Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกเสริมทักษะ การแต่งร่ายสุภาพ

แบบฝึกเสริมทักษะ การแต่งร่ายสุภาพ

Published by tantawan wanmanee, 2023-02-17 09:00:06

Description: นางสาวทานตะวัน แว่นมณี

Search

Read the Text Version



ก คำนำ แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งร่ายสุภาพ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 จัดทาข้ึนเพื่อประกอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการแต่งบทร้อยกรองประเภทร่ายสุภาพ ให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องบทร้อยกรอง เกิดความภาคภูมิใจใ นภาษาไทย สามารถเรียงร้อยถ้อยคา สร้างสรรค์วรรณศิลป์ให้มีความไพเราะ เลือกสรรคาได้สละสลวยและถูกต้องเหมาะสม เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ตามวิธีการและลาดับขั้นของแบบฝึกเสริมทักษะ ผู้จัดทาได้ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2565 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หลักสูตรสถานศึกษา และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเว็บไซต์ต่าง ๆ เพ่ือนาความรู้มาใช้ในการจัดทาแบบฝึกทักษะให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงจะส่งผลให้นักเรียนสามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนส่งผลให้มี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในรายวิชาภาษาไทยสูงขึ้น หวังเปน็ อย่างย่งิ วา่ แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งร่ายสภุ าพเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรยี นในการแต่ง บทร้อยกรอง ประเภ ทร่ายสุภ าพ ตามสม คว ร และเป็นแนว ทางสาหรับครูผู้สอนนาไปใช้ ในการจัดการเรยี นรใู้ ห้เกิดผลดกี บั นักเรยี นตอ่ ไป ทานตะวัน แวน่ มณี

สำรบัญ ข เรอื่ ง หนำ้ คานา ก สารบญั ข คาชแี้ จงการใช้แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการแต่งรา่ ยสภุ าพ 1 คาแนะนาการใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะสาหรบั นักเรียน 2 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด/จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ ง การแตง่ รา่ ยสุภาพ 4 กจิ กรรมที่ 1 “คุยเฟอ่ื งเรอ่ื งร่าย” 10 กจิ กรรมที่ 2 “สมั ผสั สระ สัมผัสอักษร สะท้อนเสนห่ แ์ ห่งภาษา” 17 กจิ กรรมที่ 3 “สัมผสั นอก สมั ผสั ใน บอกคุณคา่ ภาษาศิลป์” 20 กจิ กรรมท่ี 4 “เนือ้ ความรอ้ ยรัดจัดวรรคร่ายสภุ าพ” 23 กจิ กรรมท่ี 5 “ฝึกจดจา คาสุภาพ” 25 กิจกรรมที่ 6 “ภาพพจน์แหง่ คา เลิศล้าโวหาร” 27 กิจกรรมที่ 7 “แตกกอความคิด เนรมิตเนอ้ื หา” 30 กจิ กรรมที่ 8 “เช่อื มโยงความคิด ประดิษฐร์ ่ายสุภาพ” 32 กิจกรรมที่ 9 “คิดเนื้อหา ว่าโครงรา่ ง สร้างเปน็ เรอ่ื ง ” 34 กิจกรรมที่ 10 “คิดสร้างสรรค์สงู่ านวรรณศลิ ป์” 37 แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง การแต่งร่ายสุภาพ 39 เฉลยแบบฝึกเสรมิ ทักษะ เรื่อง การแต่งรา่ ยสภุ าพ 44 พ้ืนที่บนั ทึก 59 บรรณานกุ รม ค

3 คำชีแ้ จงกำรใช้แบบฝกึ เสริมทักษะกำรแต่งรำ่ ยสภุ ำพ แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งร่ายสุภาพ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 จัดทาขึ้นเพ่ือประกอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 32102 และพัฒนาทักษะการแต่งบทร้อยกรอง ประเภทร่ายสุภาพ ให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองบทร้อยกรอง เกิดความภาคภูมิใจในภาษาไทย สามารถเรียงร้อยถ้อยคาสร้างสรรค์วรรณศลิ ป์ให้มคี วามไพเราะ เลอื กสรรคาได้สละสลวยและถูกตอ้ งเหมาะสม เพอ่ื พฒั นาการเรยี นร้ตู ามวิธีการและลาดับขนั้ ของแบบฝึกเสริมทักษะ ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ กำรจัดทำแบบฝกึ ทกั ษะ 1. ศึกษาปัญหาและข้อบกพร่องของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน นามาวิเคราะห์สาเหตุ หาแนวทางแกป้ ัญหา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม PLC 2. ศึกษาเอกสารและเว็บไซตต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 3. กาหนดรูปแบบของแบบฝึก 4. จัดทาแบบฝึก 5. นาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรยี น เน้ือหำของแบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะการแต่งคาประพันธป์ ระเภทร่ายสุภาพ ประกอบด้วย ใบความรู้และแบบฝึกทักษะย่อย จานวน 10 แบบฝกึ ดังน้ี กจิ กรรมท่ี 1 “คุยเฟอ่ื งเรื่องรา่ ย” กจิ กรรมที่ 2 “สมั ผสั สระ สมั ผัสอักษร สะท้อนเสนห่ ์แห่งภาษา” กิจกรรมท่ี 3 “สัมผัสนอก สัมผสั ใน บอกคณุ ค่าภาษาศิลป์” กิจกรรมท่ี 4 “เน้ือความร้อยรัดจัดวรรคร่ายสุภาพ” กจิ กรรมท่ี 5 “ฝึกจดจา คาสุภาพ” กจิ กรรมที่ 6 “ภาพพจนแ์ ห่งคา เลศิ ลา้ โวหาร” กจิ กรรมที่ 7 “แตกกอความคิด เนรมติ เน้อื หา” กิจกรรมที่ 8 “เช่อื มโยงความคดิ ประดิษฐ์ร่ายสุภาพ” กิจกรรมที่ 9 “คิดเนอื้ หา วา่ โครงร่าง สรา้ งเป็นเรอื่ ง ” กิจกรรมที่ 10 “คดิ สร้างสรรค์สูง่ านวรรณศลิ ป์”

4 คำแนะนำกำรใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทกั ษะสำหรับนกั เรยี น แบบฝึกเสริมทักษะชุดนี้ ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมย่อยจานวน 10 กิจกรรม และแบบทดสอบหลงั เรยี น เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลดี ดังน้ันนักเรียนควรปฏิบตั ิตามข้ันตอน ดงั น้ี 1. ศึกษาคาชแี้ จง และคาแนะนาการใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะสาหรบั นกั เรียนให้เข้าใจ 2. ศึกษาเน้ือหาการแตง่ คาประพันธป์ ระเภทรา่ ยสุภาพด้วยตนเอง 3. ทาแบบฝกึ ทกั ษะตามลาดับทีละแบบฝึกทักษะจนครบ 4. ตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่มเพื่อทราบผลในการเรียน สำหรบั ครูผสู้ อน

5 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด สำระท่ี 4 หลักกำรใช้ภำษำไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ ตัวขว้ี ัด ท 4.1 ม.4-6/4 แต่งบทรอ้ ยกรอง จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ 1. นกั เรียนสามารถบอกลกั ษณะทั่วไปของคาประพันธ์ประเภทร่ายได้ 2. นกั เรยี นสามารถบอกลักษณะบงั คับของคาประพนั ธป์ ระเภทร่ายสุภาพได้ 3. นกั เรียนสามารถเขียนแผนผังของคาประพันธป์ ระเภทรา่ ยสภุ าพได้ 4. นักเรียนสามารถแตง่ คาประพันธป์ ระเภทร่ายสภุ าพไดถ้ กู ต้อง

6

7 แบบทดสอบก่อนเรียน เร่อื ง กำรแต่งรำ่ ยสุภำพ 1. ข้อใดคือคำจำกดั ควำมของ \"ร่ำย\" ก. คาประพันธ์ชนิดหน่ึงทบี่ ังคับรปู วรรณยุกต์ เอก-โท และบังคับสัมผสั ข. คาประพนั ธ์ชนิดหนงึ่ ซงึ่ มกี ารกาหนด คณะ พยางค์ จานวนคา และสัมผัสคลา้ ยกับฉันท์ ค. ลักษณะถ้อยคาท่ีกวีได้ร้อยกรองขึ้นเพ่ือใหเ้ กิดความไพเราะ ซาบซ้งึ โดยบงั คบั เสยี งหนัก-เบา ของพยางค์ ง. คาประพันธ์ชนิดหนึ่งที่มีบังคบั สมั ผัสและการลงท้าย แต่ไมก่ าหนดวา่ จะต้องแตง่ กีบ่ ท หรือกบี่ าทยาวเท่าไรก็ ได้จนจบเนือ้ ความ แต่ต้องเรยี งคาให้คล้องจองกนั 2. คำสุภำพที่นำมำใช้ในกำรแต่งร่ำยสุภำพมีลักษณะตรงตำมขอ้ ใด ก. เป็นคาที่ไพเราะ ข. เป็นคากง่ึ ราชาศัพท์ ค. เปน็ คาทไี่ ม่มีรูปวรรณยกุ ต์ ง. เป็นคาภาษาไทยแท้เทา่ น้นั 3. รำ่ ยสภุ ำพ บงั คับวรรคละกค่ี ำ ง. 9 คาข้ึนไปแตไ่ มเ่ กนิ 12 คา ก. 5 คา ข. 6 คา ค. 3 - 4 คา 4. คำประพนั ธ์ในขอ้ ใดนำ่ จะเปน็ บทจบของร่ำยสภุ ำพมำกทสี่ ดุ ก. สา่ พลไกรเกริกหาญ ส่าพลสารสนิ ธพ สบสาตราศรเพลิง เถลิงพระเกียรติฟุ้งฟา้ ลือตรลบแหล่งหล้า โลกล้วนสดุดี ข. ครนั้ ทา่ นได้หยบิ เสวย แลนา บ นานเลยลอราช แลนา ใจจะขาดรอนรอน แลนา ถงึ สามสมรพี่น้อง คิด บ ลุเลยขอ้ ง ขุนแค้นอาดูร ค. ให้ลายลักษณวราบปุ ผาชาตพิ เิ ศษ เกดิ ปรากฏในอรุ ะประเทศแห่งขา้ พระบาท สมเดจ็ พระโลกนาถกต็ รัส อนโุ มทนา โดยบทพระคาถาด่ังน้ี ง. จงปรากฏชอบแลว้ อยา่ ได้แคล้วราพงึ คานึงอย่ารู้มลาย จงอยา่ หายยศพ่อ ต่อม้วยฟา้ ม้วยสวรรค์ กลั ป์ประลยั อยรู่ ู้ลาญ ภบู าลเจา้ จงจา ตามคาแม่โอวาท 5. ขอ้ ใดเป็นลักษณะบังคบั เอก – โท ของโคลงสองสภุ ำพ ก. 2 หลงั 2 5 2 หนา้ ข. 2 หน้า 2 5 2 หลัง ค. 2 หลงั 2 5 2 หลงั ง. 2 หน้า 2 5 2 หนา้

8 6. โคลงสองสภุ ำพตอ่ ไปนขี้ ้อใด ถูกตอ้ งตำมฉนั ทลกั ษณ์ ก. โคลงสองตอ้ งลองแต่ง อย่าแกว่งหาเท้าเสีย้ น ย่อมช้าใจนา ข. คาประพันธ์ท่านนี้ สอนส่งั ตง้ั ม่ันช้ี ยอ่ มแล้วเสรจ็ ทนั เวลา ค. เราเรียนการแต่งแล้ว จงหม่ันฝึกไม่แคล้ว เพม่ิ แต้มเต็มนา เพอื่ นเอย ง. เป็นสาวสะพรั่งพรมิ้ หน้าตาจิ้มลิ้มจัง ทาตวั อยากเดน่ ดัง ระวังพบฝ่ายปกครอง 7. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะบังคับพ้ืนฐำนของคำประพนั ธ์ทุกชนิด ก. คานา คาสรอ้ ย ข. คณะ สัมผสั ค. ครุ ลหุ คาเอก คาโท ง. คาเปน็ คาตาย เสียงวรรณยุกต์ 8. ขอ้ ใดแตง่ ด้วยคำประพนั ธ์ประเภทโคลงสองสภุ ำพ ก. ใครปรานหี น่ึงบ้าง เชญิ นุชมาแนบข้าง ช่วยชชี้ วนชม พฤกษนา ข. ขุนงามอยู่ไกลกัน บ ทันนดั กนั ได้ สองแม่ถามไจไ้ จ้ สะทืน้ สะเทินไปมา ค. อันหมูอ่ สุรา เคยแพ้มาก่อนไซร้ จงกลบั ชานะได้ ดัง่ ถวิล แน่เทอญ ฯ ง. อนั บรมราชผู้ เป็นหรสิ ิรู้ อุบาย จงผันผายและเฝ้า วอนพระวษิ ณเุ จา้ หริพลัน เถดิ นา ฯ 9. คำประพันธใ์ นข้อใดท่เี หมำะสมที่สุดในกำรเติมลงในรำ่ ยตอ่ ไปนี้ \"สรวมสวัสดิชัย ................เกียรตปิ รำกฏขจรขจำย สบำยท่วั แหล่งหลำ้ ฝนฟ้ำชุ่มฉำ่ ชล\" ก. นครศรีอยธุ เยศ ข. ฝอ่ ใจหา้ วบมหิ าญ ค. เกริกกรุงไกรเกรยี งยศ ง. เบิกพระยศทศธรรเมศ 10. คำทม่ี รี ูปวรรณยกุ ตใ์ ดไม่นิยมนำมำใชใ้ นกำรแตง่ ร่ำยสภุ ำพ ก. คาท่มี ีรปู วรรณยุกตเ์ อก ข. คาทม่ี ีรปู วรรณยกุ ต์โท ค. คาท่ไี ม่มรี ปู วรรณยุกต์ ง. คาทม่ี ีรปู วรรณยกุ ต์ตรแี ละจตั วา 11. ในบรรดำรำ่ ยท้ังหมดในวรรณกรรมไทย รำ่ ยชนิดใดนิยมแตง่ กนั แพร่หลำยมำจนถึงปจั จุบนั น้ี ก. ร่ายด้ัน ข. รา่ ยยาว ค. รา่ ยสุภาพ ง. รา่ ยโบราณ

