติ คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่ดิน พ้ืนท่ีเขตอุทยานแห่งชาติ พื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า หรือ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้นท่ี 1 และช้ันท่ี 2 และเม่ือพิจารณาตามวัตถุประสงค์หลักของการประกาศเขต ป่าไม้ ความเหมาะสมของท่ีดินต่อการทาเกษตรบนพื้นท่ีสงู ในด้านความลาดชันของพ้ืนท่ีและความลึกของ ดนิ สามารถกาหนดเขตการใช้ทดี่ นิ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ เขตนี้อยู่ในพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C) ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ หรือพ้ืนที่คุณภาพลุ่มน้าช้ันท่ี 1 และช้ันท่ี 2 โดยเขตน้ีกาหนดขึ้นเพ่ือให้คงสภาพเป็นป่าที่สมบูรณ์ ซ่งึ เป็น พื้นที่ที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมอย่างสูง เน่ืองจากเป็นพื้นที่ต้นน้า โดยบริเวณนี้มี ลักษณะเป็นผืนป่าขนาดใหญ่จึงมีความจาเป็นต้องสงวนรักษาพื้นที่ไว้เป็น ป่าของประเทศต่อไป เพ่ือ รักษาคุณภาพของพื้นที่ลุ่มน้าและเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร อีกท้ังเพ่ือป้องกันภัยธรรมชาติอันเน่ืองมาจาก
73 น้าทว่ ม และการพังทลายของดิน หรอื เพ่ือการอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม ดนิ น้า พนั ธพุ์ ืช พนั ธ์ุสัตว์ทม่ี ีคุณคา่ และหา ยาก ตลอดจนรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ เม่ือพิจารณาจากข้อมูลการสารวจสภาพการใช้ที่ดิน สามารถจาแนกออกเป็นพื้นที่ป่าสมบูรณ์ พื้นที่ป่ารอสภาพฟ้ืนฟู และพ้ืนท่ีที่มีการใช้ประโยชน์เพ่ือ การเกษตร ซ่ึงเปน็ พื้นทีร่ อการพิสจู น์สทิ ธิตามมติคณะรัฐมนตรี เมอื่ วนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2541 1) เขตคุ้มครองสภาพป่า (หน่วยแผนที่ 111) เขตนี้มีเนื้อท่ี 20,402 ไร่ หรือร้อยละ 24.03 ของเนอ้ื ทที่ ั้งหมด สภาพพ้นื ที่ปจั จบุ ันมีลักษณะเปน็ ป่าสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะการใชพ้ ้นื ท่ใี นเขตคมุ้ ครองสภาพปา่ จากการท่ีรัฐบาลมีนโยบายท่ีเด่นชัดในการรักษาพ้ืนที่ป่าไม้ โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นป่า สมบูรณ์ให้คงสภาพอยู่ เพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศภายในพื้นท่ีลุ่มน้า ดังน้ันในการใช้พื้นที่ ดังกลา่ วจึงควรดาเนนิ การ ดงั นี้ - ควบคุมมใิ หม้ กี ารเปลีย่ นแปลงสภาพป่าตามธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ในรปู แบบอ่นื - ควรมกี ารบารุงรักษาสภาพปา่ ธรรมชาตติ ามหลักวชิ าการ - ดาเนินการป้องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทาลายป่าให้มีประสิทธิภาพและมี การปฏิบตั ิอย่างตอ่ เน่อื ง รวมท้งั ดาเนนิ การกับผูก้ ระทาผดิ อยา่ งเดด็ ขาด - ถ้าบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในพื้นที่ควรรีบ ดาเนนิ การปลกู ป่าทดแทนโดยเรว็ และปอ้ งกันการบุกรุกเพม่ิ - ควรส่งเสริมให้ราษฎรในพ้ืนที่และพื้นท่ีข้างเคียงเห็นคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ และมี สว่ นร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ 2) เขตฟื้นฟูทรัพยากรป่าตามธรรมชาติ (หน่วยแผนท่ี 112) เขตนี้มีเนื้อท่ี 1,110 ไร่ หรือ ร้อยละ 1.31 ของเนื้อท่ีทั้งหมด พื้นท่ีในเขตน้ีปัจจุบันมีสภาพเป็นพื้นท่ีป่ารอสภาพฟ้ืนฟู และบางบริเวณมี การใช้ประโยชนเ์ พื่อการเกษตร ไดแ้ ก่ บรเิ วณทีม่ ีการปลกู ไมย้ นื ต้น และไม้ผล ข้อเสนอแนะการใชพ้ ืน้ ทใ่ี นเขตฟ้นื ฟูสภาพป่าธรรมชาติ - กาหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นท่ีในเขตนี้ เพื่อนา กลบั มาใชด้ ้านการเกษตรรวมทัง้ ป้องกันมิใหม้ ีการเปิดพน้ื ทปี่ ่าเพื่อทาการเกษตรเพิ่ม - ควรจัดทาแนวกันไฟเพ่ือป้องกันไฟป่าที่อาจเกิดข้ึนได้จากธรรมชาติหรือจากกิจกรรม ของมนษุ ย์ เพ่ือให้ป่าไม้มีการฟ้นื ตัวตามธรรมชาตทิ ่ีสมบรู ณ์ 3) เขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เง่ือนไข เขตน้ีมีเนื้อท่ี 2,663 ไร่ หรือร้อยละ 3.14 ของเน้อื ทท่ี งั้ หมด พ้นื ทใี่ นเขตน้ปี ัจจบุ นั เปน็ บรเิ วณทีม่ กี ารใช้ทด่ี ินเพ่อื การปลูกปาลม์ น้ามัน และยางพารา - เขตพื้นท่ีท่ีมกี ารใชท้ ่ีดนิ เพื่อการเกษตรที่มแี นวโนม้ ของการชะล้างพังทลายสูง (หนว่ ย แผนท่ี 1131) เขตนม้ี เี น้ือท่ี 469 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.55 ของเนอ้ื ที่ทัง้ หมด พ้นื ท่ีเขตนี้ปจั จบุ ันมกี ารใช้ท่ดี นิ เพื่อการปลกู ยางพารา และไม้ผล และเปน็ บริเวณซ่งึ มีความเสีย่ งตอ่ การชะล้างพังทลายในระดบั รุนแรงถึง รุนแรงมากที่สดุ
74 - เขตพ้ืนที่ที่มีการใช้ท่ีดินเพ่ือการเกษตรท่ีมีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายปานกลาง (หน่วยแผนท่ี 1132) มีเน้ือท่ี 1,780 ไร่ หรือร้อยละ 2.10 ของเนื้อท่ีทั้งหมด พื้นที่เขตน้ีปัจจุบันมีการใช้ ที่ดิน เพ่ือการปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน และยางพารา เป็นบริเวณซ่ึงมีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายใน ระดับปานกลางถึงรนุ แรง - เขตพ้ืนที่ที่มีการใช้ที่ดินเพ่ือการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายต่า (หน่วย แผนท่ี 1133) มีเนื้อที่ 414 ไร่ หรือร้อยละ 0.49 ของเนื้อท่ีทั้งหมด พื้นที่เขตน้ีปัจจุบันมีการใช้ที่ดินเพื่อ การปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน และยางพารา และเป็นบริเวณซ่ึงมีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายในระดับ น้อยถงึ ปานกลาง ข้อเสนอแนะการใช้พนื้ ทีใ่ นเขตฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาตภิ ายใต้เง่อื นไข - ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เร่ือง มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีดินป่าไม้ โดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี กาหนดให้กรมป่าไม้สารวจพื้นท่ีที่มีการ ครอบครองใหช้ ัดเจน - ให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 16 กันยายน 2540 เร่ือง แผนการจัดการทรัพยากรทีด่ นิ และปา่ ไมร้ ะดับพ้ืนท่ี เพ่ือใหเ้ กิดการบริหารจดั การทรัพยากรทดี่ ินและป่าไม้ อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาที่ย่ังยืน และสงวนรักษาไว้ซ่ึงทรัพยากรป่าไม้ท่ี เหลืออยู่รวมถึงฟื้นฟูป่าท่ีเสื่อมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้ ทรัพยากรในพืน้ ที่ - ควรเพมิ่ มาตรการในการอนุรักษ์ท่ีเข้มงวด จรงิ จงั และตอ่ เน่อื ง เพื่อคงสภาพป่าไม้ให้มีความ สมบูรณ์ โดยการพัฒนาดา้ นตา่ ง ๆ ต้องคานึงถึงความย่ังยืนของระบบนิเวศและผลกระทบต่อพื้นท่ีลุ่มนา้ ด้านล่าง โดยเฉพาะแนวทางจดั การใหพ้ ื้นทีป่ า่ ไมเ้ ป็นตัวควบคุมปริมาณนา้ ในลุม่ น้าในเวลาที่เหมาะสม เชน่ การสรา้ งฝายชะลอน้าในบรเิ วณท่เี หมาะสม - ควรเร่งปลูกป่าทดแทนและฟ้ืนฟูสภาพป่าเพ่ือรักษาระบบนิเวศลุ่มน้าบริเวณพื้นท่ีที่มี ความลาดชันสูง และพ้ืนท่ีเส่ียงต่อการชะล้างพังทลาย โดยเพิ่มมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าท่ีเหมาะสม เชน่ การปลกู หญ้าแฝกและสรา้ งฝายชะลอนา้ เปน็ ตน้ - ควรส่งเสริมและรณรงค์ให้ราษฎรในพ้ืนท่ีเห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้และมีส่วน ร่วมในการดูแลและบารุงรกั ษาผนื ป่าในพื้นทีร่ ว่ มกัน เขตน้ีอยู่ในพ้นื ทป่ี ่าเพ่ือเศรษฐกิจตามมติคณะรฐั มนตรี เรอื่ ง การจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรและท่ีดินป่าไม้ในพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติ วันท่ี 10 และ 17 มีนาคม 2535 ซึ่งพื้นที่ป่าเพื่อ เศรษฐกิจนี้ได้กาหนดไว้เพื่อการผลิตไม้และของป่า เพื่อการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ และประสานการ ใช้ประโยชนร์ ว่ มกนั ระหว่างทรพั ยากรป่าไมแ้ ละทรัพยากรธรรมชาติอ่ืน ๆ เพอ่ื ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
75 ความม่ันคงของชาติ และเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี โดยไม่รวมพื้นที่ปฏิรูปที่ดินที่ได้มีการ ประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกาแล้ว เมอ่ื พจิ ารณาจากข้อมูลการสารวจสภาพการใช้ท่ีดิน สามารถจาแนก ออกเป็นพ้ืนท่ีป่าสมบูรณ์ พื้นท่ีป่าเสื่อมรอสภาพฟื้นฟู และพ้ืนที่ที่มีการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร ซ่ึงเป็น พ้นื ท่ีรอการพิสูจนส์ ิทธติ ามมติคณะรัฐมนตรี เมอื่ วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 2541 1) เขตบารุงรกั ษาป่า (หน่วยแผนที่ 121) เขตนม้ี เี นอื้ ท่ี 2,622 ไร่ หรอื ร้อยละ 3.09 ของเน้ือ ทท่ี ั้งหมด สภาพพืน้ ที่ปจั จบุ ันมลี ักษณะเป็นป่าสมบรู ณ์ ขอ้ เสนอแนะการใชพ้ ื้นที่ในเขตบารุงรกั ษาป่า - ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เร่ือง มาตรการและแนวทางแกไ้ ขปัญหาที่ดินป่าไม้ โดยให้กรมป่าไม้สารวจพื้นทท่ี ่ีมีการครอบครองให้ชัดเจน - ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2540 เรื่อง แผนการจัดการทรัพยากรทดี่ ินและปา่ ไมร้ ะดับพ้ืนท่ี เพื่อให้เกดิ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรทดี่ ินและป่าไม้ อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาที่ย่ังยืน และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรป่าไม้ท่ี เหลืออยู่รวมถึงฟื้นฟปู ่าที่เส่ือมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปญั หาความขดั แย้งของการใชท้ รพั ยากรใน พ้ืนท่ี - ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพิ่มมาตรการจัดการป่าไม้และจัดการป่าชุมชนแบบผสมผสาน เพอื่ ให้ป่าคงอยู่และสามารถใชป้ ระโยชนด์ ้านตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาแนวกันไฟ เพื่อป้องกันไฟป่าท่ีอาจเกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรอื จากกจิ กรรมของมนษุ ย์ - รณรงคใ์ ห้ชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการดูแลและบารงุ รกั ษาผืนปา่ ในพนื้ ทร่ี ่วมกนั 2) เขตฟื้นฟูทรัพยากรป่าตามธรรมชาติ (หน่วยแผนที่ 122) เขตนี้มีเน้ือท่ี 804 ไร่ หรือร้อยละ 0.95 ของเนื้อที่ทั้งหมด พ้ืนท่ีในเขตนี้ปัจจุบันมีสภาพเป็นพ้ืนท่ีป่ารอสภาพฟ้ืนฟู และบางบริเวณมีการใช้ ประโยชน์เพ่ือการเกษตร ได้แก่ บริเวณที่มีการปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน มีข้อเสนอแนะการใช้พ้ืนที่ในเขต ฟน้ื ฟูสภาพป่าธรรมชาติ ดังนี้ - กาหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นท่ีในเขตน้ี เพื่อนา กลบั มาใชด้ ้านการเกษตรรวมทง้ั ป้องกันมใิ ห้มีการเปิดพนื้ ที่ปา่ เพือ่ ทาการเกษตรเพมิ่ - ควรจัดทาแนวกันไฟเพ่ือป้องกันไฟป่าท่ีอาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติหรือจากกิจกรรม ของมนษุ ย์ เพอื่ ใหป้ ่าไม้มกี ารฟ้ืนตัวตามธรรมชาติทีส่ มบรู ณ์ 3) เขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข เขตน้ีมีเนื้อที่ 2,752 ไร่ หรือร้อยละ 3.24 ของเนื้อท่ีทั้งหมด พื้นท่ีในเขตนี้ปัจจุบันเป็นบริเวณท่ีมีการใช้ท่ีดินเพื่อการปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน และ ยางพารา - เขตพ้ืนท่ที ่ีมกี ารใชท้ ี่ดินเพื่อการเกษตรท่มี ีแนวโนม้ ของการชะลา้ งพงั ทลายสงู (หนว่ ย แผนท่ี 1231) เขตน้ีมเี นื้อท่ี 328 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.39 ของเนอ้ื ทโ่ี ครงการฯ พ้ืนที่เขตนป้ี จั จุบันมกี ารใช้