9 12. กวใี ชค้ ำประพนั ธป์ ระเภทร่ำยในกำรแตง่ ลลิ ิตตะเลงพำ่ ยเมื่อใด ก. เม่อื ต้องการพรรณนาถงึ การยกทพั ต่อสู้ ข. เม่ือต้องการดาเนินเรือ่ งให้รวดเรว็ ค. เมอื่ ต้องการจะบรรยายเร่ืองดว้ ยความไพเราะ ง. เมือ่ ต้องการใหเ้ กิดภาพพจน์เป็นบางครัง้ บางคราว 13. ข้อใดกล่ำวถึงลักษณะของรำ่ ยไดถ้ กู ต้อง ข. ร่ายหน่ึงบทมี 4 วรรค ก. รา่ ยบงั คบั คาครุ ลหุ ง. ร่ายมลี ักษณะคลา้ ยกบั โคลงสี่สุภาพ ค. ร่ายบงั คบั สัมผัสคลอ้ งจองกนั ทุกวรรค 14. ควรใช้วรรคใดต่อจำกวรรคทก่ี ำหนดให้จงึ จะถูกต้องตำมขอ้ บงั คบั ของร่ำยสภุ ำพ \"ลกู ธัญรตั น์ลอื นำม …………..” ก. เดน่ ดงั ช่ือก้องไกล ข. นามน้มี ีท่มี า ค. รอยยิ้มเสริมความงาม ง. ยามเรยี นบ่เคยท้อ 15. ข้อใดแต่งโดยใช้ศลิ ปะกำรสรรคำ สัมผสั ใน และโวหำรภำพพจน์ ก. พระคุณแม่มากมี จงทาดเี พ่ือท่าน ข. พระคุณแม่มากล้น เป็นลน้ พ้นมากยง่ิ ค. พระคุณแม่ยิ่งล้า บญุ คณุ ค้าเหนือเกลา้ ง. พระคุณแม่เทยี บฟา้ ทว่ั หล้าฟ้ารายรอบ 16. บทประพันธป์ ระเภทลิลิต หมำยถึงข้อใด ข. โคลงสี่สุภาพ, ร่ายสภุ าพ ก. กลอนแปด ง. รา่ ยสุภาพ โคลงสอง, โคลงสาม และโคลงสส่ี ภุ าพ ค. กลอน โคลง กาพย์ ฉนั ท์ เจ้ำอยุธยำมบี ตุ ร ล้วนยงยุทธเ์ ชย่ี วชำญ หำญศึกบมิยอ่ ต่อสูศ้ กึ บมหิ ยอน ไป้พักวอนว่ำใช้ ใหธ้ หวงธห้ำม แมน้ เจ้ำคร้ำมเครำะห์กำจ จงอยำ่ ยำตรยทุ ธนำ เอำพสั ตรำสตรี สวมอนิ ทรีย์สรำ่ งเครำะห์ 17. คำประพนั ธข์ ้ำงตน้ แตง่ ด้วยคำประพันธ์ชนดิ ใด และมำจำกเรือ่ งใด ก. โคลงสี่สภุ าพ, โคลงโลกนิติ ข. ร่ายยาว, มหาเวสสนั ดรชาดก ค. อินทรวิเชียรฉันท์, มทั นะพาธา ง. ร่ายสภุ าพ, ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย

10 18. ข้อใดกลำ่ วถูกตอ้ งเกี่ยวกับจำนวนวรรคของรำ่ ยสภุ ำพ ก. รา่ ยสภุ าพ 1 บท มตี ้งั แต่ 4 วรรคขนึ้ ไป ข. ร่ายสภุ าพ 1 บท มตี ั้งแต่ 5 วรรคข้ึนไป ค. รา่ ยสภุ าพ 1 บท มีตงั้ แต่ 6 วรรคข้ึนไป ง. รา่ ยสุภาพ 1 บท มตี ั้งแต่ 3 วรรคขน้ึ ไป 19. คำประพนั ธป์ ระเภทรำ่ ยสภุ ำพจะจบลงด้วยคำประพันธช์ นิดใด ก. โคลงส่ีสภุ าพ ข. โคลงสองสภุ าพ ค. อินทรวิเชยี รฉนั ท์ ง. กลอนสภุ าพ 20. รูปแบบของคำประพันธ์ไทยแบ่งออกเปน็ กีป่ ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท

11 กจิ กรรมท่ี 1 “คยุ เฟ่ืองเร่ืองรำ่ ย”

12 กจิ กรรมท่ี 1 “คยุ เฟ่อื ง เรอ่ื งรำ่ ย” ร่ายเป็นคาประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซ่ึงไม่กาหนดจานวนบทหรือบาทผู้แต่งจะแต่งยาวเท่าไรก็ได้ แต่ต้องเรียงคาให้คล้องจองกันตามข้อบังคับ พระสำรประเสริฐ (ตรี นำคะประทีป) สันนิษฐานว่าร่ายเป็นของไทยแท้ มีมาแต่สมัย พ่อขุนรามคาแหง ด้วยปรากฏหลักฐานครั้งแรกในวรรณคดีสุโขทัยคือสุภาษิตพระร่วง และต่อมาจึงปรากฏ เปน็ รูปเป็นรา่ งขึน้ ในวรรณคดอี ยุธยาเรอ่ื งโองการแช่งนา้ ในสมยั สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 พระยำอุปกิตศิลปสำร (น่ิม กำญจนำชีวะ) สันนิษฐานว่าร่ายเป็นของไทยแท้ เพราะคนไทยนิยมพูด เป็นสัมผัสคล้องจอง ดังปรากฏประโยคคล้องจองในสานวนศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง กาพย์พระมุนีเดินดง ของภาคเหนือ และคาแอ่วของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากน้ียังสันนิษฐานว่า คาว่า \"ร่าย\" ตัดมาจาก \"ร่ายมนต์\" สังเกตจากโองการแช่งน้าที่มีร่ายดั้นปรากฏเป็นเรื่องแรกและมีเน้ือหาเป็นคาประกาศ ในการดืม่ น้าสาบาน ววิ ฒั นำกำรของร่ำย เร่มิ จากสานวนคล้องจองในศิลาจารกึ และความนยิ มพดู คล้องจองของคนไทยแต่ โบราณ ในบทท่ีพระภิกษุใช้เทศนาก็ปรากฏลักษณะการคล้องจองอยู่ เป็นการรับส่งสัมผัสจากวรรคหน้าไปยัง วรรคถัดไป โดยไม่ได้กาหนดความส้ันยาวของพยางค์อย่างตายตัว ซ่ึงลักษณะนี้ใกล้เคียงกับร่ายประเภท \"ร่าย ยาว\" มากท่สี ุด จึงมีการสันนษิ ฐานว่า ร่ายยาวเปน็ ร่ายท่ีเกิดขึ้นในอันดับแรกสุด ต่อมาจงึ เกิด \"ร่ายโบราณ\" ซึ่ง กาหนดจานวนพยางคแ์ ละจดุ สัมผมั คล้องจองตายตัว และตามมาด้วย \"ร่ายด้ัน\" ซง่ึ มีการประยุกตก์ ฎเกณฑ์ของ โคลงดน้ั เข้ามา สุดท้ายจงึ เกิด \"รา่ ยสุภาพ\" ซึง่ มกี ารประยกุ ตก์ ฎเกณฑข์ องโคลงสุภาพเข้ามา ร่ายที่นิยมกันแพร่หลายตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน คือ ร่ายสุภาพ มักมีการนาร่ายสุภาพ ไปแตง่ ประกอบกับโคลงสภุ าพ เรยี กวา่ ลลิ ติ เช่น เรือ่ ง ลิลติ พระลอ ลลิ ติ ตะเลงพ่าย

13 รา่ ยมีลกั ษณะบงั คบั 5 อย่าง ดังนี้ 1. คณะ 2. พยางค์ 3. สมั ผัส 4. คาเอกคาโท 5. คาสรอ้ ย 1. คณะและพยำงค์ ร่ายสภุ าพบทหนึ่งมี 5 วรรคขึ้นไป แต่ละวรรคมี 5 คา จะแตง่ กี่วรรคกไ็ ด้ แต่ตอน จบต้องจบด้วยโคลงสองสภุ าพ 2. สัมผัส ร่ายสุภาพมีการส่งสัมผัสท้ายวรรค และมีสัมผัสรับตรงคาที่ 1, 2, 3 คาใดคาหน่ึงจนถึง ตอนท้าย พอจะจบก็ส่งสัมผัสไปยังบทต้นของโคลงสองสุภาพ ต่อจากน้ันก็บังคับสัมผัสตามแบบของโคลงสอง จึงถือว่าจบร่าย แต่บทส่วนสัมผัสในน้ันไม่บังคับ มีท้ังสัมผัสสระและสัมผัสอักษร โดยถ้าส่งด้วยคาที่ลง วรรณยุกต์ ก็ต้องรับด้วยคาท่ีลงวรรณยุกตใ์ ห้ตรงกัน ถ้าส่งดว้ ยคาหนักหรอื เบา ก็ต้องรับโดยคาหนักหรอื เบาให้ ตรงตามคาส่ง 3. คำเอกคำโท มีบังคับคาเอกคาโทเฉพาะท่ีโคลงสองสุภาพตอนท้ายบทเท่านั้น สามารถใช้คาตาย แทนคาเอกได้ 4. คำสร้อย ร่ายสุภาพแต่ละบทมีคาสร้อยที่สองคาสุดท้ายในวรรคสุดท้ายของโคลงสองสุภาพเท่านั้น (ม/ี ไมม่ ีกไ็ ด)้

14 สรปุ ร่าย คือ คาประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่งท่ีแต่งง่ายที่สุด และมีฉันทลักษณ์น้อยกว่าร้อยกรอง ประเภทอื่น ร่ายมีลกั ษณะใกล้เคียงกับคาประพันธ์ประเภทร้อยแก้วมากเพียงแต่กาหนดท่คี ล้องจองและบังคับ วรรณยุกต์ในบางแห่ง ร่ายท่ีนิยมแต่งที่สุดคือ ร่ายสุภาพ เป็นร่ายท่ีกาหนดให้วรรคหน่ึงมีคาห้าคาเป็นหลัก บทหนึ่งต้องแต่งให้มากกว่าห้าวรรคขึ้นไป ส่วนการจบบท ใช้โคลงสองสุภาพจบ และนิยมมีคาสร้อยปิดท้าย ดว้ ย โคลงสองสภุ ำพ เป็นข้อบังคับที่จะต้องมีในการแตง่ รา่ ยสุภาพเมื่อจบบท เรามาดูกนั ค่ะวา่ การแต่งโคลงสองสภุ าพนั้นมี ลักษณะอยา่ งไร

15 ฉันทลกั ษณ์ของโคลงสองสภุ ำพ คณะ 1.โคลงสองสภุ าพ 1 บทมี 14 คา ไม่รวมคาสร้อย 2. โคลงสองสภุ าพ 1 บท แบง่ เป็น 3 วรรค 3. วรรคท่ี 1 และ 2 มี 5 คา 4. วรรคที่ 3 มี 4 คา หลงั วรรคท่ี 3 อาจมีคาสร้อยตอ่ ท้ายหรอื จะไมม่ ีกไ็ ด้ สมั ผัส 1. คาสดุ ท้ายของวรรคท่ี 1 สง่ สัมผัสไปยังคาสดุ ท้ายของวรรคท่ี 2 2. โคลงสองสุภาพไม่บังคบั สัมผสั ระหว่างบท แตอ่ าจมกี ารเพิ่มสัมผัสระหว่างบทเพื่อความไพเราะโดยส่งสมั ผัส จากคาสดุ ท้ายของวรรคท่ี 3 ไปยงั คาใดคาหนง่ึ ในวรรคท่ี 1 ของบทถัดไป 3. อาจมีสมั ผสั ภายในวรรคทเี่ รียกวา่ สมั ผัสใน ซง่ึ เป็นได้ทั้งสัมผสั สระและสมั ผสั พยัญชนะ เพอ่ื เสรมิ ใหโ้ คลง ไพเราะยง่ิ ขึ้น เอกโท 1.มคี าวรรณยุกต์เอกหรือคาตาย 3 คา 2. คาทม่ี รี ปู วรรณยกุ ตโ์ ท 3 คา 3. คาเอกจะอยู่ทีค่ าท่ี 4 ของวรรคแรก คาท่ี 2 ของวรรคท่ี 2 และคาที่ 1 ของวรรคที่ 3 4. คาโทอยทู่ ค่ี าท่ี 5 ของวรรคแรก คาที่ 5 ของวรรคท่ี 2 และคาท่ี 2 ของวรรคที่ 3 5. ในกรณีท่หี าคาเอกโทมาลงไมไ่ ด้ สามารถใชค้ าเอกโทษและโทโทษได้

16 ตัวอย่ำงร่ำยสภุ ำพ สรวมสวัสดิวิชัย เกริกกรุงไกรเกรียงยศ เกียรติปรากฏขจรขจาย สบายทั่วแหล่งหล้า ฝนฟ้าฉ่าชุ่มชล ไพศรพณ์ผลพูนเพ่ิม เหิมใจราษฎร์บาเทิง...ประเทศสยามช่ืนช้อย ทุกข์ยุกเข็ญใหญ่น้อย นาศไร้แรงเกษม โสตเทอญ ( ลิลิตนิทราชาคริต ) ศรีสวัสดิเดชะ ชนะราชอรินทร์ ยินพระยศเกริกเกรียง เพียงพกแผ่นฟากฟ้า หล้าหล่มเล่ืองชัยเชวง เกรงพระเกียรติระย่อ ฝ่อใจห้าวบมิหาญ ลาญใจแกล้วบมิกล้า บค้าอาตม์ออกรงค์ บคงอาตม์ออกฤทธ์ิ ท้าวทั่ว ทิศท่วั เทศ ไทท้ กุ เขตทุกดา้ ว นา้ วมกุฎมานบ นา้ วพิภพมานอบ เถลงิ พระเกยี รติฟุ้งฟา้ ลือตรลบแหล่งหลา้ โลกลว้ นสดุดี ( ลิลิตตะเลงพา่ ย : สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ิตชิโนรส )

17 แบบฝกึ เสมิ ทกั ษะ “คุยเฟอื่ งเรอื่ งร่ำย” คำสง่ั 1. ให้นักเรียนคัดลอกคาประพันธ์นี้ เฉพาะส่วนที่เป็นโคลงสองสุภาพ (ที่พิมพ์ตัวหนา) เขียนด้วย ลายมือทีเ่ ป็นระเบยี บสวยงาม และอ่านงา่ ย กล่าวถึงขุนผู้ห้าว นามท่านท้าวแมนสรวง เปนพระยาหลวงผ่านเผ้า เจ้าเมืองสรวงมีศักดิ์ ธมีอัคเทพีพิลาส ชื่อนางนาฏบุญเหลือ ล้วนเครือท้าวเครือพระยา สาวโสภาพระสนม ถ้วนทุกกรมกานัล มนตรีคัลคับค่ัง ช้างม้าม่ังมหิมา โยธาเดียรดาษหล้า หมู่ทกล้าทหาร เฝ้าภูบาลนองเนือง เมืองออกมากมียศ ท้าวธมเี อารสราชโปดก ช่ือพระลอดลิ กล่มฟ้ำ ทิศตวนั ออกหลำ้ แหล่งไสส้ มี ำ ท่ำนนำฯ (ลิลติ พระลอ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. รา่ ยรา่ ยเรงิ รารา ยามระยาเยื้องยก วหิ คเห่าเสยี งหมา วิฬาร์ลนั่ เสยี งหมู มัจฉาถูไถเมฆ ตวั เลขปากเปน็ มนั กลนื อักษรพลนั ลงไส้ รุ้งรา้ งไร้เจ็ดสี ดนตรีจกิ กาธาร ขานมากับกระดูก ผกู ศลิ ปเ์ ปน็ ศพไว้ รอเนำ่ กับกิ่งไม้ มำกแร้งมำรุม อยู่นำ (กานติ ณ ศรัทธา) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ประเมนิ ผล คะแนนเต็ม ได้ ขอ้ (1) และ (2) ทาถกู ต้อง ลายมอื สวยงาม ข้อละ 5 คะแนน 10

18 2. ให้นกั เรยี นเตมิ รปู วรรณยกุ ต์เอก โท และโยงเสน้ สัมผัสของโคลงสองสภุ าพตอ่ ไปน้ี ตามผังภูมิ 2.1 โรงเรียนเราเรงรู ขับเคลอื นวานทุกผู กอเกือสถาบัน 2.2 หวังสยามเฟอื งพงุ คืนสูเจ็ดสรี ุง นบั ตองมิกลวั ใดนา 2.3 เหลยี วหาธาตแุ รรอน กราบเกลือนทรายกรวดกอน วาแทเทิดทอง 2.4 ฉันชอบกลอนกลาวแกลง ชอบแตงตอบชอบแยง อยางเจาคารม คมนา 3. โคลงสองสุภาพต่อไปน้ี ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่เห็นว่าแต่งถูก และทาเครื่องหมาย  หน้าขอ้ ท่เี ห็นว่าผิด ............................... 3.1ประเพณที ้องถิ่น กินขา้ วสลาก ทุ่งเสลีย่ มน้แี ล .............................. 3.2 วังธารมแี หช่ า้ ง งานบวชบญุ แลสล้าง ส่งให้บญุ แรง .............................. 3.3 ครัวตานมานท่วั ท้ัง ทานแก่วดั ทุกครงั้ ทุกท่หี มู่คน ศรัทธา .............................. 3.4 ฟ้อนปราสาทไหวน้ี ทุง่ เสลี่ยมชช้ี วนชม แม่เอย ประเมินผล คะแนนเตม็ ได้ ขอ้ 2 - 3 ทาถูกต้อง ข้อละ 5 คะแนน 10

19 กิจกรรมท่ี 2 “สมั ผัสสระ สัมผัสอักษร สะทอ้ นเสนห่ แ์ หง่ ภำษำ” คำสัมผัส หมายถึง ลักษณะที่ใช้คาคล้องจองกัน กล่าวคือคาท่ีมีสระและมาตราตัวสะกดเดียวกัน เรียกว่า สัมผสั สระ ส่วน สัมผัสอักษร นนั้ เป็นคาทีม่ เี สียงพยญั ชนะตน้ เปน็ พยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน สรปุ ได้ว่า สัมผัสมี 2 ลักษณะ คอื สมั ผัสสระและสมั ผัสอักษร สมั ผัสสระ มีข้อสงั เกตการเลือกใช้ ดังนี้ ก. คาที่มเี สียงสระเดียวกัน เช่น ชยั ไป ให้ ได้ ไก่ เป็นสัมผัสสระ ไอ ศรี พี่ ดี ปี ตี เป็นสมั ผัสสระ อี ข. คาทีม่ เี สยี งสระเดียวกันและตัวสะกดในมาตราตัวสะกดเดยี วกัน เชน่ ขาย หาย หนา่ ย จา่ ย เป็นสมั ผสั สระ อา ตวั สะกดมาตราเดยี วกนั คอื แม่เกย ทางภาษากลอนนยิ มเรยี กวา่ สระอาย สรรค์ พนั ธ์ จนั ทร์ ขนั เปน็ สมั ผัสสระ อะ ตวั สะกดมาตราเดียวกัน คือ แม่กน ทางภาษากลอนนยิ มเรียกวา่ สระอนั สัมผัสอักษร มีขอ้ สังเกตการเลอื กใช้ ดงั น้ี ก. มีเสยี งพยัญชนะต้นเสยี งเดียวกัน แต่สระหรอื มาตราตวั สะกดตา่ งกัน เช่น น้า – หนกั (สัมผัสอักษร น) อบ – อุน่ (สัมผสั อักษร อ) ฉ่ิง – ฉาบ (สมั ผสั อกั ษร ฉ) แมน – หมวก (สมั ผัสอกั ษร ม) ศรี – สอบ (สมั ผสั อกั ษร ส) ทอด – ทิง้ (สมั ผสั อกั ษร ท) ข. มเี สียงพยัญชนะต้นเป็นอักษรคู่ เชน่ ผอง – เพื่อน (สัมผัสอักษรคู่ ผ – พ) หวย – ฮอต (สมั ผัสอกั ษรคู่ ห – ฮ) ฝาก – ฟนั (สัมผัสอกั ษรคู่ ฝ – ฟ) สอบ – แทรก (สมั ผสั อกั ษรคู่ ส – ซ) ถี่ – ทาง(สัมผัสอกั ษรคู่ ถ – ท) ขาว – ค่ี (สัมผสั อักษรคู่ ข – ค) ค. มเี สียงพยญั ชนะควบกลา้ เดยี วกัน เชน่ เพริศ – พรง้ิ (สัมผสั อักษรควบ พร) ตราบ – ตรวจ (สัมผสั อกั ษรควบ ตร) ปราด – เปรอื่ ง (สัมผัสอักษรควบ ปร) กวาง – ไกว (สัมผสั อกั ษรควบ กว) คว่า – ควาย (สัมผัสอักษรควบ คว) ขรุ – ขระ (สัมผสั อกั ษรควบ ขร) การแต่งร่ายสุภาพให้เกิดความไพเราะ ร่ืนหู จาเป็นต้องเลือกใช้คาสุภาพที่มีสัมผัสแพรวพราว และสะสมคลังคาให้ได้มากที่สุด เพื่อสามารถเลือกมาใช้ได้ตามความต้องการ สัมผัสสระและสัมผัสอักษร จงึ สะท้อนเสนห่ ์แหง่ ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งชัดเจน และสมั ผัสใจของผู้อา่ นทุกคน หมายเหตุ : สาหรับการแต่งร่ายสุภาพนั้น คาที่ลงวรรณยุกต์ ก็ต้องรับด้วยคาท่ีลงวรรณยุกต์ให้ตรงกัน ถ้าลง คาหนักหรอื เบา ก็ต้องรบั โดยคาหนักหรือเบาใหต้ รงตามคาส่ง

20 แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ “สัมผสั สระ สัมผสั อักษร สะทอ้ นเสนห่ แ์ ห่งภำษำ” คำช้ีแจง : ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบตวั อกั ษรหน้าค าตอบข้อท่ีถูกต้อง 1. สมั ผสั สระ ในการเขยี นบทรอ้ ยกรองหมายถงึ อะไร ก. คาที่มีอักษรหมเู่ ดยี วกันมารบั ส่งสมั ผสั กนั ข. คาท่มี ีเสียงพยัญชนะต้นเดียวกนั มารบั สง่ สมั ผสั กัน ค. คาท่มี เี สยี งวรรณยุกต์เดยี วกันมารบั ส่งสมั ผสั กนั ง. คาทป่ี ระสมสระเสียงเดยี วกนั และตัวสะกดมาตราตวั สะกดเดยี วกนั มารับส่งสัมผสั กนั 2. คาในข้อใดถือเปน็ สมั ผสั สระ ของคาวา่ กล้าม ทกุ คา ก. จืด เจด็ จาก ข. ข้าม สาม คร้าม ค. ขาย ได้ วาย ง. กาด ด้าม ตาม 3. คาว่า “ทา่ น” กบั “คร้นั ” ไม่ถือเป็น สัมผสั สระ เพราะเหตุใด ก. เป็นพยัญชนะตน้ คนละเสยี ง ข. มีเสียงวรรณยกุ ต์ตา่ งกัน ค. “ทา่ น” ใชส้ ระเสียงยาว, “ครนั้ ” ใช้สระเสียงสัน้ ง. “ทา่ น” เปน็ อักษรเดี่ยว, “ครั้น” เป็นอักษรควบกลา้ 4. ข้อใดเปน็ สัมผสั สระของวรรคต่อไปนี้ “เน้ือทองนิ่มน้องไทย” ก. เน้อื – นิ่ม ข. ทอง – ไทย ค. นม่ิ – นอ้ ง ง. ทอง – น้อง 5. คาใดเปน็ สัมผัสสระของคาวา่ “เป็น” ก. เด่น – เลน่ ข. เข็ญ – เย็น ค. เอ็น – เชน่ ง. เว้น – เห็น 6. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้องเก่ียวกบั สัมผัสสระในรา่ ยสุภาพ ก. สมั ผสั สระเกดิ ภายในวรรคเดียวกัน ข. สมั ผสั สระเกิดได้แม้จะต่างวรรคกัน ค. สมั ผสั สระเปน็ สมั ผัสระหว่างบท ง. สมั ผสั สระมเี สยี งพยญั ชนะเสยี งต้นเดยี วกัน 7. ขอ้ ใดเป็นสัมผสั สระ ก. ภูมิ – ตมุ่ ข. แข็ง – แกร่ง ค. วรรณ – สนั้ ง. เปรต – เจด็ 8. คาประพนั ธ์ต่อไปนี้ มสี ัมผัสสระรวมกี่แหง่ “รู้รบั ตอ้ งร้ใู ห้ ดว้ ยหัวใจเปีย่ มไมตรี คนดตี อ้ งทำตน ใหเ้ ป็นคนศรสี ังคม” ก. 4 แห่ง ข. 5 แห่ง ค. 6 แหง่ ง. 7 แหง่ 9. จากข้อ 8 วรรคใดไม่มสี ีมผัสสระ ก. วรรคที่ 1,2 ข. วรรคที่ 3,4 ค. สมั ผสั ทุกวรรค ง. ไม่สมั ผสั ทกุ วรรค 10. จากข้อ 8 คาคู่ใดเปน็ สัมผัสสระ ก. รู้ – รู้ ข. ตรี – ดี ค. ให้ – หวั ง. ดี – ได้