76 ท่ดี นิ เพ่ือการปลูกไมผ้ ล ปาล์มน้ามนั และยางพารา และเป็นบริเวณซึง่ มคี วามเส่ียงตอ่ การชะล้างพงั ทลาย ในระดับรุนแรงถึงรนุ แรงมากทสี่ ุด - เขตพ้ืนท่ีท่ีมีการใช้ท่ีดินเพื่อการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายปานกลาง (หน่วยแผนท่ี 1232) มีเน้ือท่ี 1,685 ไร่ หรือร้อยละ 1.98 ของเนื้อท่ีท้ังหมด พ้ืนท่ีเขตน้ีปัจจุบันมีการใช้ ที่ดิน เพ่ือการปลกู ไมผ้ ล ปาล์มนา้ มัน และยางพารา และเปน็ บรเิ วณซึ่งมีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลาย ในระดบั ปานกลางถงึ รนุ แรง - เขตพื้นที่ท่ีมีการใช้ท่ีดินเพ่ือการเกษตรที่มีแนวโน้มของการชะล้างพังทลายต่า (หน่วย แผนท่ี 1233) มีเน้ือท่ี 739 ไร่ หรือร้อยละ 0.87 ของเน้ือท่ีท้ังหมด พื้นท่ีเขตน้ีปัจจุบันมีการใช้ที่ดินเพ่ือ การปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน และยางพารา และเป็นบริเวณซ่ึงมีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายในระดับ นอ้ ยถึงปานกลาง ขอ้ เสนอแนะการใช้พน้ื ท่ีในเขตฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาตภิ ายใต้เง่ือนไข ดังน้ี - ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 30 มิถุนายน 2541 เร่ือง มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดินป่าไม้ โดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ และพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี กาหนดให้กรมป่าไม้สารวจพื้นท่ีที่มีการ ครอบครองให้ชดั เจน - ให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 16 กันยายน 2540 เร่ือง แผนการจัดการทรพั ยากรที่ดินและป่าไมร้ ะดับพ้ืนท่ี เพือ่ ใหเ้ กิดการบริหารจดั การทรัพยากรท่ดี ินและป่าไม้ อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาท่ียั่งยืน และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรป่าไม้ที่ เหลืออยู่รวมถึงฟ้ืนฟูป่าที่เส่ือมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้ ทรพั ยากรในพื้นท่ี - ควรเพิ่มมาตรการในการอนุรักษ์ท่ีเข้มงวด จริงจังและตอ่ เนอื่ ง เพือ่ คงสภาพป่าไม้ให้มีความ สมบูรณ์ โดยการพัฒนาด้านตา่ งๆ ต้องคานึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศและผลกระทบต่อพื้นที่ลุ่มนา้ ด้านล่าง โดยเฉพาะแนวทางจดั การใหพ้ น้ื ที่ปา่ ไม้เป็นตัวควบคุมปริมาณน้าในลมุ่ น้าในเวลาท่ีเหมาะสม เชน่ การสรา้ งฝายชะลอนา้ ในบริเวณทีเ่ หมาะสม - ควรเร่งปลูกป่าทดแทนและฟื้นฟูสภาพป่าเพ่ือรักษาระบบนิเวศลุ่มน้าบริเวณพ้ืนที่ท่ีมี ความลาดชันสูง และพ้ืนที่เส่ียงต่อการชะล้างพังทลาย โดยเพิ่มมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าท่ีเหมาะสม เชน่ การปลกู หญ้าแฝกและสร้างฝายชะลอน้า เป็นตน้ - ควรส่งเสริมและรณรงค์ให้ราษฎรในพื้นท่ีเห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้และมีส่วน รว่ มในการดูแลและบารงุ รกั ษาผนื ปา่ ในพื้นท่รี ่วมกนั