21 11. สมั ผัสอักษร ในการเขยี นบทร้อยกรอง หมายถงึ อะไร ก. คาทม่ี เี สียงพยญั ชนะต้นเสียงเดียวกันรับส่งสัมผัสกนั ข. คาทม่ี ีอกั ษรหมเู่ ดยี วกันมารบั สง่ สัมผัสกนั ค. คาท่ีมีเสียงวรรณยุกตเ์ ดียวกนั มารับสง่ สมั ผสั กนั ง. คาท่ปี ระสมสระเสยี งเดียวกนั และตัวสระมาตราตัวสะกดเดียวกันมารับสง่ สัมผัสกัน 12. คาในข้อใด ถือเปน็ สัมผัสอักษรของคาวา่ “ศร”ี ทุกคา ก. ดี ตรี ท่ี ข. เสรมิ สรวง ทรง ค. ศาล ยาน กานท์ ง. โทรม ไทร ไทย 13. ขอ้ ใดไม่เป็นสัมผสั อักษรของวรรคต่อไปน้ี “ศึกรบหรือศึกรกั ” ก. ศกึ – ศกึ ข. รบ – รกั ค. หรอื – รัก ง. หรือ – ศึก 14. คาใดเปน็ สัมผสั อักษรของคาวา่ “ญาติ” ก. แยก – ยา้ ย ข. ชาติ – ปราชญ์ ค. หญ้า – คา ง. ปัด – วัด 15. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกยี่ วกับสมั ผสั อกั ษรในร่ายสุภาพ ก. สมั ผัสอักษรเกิดภายในวรรคเดียวกนั ข. สมั ผัสอักษรเกิดได้แม้จะตา่ งวรรคกัน ค. สัมผัสอักษรเปน็ คาสมั ผสั ระหวา่ งบท ง. สมั ผัสอักษรต้องมเี สยี งสระเดียวกัน 16. ข้อใดกลา่ วถูกต้องที่สุดของสมั ผสั อักษรในแตล่ ะวรรคของร่ายสภุ าพ ก. สัมผสั อกั ษรต้องเป็นเปน็ พยญั ชนะตน้ ตัวเดยี วกนั เท่านนั้ ข. สัมผสั อักษรเกิดได้เฉพาะในวรรคท่ี 1 กับวรรคที่ 3 เทา่ น้ัน ค. สัมผสั อกั ษรเกิดข้ึนตรงไหนกไ็ ดใ้ นแต่ละวรรคของร่ายสุภาพ ง. สัมผัสอักษรเกดิ ในชว่ งสัมผัสเท่าน้นั เชน่ คาที่ 2 กับคาท่ี 5 ของวรรคท่ี 1 และวรรคที่ 3 17. จากบทรอ้ ยกรอง “อย่าทาคนละที และอย่าดที ลี ะคน” คาค่ใู ดเป็นสัมผสั อกั ษร ก. ทา – ที ข. อยา่ – อย่า ค. ที – ดี ง. คนละ – ละคน 18. ข้อใดมีสัมผัสอักษร ก. ครอบครวั ครองความรัก ข. พงึ รู้จักสรา้ งหลกั ฐาน ค. ก้าวหนา้ วิชาการ ง. พอ่ จึงให้ลูกได้เรยี น 19. ข้อใดไม่มีสัมผัสอักษร ก. เหตผุ ลแต่ทุกขา้ ง ข. กเ็ ข้าทางและเข้าที ค. ประเด็นใหม่จะมากมี ง. มิแจง้ ด้วยประสงค์ใด 20. คาคูใ่ ดเป็นทง้ั สมั ผสั สระและสมั ผสั อักษร ก. สาน – สั่น ข. ไทย – ชัย ค. ทรวง – สรวง ง. วู่ – วาม ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ตอบถูก 2 ข้อ 1 คะแนน (20 ข้อ 10 คะแนน) 10

22 กจิ กรรมที่ 3 “สมั ผสั ใน สมั ผสั นอก บอกคุณคำ่ ภำษำศลิ ป์” สัมผัสใน คือ การเลือกใช้คาสัมผัสสระหรือสัมผัสอักษร เขียนลงภายในวรรคเดียวกัน โดยคานึงถึง เนอื้ หาและความไพเราะประกอบกัน ดงั ตัวอยา่ ง ไกลจากบ้านฐานถ่ิน ละกล่ินอายความเจรญิ ดมุ่ เดินดัน้ โดยเดียว แลเหลยี วหาเหน็ ใคร เล็งแลไปขา้ งหน้า เหน็ ผนื ฟา้ เวงิ้ วา้ ง เหลียวแลข้างซา้ ยขวา เห็นพนาสณฑ์ศรี ปลุกฤดภี ิรมย์ เพลินใจชมรกุ ขชาติ งำมประหลำดยิ่งลำ้ ไกวกง่ิ โยนโยกยำ้ น่ำจอ้ งมองดู เพลินนำ เช่น (หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาเพ่อื การสื่อสาร หน้า ๒๘๕) วรรคท่ี 1 ไกลจากบา้ นฐานถิ่น วรรคท่ี 3 ดุม่ เดินดั้นโดยเดยี ว บ้าน ฐาน (สัมผัสสระ อา+แม่กน) ดมุ่ เดิน ดน้ั โดย เดียว (สมั ผัสอกั ษร ด) สมั ผัสนอก คือข้อบังคับในการเขียนบทร้อยกรอง ท่ีจะต้องมีการส่งสัมผัสระหว่างวรรค บาท และบท ซง่ึ จะตอ้ งเปน็ สัมผัสสระเทา่ นนั้ เชน่ บทที่ 1 ถิน่ – กลนิ่ เป็นสัมผัสนอก ท่ีเป็นสัมผัสระหว่างวรรค คาสุดท้ายของวรรคแรก ส่งสัมผัสไปยัง คาท่ี 2 ของวรรคทีส่ อง (สมั ผสั สระ อ+ิ แม่กน) เดียว – เหลยี ว เป็นสัมผัสนอก ท่ีเป็นสัมผัสระหว่างวรรค คาสุดท้ายของวรรคท่ีสาม ส่งสัมผัสไปยัง คาที่ 2 ของวรรคทสี่ ี่ (สัมผสั สระ เอยี +แมเ่ กอว) สัมผัสในและสัมผัสนอก เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งในการเขียนบทร้อยกรอง การจะหาคารับส่งสัมผัส ให้คล่องนั้น ควรท่ีจะอ่านหนังสือบทร้อยกรองให้มาก ๆ แล้วคาที่อ่านพบเจอบ่อย ๆ จะจดจาได้เอง และสามารถหยิบมาใช้ในการเขียนบทร้อยกรองได้ในเวลาอันรวดเร็ว นั่นเป็นกระบวนการ “สร้างคลังคา” นักเรียนจะต้องคานึงถึงสัมผัสนอกเป็นลาดับแรก เพราะเป็นสัมผัสบังคับจะละเลยเสียมิได้ ส่วนสัมผัสใน จะมหี รอื ไม่มกี ็ได้ แตห่ ากมีจะเพ่ิมความไพเราะและเพิ่มคณุ ค่าทางวรรณศิลป์

23 แบบฝึกเสริมทักษะ “สัมผสั ใน สัมผัสนอก บอกคณุ ค่ำภำษำศลิ ป์” คำสง่ั : ให้นักเรียนอา่ นร่ายสภุ าพตอ่ ไปน้ี แลว้ เขียนคาสัมผัสท่ตี อ่ เนื่องเป็นคู่ ตามตัวอย่าง คทู่ ี่ 1- 4 ในตาราง (ทาข้อ 5 - 24) ท่งุ เสล่ยี มงามนา่ ยล ทุ่งถิ่นดลดวงจิต เพลินพิศเพลนิ อารมณ์ พืน้ พรมแผ่นขจี ทงุ่ ขา้ วสีงามนัก สายธารรกั ษเ์ ร่อื ยไหล สายธารใจฉ่าช่นื ภาษาร่ืนไพเราะ เสนาะโสตสาเนียง เพยี งผ้ผู ่านพบพักตร์ รอยยิม้ ทักเพราตา พระศลิ าม่งิ ขวญั โด่แม่ถันเด่นสง่า งามลา้ ค่าหนิ ออ่ น ผผิ ดั ผ่อนเมตตา เอ้อื อารนี า้ ใจ แลวิไลพฤกษา นานาผกั พน้ื บ้าน รา้ นรวงแลเคหาสน์ วิลาศวิไลลักษณ์ สลกั เสลาหตั ถกรรม งามขาไม้แกะเกลา แลพร้งิ เพราลา้ ค่า ปลกู ปา่ รายรอบท่งุ ยามรงุ่ แสงรวี สุรียส์ อ่ งเขางาม ยามเยน็ โพยมพยับ ตะวนั ลับเหลยี่ มเขาสวย ใครผ่ำนวำนแวะดว้ ย ชมช่นื มิมอดม้วย ย่ิงได้นำนเนำ อยนู่ ำ (นวลนอ้ ย อินทรป์ น่ั ) คำสัมผัสทตี่ ่อเน่อื งกันไปทกุ วรรค ไดแ้ ก่ คูท่ ่ี คำสมั ผัส คทู่ ี่ คำสมั ผัส ค่ทู ่ี คำสมั ผัส 1 ยล - ดล 9 17 2 จติ - พิศ 10 18 3 รมณ์ - พรม 11 19 4 จี - สี 12 20 5 13 21 6 14 22 7 15 23 8 16 24 ประเมนิ ผล คะแนนเตม็ ได้ ตอบถูก 2 คู่ 1 คะแนน (20 คู่ 10 คะแนน) 10

24 แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ “สมั ผสั ใน สัมผสั นอก บอกคณุ ค่ำภำษำศลิ ป์”(2) คำสง่ั : นักเรียนเลือกคาตอบในกรอบท่ีสมั ผัสกับคาสุดทา้ ยวรรค มาเติมในช่องส่เี หลยี่ มให้ถูกต้องตามขอ้ บังคบั ของรา่ ยสภุ าพ 1. หน้าทีท่ ่ตี ้องทา ดี 2. ทกุ คนมหี นา้ ท่ี นี้ 3. ฝึกทางานให้เป็น พ่ี 4. พอเพยี งเพื่อเพยี งพอ ขอ 5. คุณธรรมนาความรู้ กอ่ 6. ความเพียรผลกั ดนั ให้ กรรม 7. งานสาเรจ็ ลุล่วง ค่ำ 8. พระบรมราชโชวาท สู้ 9. ในหลวงห่วงภาษา คู่ 10. กรองศลิ ปก์ ารดนตรี ใจ ไคล้ เด่น หวง หว่ ง เหน็ ชำติ วฒั น์ ท่ำ กลำ้ มำ ประเมินผล คะแนนเตม็ ได้ ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน 10

25 กิจกรรมที่ 4 “เนื้อควำมร้อยรดั จดั วรรครำ่ ยสภุ ำพ” ถา้ นักเรียนแต่งร่ายสุภาพ ใน 1 บท จาเป็นต้องมีสัมผสั ระหว่างวรรคต้ังแต่ 5 วรรคข้นึ ไปเร่ือง เม่ือจะ จบต้องจบด้วยโคลงสองสุภาพ ซึ่งเปน็ สัมผัสบังคับอีกประการหนึ่งของการเขียนบทร้อยกรอง ท้งั น้ี เพอ่ื ให้เกิด สัมพนั ธภาพทงั้ ทางด้านฉันทลกั ษณ์และทางด้านเน้ือหาท่ีมคี วามเกี่ยวเนอ่ื งกนั จงั หวะการอ่าน 3+2 3+2 ต่อไปก็ 3+2 ตลอด แต่ 3 วรรคสดุ ทา้ ยต้องจังหวะ 3+2 3+2 2+2+(2) ตามแบบโคลง 2 สุภาพ ตัวอย่างร่ายสุภาพ ท่ีมีการจัดวรรคการเขยี นและอา่ น ขัตตยิ ะ/เลิศเลอลบ ปิยมหำรำชสดดุ ี อนั จะม/ี เหมือนแมน้ ผคู้ รองแควน้ /แดนสยาม มพิ บทว่ั /ปฐพี ขวญั จอมเจ้า/ชีวติ แนบสนทิ /หนกั หนา พระนามจุล/จอมเกลา้ ทุกคนไป/ยอ่ มรัก ใหญ่ยิง่ นกั /ล้นหลาย ในหทั ยา/ชาวไทย ต้องตามความ/ดาริ ว่าปยิ /มหาราช จึง่ เทิดถวาย/พระนาม ทุกถน่ิ ฐำน/ทัว่ หลำ้ ต่ำงซรอ้ ง/สดุดี งำมผงำด/ฟ่องฟ้ำ พระนำ (กระทรวงศึกษาธิการ, หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาเพอื่ การส่ือสาร ม.5) จากตวั อยา่ งรา่ ยสุภาพ จานวน 1 บทข้างต้น มกี ารจัดวรรคละ 5-6 คาแลว้ เวน้ ไปวรรคถัดไป 5-6 คา เรียงต่อกนั ไปเร่ือยๆ จนจบด้วยโคลงสอง จงั หวะการอ่าน คือ 3+2 กับ 3+3 เนอ่ื งจากบางวรรคที่มี 6 พยางค์ และจบดว้ ยโคลงสองสภุ าพ ดว้ ย 3+2 และเน่ืองจากวรรค “ตา่ งซรอ้ งสดุดี” มี 5 พยางค์ จงึ แบ่งเป็น 2+3 ตามดว้ ยคาสร้อย 2 พยางค์

26 แบบฝึกเสรมิ ทักษะ “เนือ้ ควำมรอ้ ยรดั จดั วรรคร่ำยสุภำพ” คำสัง่ : ใหน้ กั เรียนทาเครื่องหมาย / แทนการเวน้ วรรคดงั ตัวอยา่ ง ตัวอย่าง เคล่ือนพลตามเกล็ดนาค/ตากเต็มท่งแถวเถื่อน/เกลื่อนกล่นแสนยาทัพ/ถับปะทะไพรินทร์/ ส่ ว น หั ส ดิ น อุ ภั ย / เ จ้ า พ ร ะ ย า ไ ช ย า นุ ภ า พ / เ จ้ า พ ร ะ ย า ป ร า บ ไ ต ร จั ก ร / ต รั บ ต ร ะ ห นั ก ส า เ นี ย ง / เสียงฆ้องกลองปีนศกึ /อกึ เอิกก้องกาหล/เร่งคารนเรยี กมัน/ชันหชู ูหางแล่น... (ลิลติ ตะเลงพ่าย) 1. ประเพณีของไทยมีทั่วไปทุกภาคคุณค่ามากมายยิ่งส่งเสริมสิ่งท่ีดีงามให้สยามสุขสงบ น้อมนบเม่อื พบพาน้อมนาศาสนาสามัคคดี เี ลศิ ก่อเกดิ หลากศิลปะลักษณะเฉพาะของไทย สรา้ งสายใย คุณธรรมชาติดารงคงค้าเลิศล้าภูมิปัญญาประชาไทยรุ่นเก่าประเพณีเหล่าน้ีช่วยบ่งช้ีว่าแท้เมืองไทย เมืองแมน (นวลนอ้ ย อนิ ทร์ป่ัน) 2. ขอ้ ยผู้ขา้ บาทบงสุโหรควรคงทานายทายพระเคราะหถ์ ึงฆาตฟงั สารราชเอารสธกผ็ ะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตรล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญหาญหักศึกบมิย่อต่อสู้ศึกบมิหยอนไปพักวอนว่าใช้ ใ ห้ ธ ห ว ง ธ ห้ า ม แ ม้ น เ จ้ า ค ร้ า ม เ ค ร า ะ ห์ ก า จ จ ง อ ย่ า ย า ต ร ยุ ท ธ น า เ อ า พั ส ต ร า ส ต รี สวมอนิ ทรยี ส์ รา่ งเคราะหธ์ ตรสั เยาะเย่ยี งขลาดองคอ์ ปุ ราชยนิ สารแสนอัประมาณมาตยม์ วล นวลพระพกั ตร์ผอ่ งเผอื ดเลือดสลดหมดคลา้ ซา้ กมลหมองมวั ....... (ลลิ ติ ตะเลงพ่าย) หมำยเหตุ : ข้อ 1 ลงทา้ ยด้วยโคลงสองสุภาพ ขอ้ 2 ไมม่ ีการลงทา้ ยด้วยโคลงสองสภุ าพเนื่องจากยังไมจ่ บบท ประเมนิ ผล คะแนนเต็ม ได้ ข้อ 1 - 2 ทาถกู ต้อง ข้อละ 5 คะแนน 10 ทาผดิ ตัดคะแนนแหง่ ละ 1 คะแนน

27 กจิ กรรมท่ี 5 “ฝกึ จดจำ คำสภุ ำพ” คาสุภาพในคาประพันธ์ หมายถึง คาที่ \"ไม่มี\" รูปวรรณยุกต์ หรือคาท่ีไม่กาหนดบังคับรูปวรรณยุกต์ เอกโท ในคาประพันธ์ประเภทโคลง เฉพาะโคลงจึงถือเอาคาที่ไม่บังคับเอกโทเป็นคาสุภาพ ตามหนังสือ จนิ ดามณี ทีว่ ่า สบิ เกา้ เสาวภาพแกว้ กรองสนธิ์ จนั ทรมณฑลกล สถี่ ้วน พระสุรยิ เสดจ็ ดล เจด็ แห่ง แสดงวา่ ครูโคลงล้วน เศษสร้อยมสี อง (บทน้มี ีทเ่ี ขยี นแตกต่างกนั ไปเลก็ นอ้ ย) แปลวา่ คาสุภาพ (ท่ีมรี ูปวรรณยกุ ต)์ มี 19 คา จนั ทรมณฑล หมายถึง คาท่มี รี ปู โท 4 คา พระสรุ ยิ ะ หมายถงึ คาทม่ี รี ูปเอก 7 คา มีสร้อยคาได้ 2 คา ในกลอนสุภาพ ไม่ได้บังคับรูปวรรณยุกต์เหมือนในโคลง เพียงแต่กาหนดว่า คาสุดท้ายของวรรคท่ี 3 กับ 4 ไม่มีรูปวรรณยุกต์ (โดยทั่วไปใช้คาเสียงสามัญ) บรรพกวีท่านว่า หากใช้คาท่ีมีรูปวรรณยุกต์ เช่น ท้ายวรรคสามลงว่า น้ี ถึงแม้จะไม่ผิดฉันทลักษณ์ แต่ถือว่าไม่สุภาพ (แต่เดี๋ยวนี้มั่วไปหมด มีรูปวรรณยุกต์ กไ็ มถ่ อื ว่าไม่สภุ าพ) ดังนนั้ คาสุภาพ จึงมแี ต่ในโคลง ซง่ึ ถอื ว่า 19 คาไม่มีรปู วรรณยุกต์ (จะถือว่าบงั คับไม่ให้มีรูปวรรณยกุ ต์ หรืออนญุ าตให้ไม่ต้องมีรูปวรรณยุกต์ กค็ วามหมายเดยี วกนั แตร่ ปู เอก 7 โท 4 นนั้ ทา่ นบงั คับว่าตอ้ งมี

28 แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ “ฝึกจดจำ คำสภุ ำพ” คำสงั่ : 1. เขยี นวงกลมลอ้ มรอบหรอื ขดี เสน้ ใต้ \"คาสภุ าพ\" (คาทีไ่ ม่มรี ูปวรรณยกุ ตก์ ากับอย)ู่ ทป่ี รากฎอย่ใู น ข้อความต่อไปน้ี “ภาษาเป็นสงิ่ ท่ีบ่งบอกถงึ ความย่งิ ใหญ่และความเจริญของชาติ หวั ใจสาคญั ต่อรา่ งกายฉนั ใด ภาษาก็มี ความสาคัญตอ่ ชาติฉันน้ัน สิ้นภาษากเ็ หมือนสน้ิ ชาติ เราควรอนุรักษ์ซ่ึงภาษาเพือ่ การพัฒนาและรักษา ไวซ้ ึ่งเอกลกั ษณข์ องชาติ” 2. เขียนวงกลมล้อมรอบหรือขีดเสน้ ใต้คาท่ี \"ไม่ใชค่ าสภุ าพ\" ในข้อความต่อไปน้ี การใช้จ่ายอยา่ งประหยัดนั้น จะเป็นหลักประกันความสมบูรณ์พนู สุขของผู้ประหยัดเองและครอบครัว ช่วยป้องกันความขาดแคลนในวันข้างหน้า การประหยัดดังกล่าวนี้จะมีผลดีไม่เฉพาะแก่ผู้ท่ีประหยัด เท่านนั้ ยงั เปน็ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาติดว้ ย พระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เน่ืองในวันข้ึนปีใหม่ 31 ธันวาคม 2502 ข้อควรสังเกต ท้ัง 2 ข้อน้ี ไม่ใช่ร่ายสุภาพ เป็นข้อความร้อยแก้ว ถ้าเป็นร่ายสุภาพ คาส่งสัมผัส คือคาสุดท้าย ของแต่ละวรรคนั้น ถ้าเป็นคาสุภาพต้องรับสัมผัสด้วยคาสุภาพเช่นกัน และถ้าคาส่งสัมผัสมีรูปวรรณยุกต์ใด คารบั สัมผัสกต็ ้องมีรูปวรรณยกุ ตน์ นั้ ตัวอย่าง เช่น คำสง่ สัมผัส คำรับสัมผสั รกั ทกั ยักษ์ พรรค กอ่ น ผอ่ น หยอ่ น ร่อน ขา้ ว ก้าว รา้ ว เท้า ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ขอ้ 1 - 2 ทาถูกต้อง ข้อละ 5 คะแนน 10 ทาผดิ ตัดคะแนนแหง่ ละ 1 คะแนน

29 กิจกรรมที่ 6 “ภำพพจน์แหง่ คำ เลศิ ล้ำโวหำร” ภาพพจน์ หมายถึงสานวนภาษารูปแบบหนึ่งซึ่งเกิดจากการเรียบเรียงถ้อยคาด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้ผิดแผกไปจากการเรียงลาดับคาหรือความหมายของคาตามปกติ ไม่กล่าวอย่างตรงไปตรงมา เพื่อให้ผู้อ่าน เกิดภาพ มีส่วนร่วมในการคิด มีความหมายพิเศษ เข้าใจและรู้สึกอย่างลึกซ้ึงตามผู้แต่ง ในแบบฝึกเสริมทักษะ การแต่งร่ายสุภาพน้ี จะให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการสร้างภาพพจน์ในการเขียนบทร้อยกรองเพียง 5 ประเภท ดงั น้ี 1. อุปมำ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึง่ มักใช้คาเชื่อมว่า เหมือน เปรียบ ดุจ เพียง เสมอ ฉัน ปาน เฉก ฯลฯ ตัวอยา่ งเชน่ เธอน้นั เหมือนดวงจนั ทร์ ฉันนั้นเหมอื นกระตา่ ย ถงึ หา่ งไกลเกินครอง ขอหมายปองต่อไป .......... มขี ้อความเปรยี บเทียบ 2 ข้อความ ใช้คาสนั ธานเชื่อมคา คือ “เหมือน” โดย เธอ (ผู้หญิง) เปรยี บเป็น ดวงจนั ทร์ หมายถึง ผ้หู ญงิ ทีส่ ูงสง่ ในขณะทฉ่ี นั (ผ้ชู าย) เปรียบเป็นกระต่าย หมายถงึ ผู้ชายทต่ี ่าต้อย 2. อปุ ลักษณ์ คือการเปรีบส่งิ หนง่ึ เป็นอีกสิ่งหนึง่ มักใช้คาว่า เป็น คอื เปน็ คาเชื่อมหรืออาจใช้วธิ ีกลา่ ว เป็นนัย ๆ ให้เขา้ ใจเอาเอง ตัวอยา่ งเชน่ พอ่ แม่คอื โพธท์ิ อง ค้มุ ครองขวญั แก้วตา ..... ...... ....... มีข้อความเปรียบเทียบ 1 ข้อความ ใช้คาสันธานเชื่อมคาคือ “คือ” โดยพ่อแม่ เปรียบเป็นโพธ์ิทอง ในทน่ี ห้ี มายถึง ทท่ี ใี่ หค้ วามรม่ เยน็ เป็นท่พี ึง่ สาหรบั ลกู 3. อธิพจน์ หรือ อติพจน์ คือ การกล่าวเปรียบเทียบอยา่ งเกินความจริงในธรรมชาติ แต่กลับเป็นจริง ในความรูส้ กึ นกึ คิดของคน ตัวอย่างเช่น รกั เรำเคยเท่ำฟ้ำ หา้ หกปไี มม่ ีแล้ว ..... ...... ....... มีข้อความท่ีแสดงถึงการกล่าวเกินความจริง 1 ข้อความ โดย “รัก” ซึ่งเป็นนามธรรม ผู้เขียนให้ภาพ ความรัก “เท่าฟ้า” หมายถึง ความรักที่ยิ่งใหญ่ไม่สามารถประมาณได้ การเปรียบเทียบอย่างเกินจริงน้ี กระทบใจและเปน็ จรงิ ได้ในความรสู้ ึก