77 มีเน้ือทปี่ ระมาณ 45,886 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 54.05 ของเนอ้ื ทท่ี งั้ หมด พืน้ ท่ใี นเขตนอ้ี ยู่นอกเขตท่ีมีการ ประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย ซ่ึงเป็นพื้นท่ีทากินมีการออกเอกสารสิทธ์ิ (โฉนด สปก.) และจากการ พจิ ารณาสามารถแบ่งพนื้ ทต่ี ามความเหมาะสมของทด่ี นิ และศักยภาพของพืน้ ที่ไดเ้ ปน็ 7 เขตย่อย ดงั น้ี มีเนื้อท่ีประมาณ 59 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของเนื้อที่ท้ังหมด พ้ืนท่ีเขตน้ีมีการใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ในสภาพพื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ มีข้อเสนอแนะใน การใชพ้ ้ืนท่ีเขตฟ้ืนฟูสภาพพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเพ่ือการรักษาระบบนิเวศต้นนา้ ดงั น้ี - ภาครัฐควรกาหนดเป้าหมายในการควบคุมการใช้พื้นที่ในเขตดังกล่าวรวมถึงรณรงค์ให้มี การใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือการปลูกป่าหรือระบบวนเกษตร และส่งเสริมมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าท่ี เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี - ส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยและสารปราบศัตรูพืชท่ีเป็นชวี ภาพทดแทนการใช้สารเคมี เน่ืองจาก สารเคมีจะตกค้างในดินและแหล่งน้า และจะสง่ ผลต่อระบบนิเวศของพื้นท่ปี ลายนา้ มีเนื้อท่ปี ระมาณ 795 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 0.94 ของเนือ้ ท่ีทัง้ หมด พื้นท่เี ขตนี้มี การใช้ท่ีดินเพื่อการปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน และยางพารา ในสภาพพ้ืนท่ีมีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์ มี ข้อเสนอแนะในการใช้พ้ืนท่ีเขตพ้ืนที่เกษตรกรรมท่ีต้องเร่งรัดดาเนินการจัดทาระบบอนุรักษ์ดินและน้า ดังน้ี - ในบริเวณพ้ืนท่ีมีความลาดชันสูง และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย ควรจัดทาระบบอนุรกั ษ์ ดินและน้า เช่น การปลูกไม้ยืนต้นร่วมกับหญ้าแฝกขวางความลาดเทบนแนวคันดิน ทาอาคารชะลอ ความเร็วน้าร่วมกับการใช้หญ้าแฝก ฝายชะลอน้า คันดินเบนน้า คูรับน้ารอบขอบเขา เพ่ือป้องกันการชะ ล้างพังทลายของดิน และช่วยเก็บความชื้นไว้ในดิน รวมทั้งมีการจัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับ สภาพพืน้ ท่ี และบารุงดนิ ดว้ ยปุ๋ยหมักหรือปุย๋ คอก เพ่ือเพม่ิ อนิ ทรยี วัตถุใหด้ ิน - ในกรณีที่เป็นดินดีหรือดินลึก ควรทาเป็นคันดินสาหรับปลูกพืชล้มลุกท่ีมีมูลค่าทาง เศรษฐกจิ สงู หรอื ถ้ามกี ารปลูกไมย้ ืนตน้ ควรปลกู พชื คลุมดินร่วมด้วย - ในกรณีท่ีเป็นดินตื้นไม่ควรปลูกพืชไร่หรือพืชล้มลุก ควรปลูกไม้ยืนต้นขวางความลาดเทของ พื้นที่ และปลูกพืชคลุมดินระหว่างต้นพืช และควรทาคันคูรอบเขาเพื่อระบายน้า ในกรณที ่ีปลูกไม้ยืนต้น และตอ้ งการปลูกพชื แซมระหว่างแถวก่อนไมย้ นื ต้นโตนน้ั ไม่ควรมีการไถพรวน เนือ่ งจากพื้นท่ีมีความลาดชัน สูงทาใหเ้ กดิ การสญู เสยี หน้าดนิ ไดง้ ่าย มีเนื้อที่ประมาณ 14,184 ไร่ หรือร้อยละ 16.71 ของเน้ือที่ทั้งหมด พื้นที่เขต