30 4. บุคลำธิษฐำน หรือ บุคคลวัติ คือการให้ชีวิตแก่ส่ิงไม่มีชีวิต พรรณนาธรรมชาติให้เหมือน เป็น มนุษย์ สามารถมองเห็นอาการเคล่ือนไหวได้ ทาให้บทร้อยกรองน้ันมีชีวิตชีวา สร้างอารมณ์สะเทือนใจ แก่ ผู้อ่านมากขึน้ ตวั อย่างเชน่ โออ้ กนกโผบนิ เบือนหน้ำผนิ ร่ำอำลยั ไปท่แี หง่ หนใด หนาวกายใจไรค้ าคบ ท่ใี หซ้ บลงนอน มีการบรรยายให้ “อก” คือหวั ใจและ/หรอื ความรู้สึกของนกขมนิ้ ที่ น้อยเนื้อต่าใจชะตาชีวิตของตนเอง จนต้อง “เบือนหน้า” และ “อาลัย” ขณะที่ความหนาว ความเยือกเย็น ของมนุษย์กลับปรากฏในตัวของนก แทงเข้าไปสู่หวั ใจ เน่ืองด้วยไร้ท่ีอยู่อาศัย อีกนัย ผู้เขยี นให้ภาพสัญลักษณ์นกขมิ้นแทนชีวิตของผ้ทู ี่ไร้ที่อยู่อาศัย นับว่าเปน็ กลศิลปอ์ ีกอย่างหน่ึงในการเขียน 5. สัทพจน์ คือการใช้ถ้อยคาเลียนเสียงธรรมชาติ จะช่วยสื่อให้ผู้รับสารรู้สึกเหมือนได้ยินเสียง ตวั อย่างเช่น ฝนตกซกซกพืน้ คร้ืนเครงกบร้องอ๊บอ๊บ กบเขยี ดรีบพบปะ กระโดดร่าเริงอารมณ์ ...... ปรากฏข้อความท่ีเลียนเสียงธรรมชาติ 2 ข้อความ คือ “ซกซก” เป็น เสียงของฝนท่ีตกกระทบพื้น และ “อบ๊ อ๊บ” เปน็ เสยี งของกบและเขยี ด

31 แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ “ภำพพจน์แห่งคำ เลิศล้ำโวหำร” 1. ใหน้ ักเรียนแต่งรา่ ยสุภาพ (ยังไมต่ ้องใส่โคลงสอง) 1 บท โดยให้มีภาพพจนอ์ ุปมา (4 คะแนน) ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ 2. ให้นักเรียนแต่งรา่ ยสุภาพ (ยังไมต่ อ้ งใส่โคลงสอง) 1 บท โดยให้มภี าพพจน์อปุ ลักษณ์ (4 คะแนน) ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ 3. ใหน้ กั เรยี นแตง่ ร่ายสภุ าพ (ยงั ไมต่ อ้ งใสโ่ คลงสอง) 1 บท โดยให้มภี าพพจน์อธพิ จน์ (4 คะแนน) ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ 4. ให้นักเรยี นแต่งร่ายสภุ าพ (ยังไมต่ ้องใสโ่ คลงสอง) 1 บท ปรากฏภาพพจนบ์ คุ ลาธิษฐาน (4 คะแนน) ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ 5. 1 บท โดยให้มีภาพพจน์สัทพจน์ (4 คะแนน) ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ // ............................................................ ขอ้ คิดเหน็ .................................................................................................................. .......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

32 กิจกรรมที่ 7 “แตกกอควำมคดิ เนรมติ เนอ้ื หำ” ร่ายสุภาพจะไพเราะงดงามตามฉันทลักษณเพียงอย่างเดียวไม่ได้ แต่ต้องร่วมด้วยพลัง แห่งการสร้างสรรค์ทางความคิด ซ่ึงเป็นข้อสาคัญอันแสดงให้เห็นถึงภูมิความสามารถของกวีท่ีได้จัดระบบ ความคิด เรียบเรียงเนื้อหาตามความสาคัญมาก-น้อย วางโครงเร่ืองได้อย่างรัดกุม มีจุดมุ่งหมายชัดเจน ตลอดจนสรุปเร่ืองหรอื ปดิ ทา้ ยได้น่าประทับใจ แม้จะเขียนร่ายสภุ าพ ขนาดสั้น ๆ กต็ าม เมอ่ื นกั เรียน ได้พัฒนา ความคิด ผูกเนื้อหาให้ไม่สับสนแล้ว นักเรียนก็จะสามารถสร้างสรรค์ผลงานและนาผู้อ่านไปสู่จุดมุ่งหมาย ปลายทางได้ ดังตัวอย่าง จงเพียบพร้อมปฏิภาณ บ่ครา้ นเร่งขวนขวาย หมายสดับพจนเ์ มธี มี จิ ต พิ ศ ม์ ไ ต ร่ ต ร อ ง ปองปุจฉาหาอรรถ ถนัดเขยี นทงั้ เพียรอา่ น บน่ านจึ่งทแกว้ กลา้ ป รี ช า ย่ อ ม เ พ่ิ ม พู น วิบลู ย์ผองสรรพศาสตร์ สามารถพิชัยชาญ ขจดั พาลตนขลาดเขลา เอาประโยชน์กอ่ เก้ือ เมอ่ื ยงั ใจใครน่ อ้ ม ควรคา่ เสรมิ สวัสดิ์พร้อม ยอ่ มให้จาเรญิ พพิ ฒั นเ์ อย ฯ ร่ายสุภาพดังกล่าว จะเห็นได้ว่าผู้แต่งมุ่งเน้นในเร่ืองของความพรากเพียรเรียนรู้ เข้าใจคุณประโยชน์ ของการเรียนรู้ โดยนาเอาคุณสมบัติของการพรากเพียรเรียนรู้มาเขียนถ่ายทอดความคิดและเรียบเรียง เป็นบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคณุ คา่ ดังแผนภาพความคดิ “พรำกเพียรเรียนรู้” ดงั น้ี ม่ันเพียร ฟังให้มาก พนิ จิ ไตร่ตรอง รู้จกั ถาม ขยนั ม่ันเพียร ฟงั ใหม้ าก “พรำกเพยี รเรยี นรู้” พนิ ิจไตรต่ รอง รู้จกั ถาม

33 แบบฝึกเสริมทักษะ “แตกกอควำมคิด เนรมิตเน้อื หำ” 1. จากบทดังกล่าว ให้นักเรียนสร้างแผนผังความคิด “อำหำรไทย” โดยพิจารณาคาสาคัญของแต่ละ วรรค (10 คะแนน) ตม้ ยากงุ้ อำหำรไทย สม้ ตา 2. ให้นักเรียนสร้างแผนผังความคิดจากประเด็นหลักท่ีกา หนดให้ โดยแบ่งประเด็นย่อย อย่างนอ้ ย 5 ประเด็นใหเ้ ช่ือมโยงและสอดคลอ้ งกบั ประเดน็ หลัก (10 คะแนน) คณุ ธรรม

34 กจิ กรรมท่ี 8 “เชือ่ มโยงควำมคดิ ประดษิ ฐร์ ำ่ ยสุภำพ” การคิดเช่ือมโยงเป็นการคิดเชื่อมความสัมพันธ์จากประเต็นหน่ึงไปสู่อีกประเด็นหนึ่ง ซง่ึ ความแตกต่าง นาไปสโู่ ลกทศั นท์ ี่แปลกใหม่ เรยี กวา่ เป็นการบูรณาการ นักเรียนทส่ี ามารถคดิ ในแบบเชื่อมโยงได้จะต้องเปน็ คน ที่ฝึกการนาส่ิงที่ไม่เหมือนหรือไม่สัมพันธ์กันมาฝึกการโยง การจะทาได้น้ันส่วนหนึ่งก็ต้องอ่านหนังสือมาก เพื่อจะได้มีคลังของข้อมูลท่ีจะนามาเช่ือมโยง เรียกว่าจะต้องมีการจัดการความรู้ ให้พร้อมจะโยงทุกเรื่องราว เขา้ หากัน การเขียนบทร้อยกรองให้เกิดความน่าสนใจจาเป็นต้องอาศัยการสร้างสรรค์การเช่ือมโยง ประเด็นต่าง ๆ โดยสังเกตคุณสมบัติของสิ่ง ๆ หน่ึง ว่คล้ายหรือเหมือนกับคุณสมบัติใดของสิ่งอ่ืน ๆ หรือไม่ เพ่อื นาไปสูก่ ารใหข้ อ้ คดิ คตเิ ตอื นใจ ดงั ตัวอยา่ งการคดิ เร่ือง \"ดนตรีไทย\" ดนตรไี ทย ฉง่ิ กลอง ระนาด กรับ ฆ้อง จะเข้ บทเพลงทีเ่ ราได้ฟังจะไพเราะได้ ยอ่ มเกิดจากเคร่ืองดนตรีทม่ี ี ความแตกตา่ งกันรว่ มบรรเลงสอด ประสานรับสง่ กนั เหมอื น ควำมสำมคั คี ประเทศชาตจิ ะก้าวหนา้ ไดเ้ กิดจาก ทกุ คนซ่ึงมคี วามแตกต่างทาง ความสามารถรว่ มกนั สรา้ งสรรค์ สามารถนามาแตง่ เปน็ รา่ ยสุภาพ ไดด้ ังนี้ ฉิ่งกลองระนาดกรบั สดับมนตรเ์ สน่ห์ กลอ่ มเห่ไกวบรรเลง เพลงเสนาะซ้ึงตรึงใจ เหมอื นไทยผู้ชาญชา รนั ทานองของพนี่ ้อง ไปสู่ชาติก้าวหนา้ ความสามารถทแี่ ตกต่าง ร่างเสียงประสานกนั ร่วมสรา้ งสรรค์ไทย

35 แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ “เชอ่ื มโยงควำมคิด ประดษิ ฐ์ร่ำยสภุ ำพ” ผังภมู ริ ำ่ ยสุภำพ 1. ใหน้ ักเรียนแตง่ ร่ายสุภาพ จานวน 1 บท ขนาดสั้น หวั ข้อ “หน้ำกำก” (20 คะแนน) พนื ้ ท่รี ่างเนอื ้ หา ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // (......... .........) * คาสรอ้ ยมีหรือไมม่ กี ไ็ ด้ สาหรบั ครูผูส้ อน เกณฑ์ ฉนั ทลักษณ์ ตำรำงประเมินผลงำน สร้างเป็นเร่อื ง รวม เนอื้ หา (4 คะแนน) (20 คะแนน) ครผู สู้ อน (8 คะแนน) คดิ เนื้อหา วา่ โครงร่าง (4 คะแนน) (4 คะแนน) ข้อคิดเห็น .................................................................................................................. .................. ........................................................................................................................................................ ...................... ..............................................................................................................................................................................

36 กิจกรรมที่ 9 “คิดเนอื้ หำ วำ่ โครงรำ่ ง สร้ำงเปน็ เร่ือง” การสร้างแผนผังความคิด เป็นวิธีการคิดวิธีหนึ่งท่ีทาให้นักเรียนมีข้อมูลมาเรียบเรียงถ้อยคา เป็นบทร้อยกรอง เพราะบทร้อยกรองทด่ี ี มคี ุณค่า และน่าอ่านน้ันจะต้องเกิดจากความคิดท่ีดแี ละมีคุณคา่ ก่อน ดังวธิ กี ารคดิ และเขยี นบทร้อยกรองพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ความวา่ “...ใช้สมองตรองดูเร่ืองน้ันเสียก่อน จนความคิดแตกแล้ว คิดตั้งโครงขึ้นเป็นคาพูดโดยปรกติก่อน แลว้ จงึ แปลงไปเปน็ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย ตามแต่อธั ยาศยั เพื่อแสดงใหเ้ ห็นได้แจ่มแจ้ง...” พระบรมราชาธบิ ายดังกล่าวสามารถสรปุ เปน็ ประเดน็ ได้ ดังนี้ 1. คดิ เนื้อหำ การคิดรวบรวมข้อมูลเกี่ยวแกห่ วั ข้อให้ได้กอ่ น 2. วำ่ โครงรำ่ ง การต้งั โครงเรื่องโดยเขียนเปน็ ภาษาพูดงา่ ย ๆ 3. สรำ้ งเป็นเร่อื ง การแปลงเปน็ บทรอ้ ยกรองทีต่ อ้ งเขียน และปรบั แตง่ ให้ดี ประเด็นทั้ง 3 ประเด็นข้างต้น สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการแต่งบทร้อยกรองได้ทุกหัวข้อ เช่น การแตง่ รา่ ยสภุ าพ ความยาว 1 บท หวั ขอ้ “คนดี” คดิ เนือ้ หำ มีน้าใจ แบ่งปัน เคารพกฎหมาย ใช้ชีวิต อย่างพอเพียง ครองตนอยู่ในศีลธรรมอันดี คนดี สงั คมดี ไมส่ รา้ งความเดอื ดรอ้ นใหแ้ กใ่ คร วำ่ โครงร่ำง คนดีจะดีได้ด้วยความดีในหัวใจ ไม่ใช่รูปร่าง หน้าตา มีนิสัยแบ่งปันมีน้าใจ เคารพกฎหมาย ส่ิง เหล่านี้คือศีลธรรม นาไปสู่สังคมที่ดี ที่เร่ิมต้นจาก ตวั เราเอง สรำ้ งเปน็ เร่อื ง คนคิดดที าดี ต้องดจี ากขา้ งใน คือหวั ใจทใี่ ฝ่ดี ไม่ใชม่ ีรปู งาม แม้งามกายไมง่ ามจติ คิดทาชว่ั คอื คนทราม กายไม่งามจิตงาม คือคนงามจากข้างใน มนี า้ ใจแบ่งปัน ร้เู ท่าทันทิ้งอบาย มลายทกุ ข์ทมี่ ีคนมีศลี ธรรม นาสงั คมเฉดิ ฉาย ด้วยแรงกายกอ่ เกื้อ บญุ สง่ คณุ สะท้อน เทยี่ งแท้ทาดี

37 แบบฝึกเสริมทกั ษะ “คดิ เนอ้ื หำ วำ่ โครงรำ่ ง สร้ำงเป็นเรอ่ื ง” 1. ให้นักเรียนสร้างแผนผังความคิดจากประเด็นหลักที่กาหนดให้ โดยแบ่งประเด็นย่อย อยา่ งนอ้ ย 10 ประเดน็ ใหเ้ ช่อื มโยงและสอดคล้องกบั ประเด็นหลัก (5 คะแนน) “กีฬำ” 2. ให้นักเรียนเรียบเรียงคาสาคญั จากแผนผังความคดิ ในขอ้ 1. เป็นข้อความร้อยแก้ว (5 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

38 ผังภูมริ ่ำยสุภำพ 3. ให้นักเรียนแต่งร่ายสุภาพ จานวน 1 บท ขนาดส้ัน ตามบทร้อยแก้วท่ีได้เรียบเรียงไว้ในข้อ 2. (10 คะแนน) หวั ข้อ “ควำมรัก” ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // (......... .........) * คาสร้อยมหี รอื ไม่มกี ็ได้ สาหรับครผู สู้ อน เกณฑ์ ฉนั ทลักษณ์ ตำรำงประเมนิ ผลงำน สรา้ งเป็นเรือ่ ง รวม เนื้อหา (4 คะแนน) (20 คะแนน) ครผู ูส้ อน (8 คะแนน) คดิ เนือ้ หา วา่ โครงร่าง (4 คะแนน) (4 คะแนน) ข้อคิดเห็น .................................................................................................................. .................. ........................................................................................................................................................ ...................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ................. ..............................................................................................................................................................................

39 กิจกรรมท่ี 10 “คดิ สรำ้ งสรรค์สูง่ ำนวรรณศลิ ป์” ความคิดสร้างสรรค์ คือ กระบวนการคิดของสมอง ซ่ึงมีความสามารถในการคิดได้หลากหลาย และแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การคดิ คน้ และสรา้ งสง่ิ ประดิษฐ์ทแ่ี ปลกใหม่หรอื รูปแบบความคิดใหม่ การเขียนบทร้อยกรองให้เกิดความประทับใจผู้อ่านนั้น ผู้เขียนจะต้องนาเสนอความคิดใหม่ ๆ มีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ ท้ังนี้จะต้องเป็นความคิดเชิงบวกเพื่อจรรโลงใจผู้อ่าน นักเรียนต้องไม่คิด แบบธรรมดา ควรคิดให้เกินคนอ่ืน ต้องคาดเดาว่าคนอ่ืนคิดอย่างไรแล้วคิดให้ดีกว่าเขา ต่อไปน้ี เป็นตัวอย่าง การคิดแบบธรรมดาและการคิดแบบสรา้ งสรรค์ โดยถา้ ใหน้ ึกถึง “พอ่ ” จะคดิ ถึงอะไร กำรคดิ แบบธรรมดำ - พอ่ เป็นพระอรหนั ต์ของลูก คอื พระในบา้ น - พอ่ ทางานหนัก เหนอ่ื ยยากลาบากเพอื่ ลูก - พ่อเป็นครู เป็นปชู นียบุคคล เป็นผู้ให้ - พอ่ รกั ลกู ทกุ คนเท่ากนั พ่อเปน็ ผู้นา - เรารักพอ่ เราจะยดึ มน่ั กตัญญตู อ่ พ่อ - พ่อเป็นพรหมเป็นพระผปู้ ระเสริฐ - พ่อรักลกู ของท่านเท่ากันหมด - พ่อคอื พระในบ้านทางานหนัก กำรคิดแบบสรำ้ งสรรค์ นาเน้ือหาท้ังหมดท่ีคิดอย่างธรรมดารวมกับความคิดใหม่ท่ีคิดว่าคนอ่ืนคิดไม่ถึง เช่น เรารักพ่อแต่ไม่รู้ ว่าพ่อรักเราขนาดไหน จนเรามีลูกเรารักลูกก็คงเหมือนความรูส้ ึกทพ่ี อ่ มีใหแ้ กเ่ รา - เชน่ คดิ ถงึ พ่อคนดี เม่อื มีลกู ในออ้ มแขน พอ่ หวงแหนใหพ้ ิงพกั รกั ทพ่ี อ่ พันผูก ปลูกฝังให้ลูกได้ดี “รักพ่อ” พอ่ รักลูกเพยี งไหน ตอบหวั ใจตอบไม่ถูก ถึงวนั ลกู มลี ูก ลูกรักลกู สุดหวั ใจ ถงึ เข้าใจความผูกพัน พ่งึ รเู้ มื่อเตบิ ใหญ่ รักยง่ิ ไร้ขอ้ แม้ แจ่มแจ้งในรัก

40 แบบฝกึ เสรมิ ทักษะ “คดิ สร้ำงสรรคส์ ู่งำนวรรณศิลป์” ผงั ภูมริ ำ่ ยสภุ ำพ 2. ให้นักเรียนแตง่ ร่ายสภุ าพ จานวน 1 บท ขนาดยาว (มากกวา่ 5 วรรค + โคลงสอง 3 วรรคสุดท้าย) หวั ขอ้ “วันน้ี” ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // ......... ......... ......... ......... ......... // (......... .........) * คาสรอ้ ยมีหรือไม่มีก็ได้ สาหรบั ครผู ู้สอน เกณฑ์ ฉันทลักษณ์ ตำรำงประเมนิ ผลงำน สรา้ งเปน็ เร่ือง รวม เนือ้ หา (4 คะแนน) (20 คะแนน) ครูผู้สอน (8 คะแนน) คิดเนอ้ื หา วา่ โครงรา่ ง (4 คะแนน) (4 คะแนน) ข้อคิดเห็น .................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

41

42 แบบทดสอบหลงั เรียน เรือ่ ง กำรแตง่ รำ่ ยสุภำพ 1. ขอ้ ใดกล่ำวถูกต้องเกย่ี วกับจำนวนวรรคของร่ำยสภุ ำพ ก. ร่ายสภุ าพ 1 บท มตี ั้งแต่ 4 วรรคขึ้นไป ข. ร่ายสุภาพ 1 บท มีตง้ั แต่ 5 วรรคขึ้นไป ค. รา่ ยสภุ าพ 1 บท มตี ั้งแต่ 6 วรรคขน้ึ ไป ง. รา่ ยสภุ าพ 1 บท มตี ั้งแต่ 3 วรรคข้นึ ไป 2. คำประพนั ธ์ประเภทรำ่ ยสุภำพจะจบลงด้วยคำประพนั ธ์ชนดิ ใด ก. โคลงส่ีสภุ าพ ข. โคลงสองสุภาพ ค. อนิ ทรวิเชยี รฉันท์ ง. กลอนสภุ าพ 3. รปู แบบของคำประพนั ธ์ไทยแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 4. ข้อใดคอื คำจำกัดควำมของ \"รำ่ ย\" ก. คาประพนั ธ์ชนดิ หนง่ึ ทบ่ี ังคับรูปวรรณยกุ ต์ เอก-โท และบงั คับสัมผัส ข. คาประพนั ธช์ นดิ หน่ึงซ่งึ มกี ารกาหนด คณะ พยางค์ จานวนคา และสมั ผัสคล้ายกบั ฉันท์ ค. ลกั ษณะถอ้ ยคาท่ีกวไี ดร้ ้อยกรองขนึ้ เพื่อใหเ้ กิดความไพเราะ ซาบซง้ึ โดยบังคับเสียงหนัก-เบา ของพยางค์ ง. คาประพันธ์ชนดิ หน่ึงท่ีมบี งั คบั สมั ผสั และการลงท้าย แต่ไม่กาหนดวา่ จะต้องแตง่ ก่บี ท หรอื กี่บาทยาวเท่าไรก็ ได้จนจบเน้อื ความ แตต่ ้องเรยี งคาใหค้ ล้องจองกัน 5. คำประพนั ธใ์ นข้อใดนำ่ จะเปน็ บทจบของรำ่ ยสุภำพมำกทีส่ ดุ ก. สา่ พลไกรเกริกหาญ ส่าพลสารสนิ ธพ สบสาตราศรเพลิง เถลิงพระเกยี รติฟ้งุ ฟา้ ลือตรลบแหล่งหลา้ โลกลว้ นสดดุ ี ข. ครั้นทา่ นได้หยบิ เสวย แลนา บ นานเลยลอราช แลนา ใจจะขาดรอนรอน แลนา ถึงสามสมรพน่ี ้อง คิด บ ลุเลยข้อง ขุนแค้นอาดูร ค. ให้ลายลักษณวราบปุ ผาชาตพิ ิเศษ เกดิ ปรากฏในอรุ ะประเทศแหง่ ขา้ พระบาท สมเดจ็ พระโลกนาถกต็ รสั อนุโมทนา โดยบทพระคาถาด่ังนี้ ง. จงปรากฏชอบแล้ว อย่าได้แคล้วราพึง คานึงอยา่ รู้มลาย จงอย่าหายยศพ่อ ตอ่ มว้ ยฟา้ ม้วยสวรรค์ กลั ป์ประลัยอยรู่ ู้ลาญ ภบู าลเจ้าจงจา ตามคาแม่โอวาท