78 น้ีมีการใช้ที่ดินเพ่ือการปลูกไม้ผล ปาล์มน้ามัน และยางพารา ในสภาพพ้ืนท่ีมีความลาดชัน 12-35 เปอร์เซน็ ต์ มีข้อเสนอแนะในการใช้พ้ืนท่ีเขตพื้นท่ีเกษตรกรรมท่ีควรส่งเสริมมาตรการในการอนุรักษ์ดิน และน้า โดยในบริเวณพ้ืนท่ีทมี่ ีความลาดชันสงู และเส่ียงตอ่ การชะลา้ งพังทลายควรจัดทาระบบอนรุ ักษ์ดิน และน้า โดยใช้ระบบพืชในการอนุรักษ์ดินและน้า เช่น การปลูกแถบหญ้าแฝก ปลูกพืชสลับเป็นแถบ หรือ ปลูกพืชคลุมดิน เพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และช่วยเก็บความช้ืนไว้ในดิน รวมทั้งมีการ จัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี และบารุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก เพ่ือเพิ่ม อินทรยี วตั ถุให้ดนิ มีเนื้อท่ีประมาณ 26,629 ไร่ หรือร้อยละ 34.90 ของเน้ือที่ทั้งหมด พื้นที่เขตน้ีมีการใชท้ ี่ดิน เพ่ือการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ในสภาพพ้ืนที่มีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ มี ขอ้ เสนอแนะในการใชพ้ ้ืนทเ่ี ขตพ้นื ทเ่ี กษตรกรรมมีความลาดชันนอ้ ยกว่า 12 เปอรเ์ ซน็ ต์ ดังน้ี - ควรทาคันดินเบนน้าเพ่ือป้องกันน้าทจี่ ะไหลบา่ เข้ามาจากพ้ืนทดี่ ้านนอก ซง่ึ อาจจะทาความ เสยี หายใหแ้ ก่พชื ในพน้ื ท่ีได้ และยงั ชว่ ยลดการชะล้างพังทลายของดิน และอาจต้องทาทางระบายนา้ ออกจาก พนื้ ท่แี ตถ่ า้ มีทางน้าธรรมชาติอยู่แล้วควรรักษาให้อยูใ่ นสภาพดี - ควรจัดระบบปลูกพืชให้เหมาะสมโดยการไถพรวน และปลูกพชื ขวางความลาดเท และควรจัด ให้มีพืชขึ้นปกคลุมหน้าดินตลอดทั้งปี สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้า เน้นการทา การเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลายชนิดทั้งไม้ผล ไม้ยืน ตน้ พืชไร่ และพชื ผกั - พัฒนากระบวนการผลิตไม้ผล ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสารพิษ เพิ่มศักยภาพการผลิตโดย ปรบั ปรุงโครงสร้างของดนิ ด้วยการปลูกพืชตระกลู ถัว่ ในพ้ืนท่ี เพ่ือเพม่ิ อนิ ทรียวัตถุแก่ดิน ส่งเสรมิ การใช้ปุ๋ย อินทรีย์ และผลิตภณั ฑ์เทคโนโลยีชวี ภาพทดแทนการใช้ปุย๋ เคมีและสารเคมี มีเนอ้ื ท่ีประมาณ 429 ไร่ หรือร้อยละ 0.50 ของเน้ือท่ีท้ังหมด ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการทานา ดินท่ี พบในบริเวณน่ีเป็นดินลึก มีการระบายน้าดีปานกลางถึงเลว และมีการทาคันนา ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ตามธรรมชาตติ า่ ส่วนใหญ่แหล่งนา้ ในเขตน้ีพอเพียงสาหรับการเพาะปลูกตลอดปี มีขอ้ เสนอแนะในการใช้ พืน้ ทเ่ี ขตพน้ื ท่เี กษตรกรรมที่มกี ารทานา ดังน้ี - ควรมีการปรับพ้ืนท่ีในแปลงนา เพื่อรักษาระดับการขังของน้าให้เหมาะสมในระยะท่ีข้าว เจรญิ เตบิ โต - ควรปรับปรุงบารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด เพ่ือช่วย ปรับปรุงโครงสร้างของดินและเพ่ิมธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์สาหรับพืช ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีในอัตราส่วนที่ เหมาะสม
79 - เนื่องจากในบางพ้ืนท่ีท่ีมีสภาพพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมกับการทานา อาจมีการปรับพ้ืนที่โดยการ ปรับรูปแปลงนาในลักษณะท่ี 3 (ยกร่อง) เพ่ือให้สามารถปลูกพืชได้หลากหลายและเหมาะสมกับพื้นที่มาก ขึน้ มีเนื้อที่ประมาณ 768 ไร่ หรอื ร้อยละ 0.90 ของเนือ้ ที่ท้ังหมด โดยปัจจุบันมสี ภาพเปน็ ทุง่ หญา้ ตามธรรมชาติหรือทุ่งหญ้าและไมล้ ะเมาะ มีเน้ือที่ประมาณ 22 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อท่ีทั้งหมด โดยปจั จบุ นั มีสภาพเป็นสถานทีเ่ พาะเลยี้ งปลา และสถานทเ่ี พาะเล้ียงสัตว์นา้ ผสม มีเนื้อที่รวมประมาณ 2,824 ไร่ หรือร้อยละ 3.33 ของเน้ือท่ีทั้งหมด ประกอบด้วย ชุมชน ระบบ โครงข่ายคมนาคม โรงงานอตุ สาหกรรม และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ มีเน้ือที่รวมประมาณ 1,913 ไร่ หรือร้อยละ 2.25 ของเน้ือที่ท้ังหมด ได้แก่ แหล่งน้าธรรมชาติ และ แหล่งน้าทมี่ นษุ ย์สร้างขนึ้ มีเนื้อที่ประมาณ 3,301 ไร่ หรือร้อยละ 3.89 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นท่ีในเขตน้ีมีสภาพเป็นป่า ค่อนข้างสมบูรณ์แต่อย่นู อกเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีความลาดชนั ค่อนข้างมาก รวมถึง พ้ืนทีด่ นิ ตนื้ มีกรวดหนิ ปะปนมาก พื้นท่ีในเขตนีก้ ระจายตัวอยเู่ ป็นหย่อม ๆ ตอ่ จากเขตปา่ สงวนแห่งชาติ ซงึ่ ควรรกั ษาพื้นท่ีไวใ้ ช้ประโยชนร์ ว่ มกนั หรือจัดทาเปน็ ปา่ ชุมชน ข้อเสนอแนะในการใช้พนื้ ทเ่ี ขตพืน้ ทคี่ งสภาพป่าไมน้ อกเขตป่าตามกฎหมาย - ควรมกี ารใช้ประโยชน์พ้นื ที่โดยปลูกไมโ้ ตเรว็ และยดึ หลกั การใช้ท่ดี ินแบบผสมผสานระหว่างป่าไม้ กบั การเกษตร - ควรป้องกันและรักษาสภาพป่าไม้ให้คงความสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพ โดยให้ ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในการจดั การ เพอื่ ใหม้ ีการใชป้ ระโยชน์จากไมแ้ ละของปา่ ร่วมกันอย่างพอเพยี งและย่งั ยนื มีเนื้อที่ประมาณ 613 ไร่ หรือร้อยละ 0.72 ของเน้ือท่ีท้ังหมด โดยปัจจุบันมีสภาพเป็นพ้ืนที่ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ และพนื้ ท่ดี ัดแปลง เชน่ พื้นท่ีถม พ้ืนท่ีลุ่ม
80 ตารางท่ี 4-1 แผนการใช้ท่ดี ินเพ่ือการอนุรกั ษด์ ินและน้าในพื้นท่ีล่มุ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด
81 ภาพท่ี 4-1 แผนการใชท้ ีด่ นิ เพอื่ การอนุรักษ์ดนิ และน้าในพ้ืนที่ล่มุ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด
ตารางที่ 4-2 สรุปแนวทางแผนการใชท้ ี่ดนิ เพื่อการอนุรกั ษด์ ินและนา้ ในพ้นื ที่ล่มุ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด 82
ตารางที่ 4-2 สรุปแนวทางแผนการใชท้ ่ดี ินเพ่อื การอนรุ ักษด์ นิ และนา้ ในพ้นื ที่ล่มุ นา้ คลองแอ่งอาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด (ตอ่ ) 83
ตารางที่ 4-2 สรุปแนวทางแผนการใชท้ ่ดี ินเพ่อื การอนรุ ักษด์ นิ และนา้ ในพ้นื ที่ล่มุ นา้ คลองแอ่งอาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด (ตอ่ ) 84
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145