43 6. ขอ้ ใดเป็นลักษณะบังคบั เอก – โท ของโคลงสองสภุ ำพ ก. 2 หลงั 2 5 2 หน้า ข. 2 หนา้ 2 5 2 หลงั ค. 2 หลัง 2 5 2 หลงั ง. 2 หนา้ 2 5 2 หนา้ 7. คำสภุ ำพทนี่ ำมำใช้ในกำรแตง่ รำ่ ยสภุ ำพมีลักษณะตรงตำมข้อใด ก. เป็นคาท่ีไพเราะ ข. เปน็ คากึ่งราชาศัพท์ ค. เป็นคาทไี่ ม่มรี ูปวรรณยกุ ต์ ง. เป็นคาภาษาไทยแทเ้ ทา่ นนั้ 8. ร่ำยสุภำพ บังคับวรรคละก่คี ำ ง. 9 คาขึน้ ไปแต่ไม่เกนิ 12 คา ก. 5 คา ข. 6 คา ค. 3 - 4 คา 9. โคลงสองสภุ ำพต่อไปนีข้ ้อใด ถกู ตอ้ งตำมฉันทลักษณ์ ก. โคลงสองตอ้ งลองแต่ง อย่าแกว่งหาเทา้ เสย้ี น ย่อมช้าใจนา ข. คาประพันธท์ ่านนี้ สอนสั่งตงั้ มัน่ ชี้ ยอ่ มแลว้ เสรจ็ ทัน เวลา ค. เราเรยี นการแตง่ แลว้ จงหมั่นฝึกไม่แคล้ว เพม่ิ แต้มเต็มนา เพอื่ นเอย ง. เป็นสาวสะพร่ังพรม้ิ หนา้ ตาจิม้ ล้มิ จัง ทาตัวอยากเดน่ ดัง ระวังพบฝา่ ยปกครอง 10. ข้อใดเป็นลกั ษณะบงั คับพนื้ ฐำนของคำประพนั ธ์ทุกชนดิ ก. คานา คาสร้อย ข. คณะ สัมผัส ค. ครุ ลหุ คาเอก คาโท ง. คาเป็น คาตาย เสยี งวรรณยกุ ต์ 11. ข้อใดแต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทโคลงสองสภุ ำพ ก. ใครปรานหี นง่ึ บา้ ง เชิญนุชมาแนบข้าง ชว่ ยชชี้ วนชม พฤกษนา ข. ขนุ งามอยู่ไกลกนั บ ทนั นัดกนั ได้ สองแม่ถามไจไ้ จ้ สะทืน้ สะเทินไปมา ค. อนั หมอู่ สรุ า เคยแพ้มาก่อนไซร้ จงกลบั ชานะได้ ดง่ั ถวลิ แน่เทอญ ฯ ง. อันบรมราชผู้ เปน็ หริสิรู้ อุบาย จงผนั ผายและเฝ้า วอนพระวิษณเุ จ้า หรพิ ลนั เถิดนา ฯ 12. ในบรรดำรำ่ ยท้ังหมดในวรรณกรรมไทย รำ่ ยชนดิ ใดนิยมแตง่ กนั แพรห่ ลำยมำจนถึงปจั จุบันน้ี ก. รา่ ยด้ัน ข. รา่ ยยาว ค. ร่ายสภุ าพ ง. ร่ายโบราณ

44 13. คำประพันธ์ในข้อใดทเ่ี หมำะสมท่สี ดุ ในกำรเติมลงในร่ำยต่อไปนี้ \"สรวมสวัสดชิ ัย ................เกยี รติปรำกฏขจรขจำย สบำยท่วั แหลง่ หลำ้ ฝนฟำ้ ชุ่มฉ่ำชล\" ก. นครศรอี ยธุ เยศ ข. ฝ่อใจห้าวบมหิ าญ ค. เกริกกรุงไกรเกรยี งยศ ง. เบกิ พระยศทศธรรเมศ 14. คำที่มรี ูปวรรณยกุ ต์ใดไม่นยิ มนำมำใชใ้ นกำรแตง่ ร่ำยสภุ ำพ ก. คาทม่ี ีรปู วรรณยุกตเ์ อก ข. คาท่มี รี ปู วรรณยุกตโ์ ท ค. คาทไ่ี ม่มรี ูปวรรณยกุ ต์ ง. คาที่มรี ูปวรรณยุกต์ตรแี ละจตั วา 15. กวใี ชค้ ำประพันธ์ประเภทร่ำยในกำรแตง่ ลลิ ติ ตะเลงพ่ำยเมอ่ื ใด ก. เมือ่ ต้องการพรรณนาถึงการยกทพั ต่อสู้ ข. เมอ่ื ต้องการดาเนินเรอ่ื งให้รวดเร็ว ค. เมือ่ ต้องการจะบรรยายเร่ืองดว้ ยความไพเราะ ง. เม่อื ตอ้ งการให้เกิดภาพพจน์เป็นบางครัง้ บางคราว 16. ข้อใดกล่ำวถึงลกั ษณะของรำ่ ยไดถ้ กู ต้อง ข. รา่ ยหน่งึ บทมี 4 วรรค ก. ร่ายบงั คบั คาครุ ลหุ ง. รา่ ยมลี กั ษณะคลา้ ยกับโคลงสส่ี ุภาพ ค. ร่ายบงั คับ สัมผสั คลอ้ งจองกันทุกวรรค 17. ควรใช้วรรคใดต่อจำกวรรคทีก่ ำหนดให้จงึ จะถกู ต้องตำมข้อบงั คบั ของรำ่ ยสุภำพ \"ลูกธัญรตั นล์ ือนำม …………..” ก. เด่นดังชอื่ ก้องไกล ข. นามน้ีมีทมี่ า ค. รอยยม้ิ เสรมิ ความงาม ง. ยามเรียนบ่เคยท้อ 18. ข้อใดแตง่ โดยใชศ้ ลิ ปะกำรสรรคำ สัมผสั ในและโวหำรภำพพจน์ ก. พระคุณแม่มากมี จงทาดเี พ่ือทา่ น ข. พระคุณแม่มากล้น เป็นล้นพน้ มากยง่ิ ค. พระคุณแม่ย่ิงล้า บุญคุณค้าเหนอื เกลา้ ง. พระคุณแมเ่ ทียบฟ้า ทว่ั หล้าฟ้ารายรอบ 19. บทประพนั ธ์ประเภทลิลิต หมำยถงึ ข้อใด ข. โคลงส่สี ภุ าพ, ร่ายสภุ าพ ก. กลอนแปด ง. ร่ายสภุ าพ โคลงสอง, โคลงสาม และโคลงสส่ี ุภาพ ค. กลอน โคลง กาพย์ ฉนั ท์

45 เจำ้ อยธุ ยำมบี ุตร ล้วนยงยทุ ธเ์ ชีย่ วชำญ หำญศึกบมิย่อ ต่อสู้ศกึ บมหิ ยอน ไปพ้ กั วอนว่ำใช้ ใหธ้ หวงธหำ้ ม แม้นเจ้ำคร้ำมเครำะหก์ ำจ จงอยำ่ ยำตรยทุ ธนำ เอำพสั ตรำสตรี สวมอนิ ทรยี ์สรำ่ งเครำะห์ 20. คำประพนั ธ์ขำ้ งตน้ แต่งดว้ ยคำประพนั ธช์ นดิ ใด และมำจำกเร่อื งใด ก. โคลงส่ีสภุ าพ, โคลงโลกนติ ิ ข. รา่ ยยาว, มหาเวสสนั ดรชาดก ค. อินทรวเิ ชียรฉนั ท,์ มัทนะพาธา ง. ร่ายสภุ าพ, ลิลิตตะเลงพ่าย

46

47 กอ่ นเรยี น จำนวน 20 ขอ้ เฉลยแบบทดสอบ เฉลย ขอ้ เร่ือง กำรแตง่ ร่ำยสภุ ำพ ค 1 ข 2 เฉลย ข้อ ค 3 ง 11 ง 4 ค 12 ง 5 ก 13 ง 6 ข 14 ง 7 ก 15 ข 8 ค 16 ข 9 ข 17 ง 10 ก 18 ค 19 เฉลย หลงั เรียน จำนวน 20 ข้อ ง 20 ก ข้อ ค 1 เฉลย ขอ้ ค 2 ข 11 ง 3 ข 12 ข 4 ง 13 ค 5 ง 14 ง 6 ข 15 ง 7 ก 16 ง 8 ค 17 ง 9 ก 18 10 ค 19 ข 20

48 เฉลยแบบฝึกเสิมทกั ษะ “คยุ เฟื่องเรือ่ งร่ำย” คำส่ัง 1. ให้นักเรียนคัดลอกคาประพันธ์นี้ เฉพาะส่วนท่ีเป็นโคลงสองสุภาพ (ที่พิมพ์ตัวหนา) เขียนด้วย ลายมอื ท่เี ป็นระเบียบสวยงาม และอ่านง่าย กล่าวถึงขุนผู้ห้าว นามท่านท้าวแมนสรวง เปนพระยาหลวงผ่านเผ้า เจ้าเมืองสรวงมีศักดิ์ ธมีอัคเทพีพิลาส ชื่อนางนาฏบุญเหลือ ล้วนเครือท้าวเครือพระยา สาวโสภาพระสนม ถ้วนทุกกรมกานัล มนตรีคัลคับคั่ง ช้างม้ามั่งมหิมา โยธาเดีย รดาษหล้า หมู่ทกล้าทหาร เฝ้าภูบาลนองเนือง เมืองออกมากมียศ ท้าวธมีเอารสราชโปดก ช่ือพระลอดลิ กลม่ ฟำ้ ทิศตวนั ออกหล้ำ แหลง่ ไส้สมี ำ ทำ่ นนำฯ (ลิลิตพระลอ) ………………..……………ชื่อพระลอดิลกล่มฟำ้ ทศิ ตวนั ออกหล้ำ แหล่งไส้สีมำ ท่ำนนำฯ ………………………………. ……………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. รา่ ยร่ายเรงิ รารา ยามระยาเยื้องยก วิหคเห่าเสียงหมา วิฬาร์ลน่ั เสยี งหมู มจั ฉาถูไถเมฆ ตัวเลขปากเปน็ มัน กลนื อักษรพลนั ลงไส้ รุ้งร้างไรเ้ จด็ สี ดนตรีจิกกาธาร ขานมากับกระดูก ผูกศลิ ปเ์ ป็นศพไว้ รอเน่ำกับก่ิงไม้ มำกแรง้ มำรมุ อยูน่ ำ (กานติ ณ ศรัทธา) ……………………………………… ผกู ศิลป์เปน็ ศพไว้ .................. รอเนำ่ กับกง่ิ ไม้ …………………………………………..… ……………………………………… มำกแร้งมำรมุ ……………………. อยนู่ ำ …………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ประเมินผล คะแนนเต็ม ได้ ข้อ (1) และ (2) ทาถกู ต้อง ลายมอื สวยงาม ข้อละ 5 คะแนน 10

49 เฉลยแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ “สมั ผสั สระ สมั ผสั อกั ษร สะท้อนเสน่ห์แห่งภำษำ” คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นวงกลมลอ้ มรอบตัวอกั ษรหน้าคาตอบขอ้ ท่ีถกู ต้อง 1. สัมผสั สระ ในการเขยี นบทร้อยกรองหมายถงึ อะไร ก. คาที่มีอกั ษรหมู่เดียวกนั มารับส่งสัมผัสกนั ข. คาท่มี เี สยี งพยญั ชนะต้นเดียวกนั มารบั ส่งสัมผสั กนั ค. คาทีม่ เี สยี งวรรณยุกตเ์ ดียวกนั มารบั ส่งสัมผสั กนั ง. คาท่ีประสมสระเสียงเดยี วกนั และตัวสะกดมาตราตัวสะกดเดยี วกันมารับสง่ สัมผสั กนั 2. คาในขอ้ ใดถือเปน็ สมั ผัสสระ ของคาวา่ กล้าม ทกุ คา ก. จืด เจด็ จาก ข. ข้าม สาม คร้าม ค. ขาย ได้ วาย ง. กาด ด้าม ตาม 3. คาว่า “ทา่ น” กบั “คร้นั ” ไมถ่ ือเป็น สัมผสั สระ เพราะเหตุใด ก. เปน็ พยัญชนะต้นคนละเสยี ง ข. มีเสยี งวรรณยุกต์ตา่ งกัน ค. “ทา่ น” ใช้สระเสยี งยาว, “ครั้น” ใชส้ ระเสียงสน้ั ง. “ท่าน” เปน็ อักษรเดีย่ ว, “ครนั้ ” เปน็ อักษรควบกล้า 4. ข้อใดเปน็ สัมผัสสระของวรรคต่อไปนี้ “เนอื้ ทองน่ิมน้องไทย” ก. เนือ้ – นิม่ ข. ทอง – ไทย ค. นิ่ม – นอ้ ง ง. ทอง – น้อง 5. คาใดเปน็ สมั ผัสสระของคาว่า “เป็น” ก. เดน่ – เลน่ ข. เข็ญ – เยน็ ค. เอน็ – เช่น ง. เวน้ – เหน็ 6. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้องเกยี่ วกับสัมผสั สระในร่ายสภุ าพ ก. สมั ผัสสระเกิดภายในวรรคเดยี วกัน ข. สมั ผสั สระเกดิ ได้แม้จะตา่ งวรรคกนั ค. สมั ผัสสระเป็นสัมผัสระหวา่ งบท ง. สัมผัสสระมเี สียงพยญั ชนะเสียงต้นเดียวกัน 7. ข้อใดเป็นสัมผสั สระ ก. ภูมิ – ตมุ่ ข. แข็ง – แกร่ง ค. วรรณ – ส้ัน ง. เปรต – เจด็ 8. คาประพนั ธต์ ่อไปนี้ มีสัมผัสสระรวมก่แี ห่ง “รรู้ บั ตอ้ งรใู้ ห้ ด้วยหวั ใจเปี่ยมไมตรี คนดตี ้องทำตน ใหเ้ ป็นคนศรีสงั คม” ก. 4 แห่ง ข. 5 แหง่ ค. 6 แหง่ ง. 7 แหง่ 9. จากขอ้ 8 วรรคใดไม่มีสมี ผัสสระ ก. วรรคที่ 1,2 ข. วรรคที่ 3,4 ค. สัมผัสทุกวรรค ง. ไม่สัมผัสทกุ วรรค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook