Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Disease in pregnancy E-1

Disease in pregnancy E-1

Published by PINKAEW CHOTEAMNUAY, 2018-08-24 04:33:20

Description: Disease in pregnancy E-1

Search

Read the Text Version

การใชก้ ระบวนการพยาบาลในการดแู ลมารดา และทารกทีมีปัญหาสขุ ภาพ รว่ มกบั การตงั ครรภ์ ใน ระยะตงั ครรภ์ ระยะคลอด และ ระยะหลงั คลอด

ตวั อยา่ งสถานการณ์หญิงตงั ครรภแ์ รกอาย ุ 36 ปี อายคุ รรภ์ 26 สปั ดาห์ สงู 155เซนติเมตร นําหนกั 75 กก. มาฝากครรภต์ ามนดั ตรวจปั สสาวะพบ Albumin = negative, Sugar = +1 แพทยใ์ ห้รบั ประทานกลโู คส 50 กรมั อีก 1 ชม.ต่อมาตรวจหาระดบั กลูโคสในพลาสมาได้ 144 mg/dl แพทยน์ ดั ตรวจ OGTT ในสปั ดาหต์ ่อมา ผลการตรวจพบ* FBS = 110 mg/dl * 1 hr = 200 mg/dl* 2 hr = 170 mg/dl * 3 hr = 100 mg/dlและนดั ตรวจ FBS และ 2-hr pp อีก 1 wks ผลการตรวจFBS ได้ 110 mg/dl และ 2-hr pp ได้ 145 mg/dl

โรคเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์ชนิดของ DM ขณะตงั ครรภ์ 1. Type I : ขาดอินซลู ิน Overt DM 2. Type II : ดือต่ออินซลู ิน 3. GDM ( Gestational DM : เกิดระหว่าง ตงั ครรภ์ )ผลของการตงั ครรภต์ ่อโรค  ใน Type I การปรบั ขนาดยาจะยากขึน  เกิดภาวะ DKA ไดง้ ่ายขึน

ผลของโรคเบาหวานต่อมารดา การแทง้ บตุ ร การคลอดกอ่ นกาํ หนดเพิมขึน Hyperglycemia และ Hypoglycemia UTI , การติดเชือราในช่องคลอด Preeclampsia Hydramnios ปัญหาการคลอดและตกเลอื ดหลงั คลอด

ผลของโรคเบาหวานต่อทารก Hypoglycemia ชว่ งหลงั คลอด DFIU ทารกตายปรกิ ําเนิด RDS Macrosomia ทารกตวั โต Congenital Anomalies (หวั ใจ สมอง ลาํ ตวั ) Electrolyte Imbalance Hyperbilirubinemia

หญิงตงั ครรภท์ ีมีความเสียงต่อการเกดิ GDM ประวตั ิเป็ น GDM ในครรภก์ ่อน หรอื เป็ น DM มาก่อน ประวตั ิมีโรคเบาหวานในญาติสายตรง ประวตั ิคลอดบตุ รนําหนกั มาก (> = 4000 กรมั ) เคยคลอดทารกเสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหต ุ อว้ น , พบนําตาลในปัสสาวะ ≥ 2 ครงั เคยคลอดทารกพิการแต่กําเนิดโดยไมท่ ราบสาเหต ุ ความดนั โลหิตสงู เคยคลอดบตุ รนําตาลในเลือดตํา อายมุ ากกว่า 35 ปี ( บางสถาบนั นบั ทีมากกว่า 30 ปี )

วิธีการตรวจแบบ 2 ขนั ตอน (Two-step)การตรวจคดั กรองโรค GDM:Glucose Challenge test(GCT)  GA 24-28 สปั ดาห์ หรอื เมือมา ANC ครงั แรก  ไมต่ อ้ ง NPO ใหร้ บั ประทาน Glucose 50 gm  เจาะเลอื ดตรวจ Blood Sugar หลงั 1 ชวั โมง  แปลผล ถา้ > = 140 mg% ถือว่าผิดปกติ สง่ ตรวจ OGTTการตรวจ Oral Glucose Tolerance Test ( OGTT )  NPO 8 - 14 ชวั โมง  เจาะเลือดตรวจ FBS  รบั ประทาน Glucose 100 gm  เจาะเลอื ดตรวจ Blood Sugar หลงั 1 , 2 และ 3 ชวั โมง

วิธีการตรวจแบบ 1 ขนั ตอน (One-step) คดั กรองดว้ ยการทํา 75 g Oral Glucose Tolerance Test ( 75 g, 2 hours OGTT) ใหก้ าร วินิจฉยั โรคเบาหวานขณะตงั ครรภเ์ มือคา่ ระดบั นําตาลกลโู คสในเลือดคา่ ใดค่าหนึงมากกว่าหรอื เท่ากบั fasting 92 mg/dL ; 1-hour 180 mg/dL และ 2-hour 153 mg/dL

การแปลผล OGTT : คา่ ปกติ1. FBS < 95,105 mg%2. 1 Hr< 180,190 mg% ต้องผดิ ปกตอิ ย่างน้อย 2 ค่า3. 2 Hr< 155,165 mg%4. 3 Hr< 140,145 mg% GDMนดั ตรวจ FBS และ 2-hr pp อีก 1 wksGDM แบ่งเป็ น 2 ชนิดคือ GDM A1 (FBS<105 mg%, 2-hr pp<120) GDM A2 (FBS≥105 mg%, 2-hr pp ≥ 120)

Gestational Diabetes Class A1 ควบคมุ ดว้ ยอาหาร- Abnormal OGTT ตงั แต่ 2 คา่ ขึนไป– fasting plasma glucose < 105 mg%,-postprandial plasma glucose < 120 mg% Class A2 ควบคมุ ดว้ ย insulin– Abnormal OGTT ตงั แต่ 2 คา่ ขึนไป– fasting plasma glucose >= 105 mg%,-postprandial plasma glucose >= 120 mg%

วิธีการและเกณฑว์ ินิจฉยั GDMวิธีดําเนินการ ปรมิ าณ ระดบั พลาสมา่ กลโู คส (mg/dl) ทีเวลา วินิจฉยั กลโู คส ทีใช้ (ชม.) หลงั ดืม GDM เมือNDDG 100 g พบค่าCarpenter& 100 gCoustan กอ่ นดืม 1 ชม. 2 ชม. 3 ชม. ผิดปกติADA 75 gWHO 75 g 105 190 165 145 ≥2 คา่IADPSG 75 g 95 180 155 140 ≥2 ค่า 95 180 155 - ≥2 คา่ <126 - 140 - ที 2 ชม. 153 - คา่ ใดค่าหนึง 92 180

White's classificationClass Onset Fasting 2-hour Therapy Plasma Postprandial glucose Diet Insulin glucose TherapyA1 Gestational <105 มก./ดล. <120 มก./ดล. InsulinA2 Gestational >105 มก./ดล. >120 มก./ดล. Insulin InsulinClass Age of onset Duration Vascular Insulin Insulin (years) Disease InsulinB Over 20 <10 NoneC 10 to 19 10 to 19 NoneD Before 10 >20 Benign RetinopathyF Any Any NephropathyaR Any Any Proliferative RetinopathyH Any Any Cardiac disease

การดแู ลรกั ษาเบาหวานระยะกอ่ นตงั ครรภ์1. ระยะกอ่ นตงั ครรภ์ : Overt DM ควบคมุระดบั นําตาล๏ มีการประเมินสภาพของหวั ใจ ไต ตา และ BP ๏ ควบคมุ ระดบั นําตาลใหอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กติ 3 เดือนกอ่ นทอ้ ง ค่า HbA1c < 6.5 หรอื 7% ๏ ใหก้ ิน Folic acid วนั ละ 1 mg อยา่ งนอ้ ย 3 Mกอ่ นทอ้ งและไตรมาสแรกของการทอ้ ง เพือลด NTD ในทารก

การดแู ลรกั ษาเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์2. ระยะตงั ครรภ์ : ANC High-RiskClinic GDM A1 : Diet Control GDM A2 + Overt DM Insulin SC การ F/U FBS 90-100 / 60-90 mg% 1-hr PPBS < 140 mg% 2-hr PPBS < 120 mg%

การดแู ลรกั ษาเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์ (ต่อ) การควบคมุ อาหาร ควรประกอบดว้ ย คารโ์ บไฮเดรต , โปรตีน , ไขมนั รอ้ ยละ 55 , 20 , 25 หรอื 50 , 20 , 30 โดย แบ่งเป็ น 3 มือหลกั และ 3 มือเสรมิ การออกกําลงั กาย ควรหลกี เลยี งท่านอนหงาย ถา้ มีการหด รดั ตวั ของมดลกู ควรหยดุ ทนั ที การประเมินภาวะแทรกซอ้ นในขณะตงั ครรภ/์ SMBG การใหอ้ ินซลู นิ เพือควบคมุ ระดบั นําตาลหลงั อาหารใหอ้ ยู่ ในช่วง 70-120 mg/dl (หลงั อาหาร 1 ชม.<140mg/dl หลงั อาหาร 2 ชม. < 120 mg/dl) การควบคมุ ระดบั กลโู คส ใหร้ ะดบั HbA1c < 6.5 หรอื 7 %

การดแู ลรกั ษาเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์ (ต่อ) ♠ การวินิจฉยั กอ่ นคลอด เชน่ u/s ตรวจ alpha – fetoprotein (MSAFP) ที GA 16 wks เพือ คน้ หา NTD ♠ การประเมินสขุ ภาพทารกในครรภ์ เชน่ การนบั ลกู ดินที GA 28-30 wks NST,CST, BPP ♠ การทดสอบความสมบรู ณข์ องปอด ในกรณีไมท่ ราบอาย ุ ครรภ์ จะใชค้ ่า L/S ratio >2 % ♠ วางแผนการคลอด เชน่ นดั คลอดเมือ GA 38-39 wks หรอื นดั C/S

การดแู ลรกั ษาเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์ (ต่อ)3. ระยะคลอด 3.1 GDM A1  ใหค้ ลอดเมืออายคุ รรภค์ รบกาํ หนด  ระหว่างการคลอดใหด้ แู ลตามปกติ F/U BS เป็ นระยะครงั คราว  หลงั คลอด ใหต้ รวจ FBS อีกครงั ดแู ลตามปกติ 3.2 GDM A2  ใหค้ ลอดเมืออายคุ รรภ์ 38-39 สปั ดาห์  Admit ลว่ งหนา้ เพือปรบั เปลยี นอินซลู ิน แลว้ Induction  ระหว่างการคลอด ให้F/U BS อยา่ งใกลช้ ิด และใหอ้ ินซลู นิ ตาม BS

การดแู ลรกั ษาเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์ (ต่อ)  การคลอดใหด้ แู ลตามปกติ การ C/S ตามขอ้ บ่งชี  หลงั คลอดใหห้ ยดุ อินซลู นิ ทนั ที ดแู ลตามปกติ  F/U FBS วนั รง่ ุ ขึน 3.3 Overt DM  การดแู ลเหมือนใน GDM A2  หลงั คลอดตอ้ ง F/U BS เป็ นระยะและตอ้ งใหอ้ ินซลู นิ ตาม BS จนกว่าจะกินได้ แลว้ หยดุ อินซลู ินและใชย้ ารบั ประทานควบคมุ เบาหวาน

การดแู ลรกั ษาเบาหวานในหญิงตงั ครรภ์ (ต่อ)4. ระยะหลงั คลอด  GDM A1 และ A2 ใหด้ แู ลหลงั คลอดตามปกติ นดั ตรวจ OGTT หลงั คลอด 6 สปั ดาห์  Overt DM ให้ F/U ทแี ผนกอายรุ กรรม5. การคมุ กําเนิด ♠ GDM สามารถคมุ กําเนิดไดท้ กุ ชนิด ♠ Overt DM ควรใชย้ าฉีด ยาฝั ง หรอื ทําหมนั6. การใหน้ มบตุ ร สามารถใหน้ มบตุ รได้

การดแู ลทารกแรกเกดิ1. ประเมิน Apgar score ที 1 และ 5 นาที2. การใหค้ วามอบอน่ ุ และการป้ องกนั การสญู เสีย ความรอ้ น3. ถา้ ขาด O2 ให้ O2 และใหค้ วามอบอ่นุ4. 24 hr แรกป้ องกนั การเกดิ hypoglycemia (นําตาล < 40 mg/dl) อาการ สนั ซึม ตวั อ่อน ปวกเปี ยก เขียว รอ้ งเสียงแหลม ดดู ไม่ดี T ตําลง และทารกตอ้ งไดร้ บั การตรวจเลอื ดเป็ นระยะ

การพยาบาล : ตวั อยา่ งขอ้ วินิจฉยั การพยาบาล1. ขาดความรเู้ กียวกบั โรคทีเป็ นอยแู่ ละวิธีการปฏิบตั ิตวั2. มีโอกาสเกิดภาวะนําตาลในเลือดตําหรอื นําตาลในเลอื ดสงู3. ทารกมีโอกาสเจรญิ เติบโตชา้ ในครรภ์ ตวั ใหญ่กว่าปกติ พิการแต่กําเนิด4. วิตกกงั วลเกียวกบั ทารกในครรภ์5. มีโอกาสทีไมส่ ามารถคลอดบตุ รไดอ้ ยา่ งปลอดภยั6. ทารกมีโอกาสนําตาลในเลอื ดตํา7. มีโอกาสเกิดการตกเลือดหลงั คลอดหรอื ติดเชือหลงั คลอด



ตวั อยา่ งสถานการณ์ หญิงตงั ครรภแ์ รกอาย ุ 23 ปี อายคุ รรภ์ 24 สปั ดาห์ มาตรวจครรภต์ ามนดั ใหป้ ระวตั ิว่ามี อาการอ่อนเพลีย หงดุ หงิดงา่ ย นอนไม่คอ่ ยหลบั หิวบ่อย ใจสนั เป็ นบางครงั BP = 110/90 mmHg P = 106 ครงั /นาที R = 20 ครงั /นาที คลาํ ไทรอยด์ พบว่าโตขึนเลก็ นอ้ ย

การพยาบาลมารดาทีมีต่อมไทรอยด์ ทํางานผิดปกติความหมาย ภาวะทีมีการทํางานของต่อมไทรอยดผ์ ดิ ปกติ ทงั ที เกดิ จากต่อมไทรอยดท์ ํางานมากเกนิ ไป หรอื นอ้ ย เกนิ ไป โดยความผดิ ปกตินีอาจเกดิ กอ่ นการตงั ครรภ์ หรอื ตรวจพบครงั แรกเมือตงั ครรภก์ ไ็ ด้

ภาวะต่อมไทรอยดท์ ํางานมาก (Hyperthyroidism)สาเหต ุ เช่น 1. โรคเกรฟ พบไดบ้ ่อยทีสดุ เกิดจากรา่ งกาย มีภมู ิตา้ นทานตนเอง 2. โรคพลมั เมอร์ 3. เนืองอกเป็ นพิษ

อาการและอาการแสดง1. ต่อมไทรอยดม์ ีขนาดใหญ่ขึน2. หวั ใจเตน้ เรว็ เกิน 100 ครงั /นาที อาจพบ systolic murmur ได้3. ชีพจรเตน้ เรว็ ในขณะพกั สงู กว่า 100 ครงั /นาที4. นําหนกั ไม่เพิม5. หิวบ่อย กินจุ6. ตาโปน7. ขีรอ้ น หงดุ หงิด ตกใจง่าย8. มือสนั

การวินิจฉยั โรค1. การซกั ประวตั ิ2. การตรวจรา่ งกาย3. การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ 3.1 ตรวจ thyroid function THS ตํา T3 , T4 สงู FT4 สงู 3.2 การตรวจเลือด เช่น CBC

ผลกระทบ ต่อมารดา ⊙ แทง้ และคลอดก่อนกําหนด ⊙ PIH หรอื Heart failure ⊙ Abruptio placentra ต่อทารก ⊙ IUGR พิการแต่กําเนิด หรอื ตายคลอดสงู ⊙ ต่อมไทรอยดเ์ ป็ นพิษแต่กําเนิด ⊙ เกิดภาวะพรอ่ งไทรอยดฮ์ อรโ์ มนแต่กําเนิด

แนวทางการรกั ษา การใชย้ า ไดแ้ ก่ PTU หรอื MMI ยบั ยงั การเปลยี น T3 เป็ น T4 ทีระดบั เซลล์ และมีการตรวจ FT4 และ TSH เป็ นระยะ S/E มีผืน WBC ตํา ถา้ มีไข้ เหงือก อกั เสบ เจ็บคอ อาจตอ้ งหยดุ ยา การผา่ ตดั ไม่นิยม ถา้ จําเป็ นควรทําในไตรมาสที 2 GA 22-24 wks การใชส้ ารรงั สี เป็ นขอ้ หา้ มในสตรตี งั ครรภ์ และ มารดาทีใหน้ มลกู

แนวทางการรกั ษาหลงั คลอด ใหม้ ารดาเลียงลกู ดว้ ยนมตนเอง ถา้ ไดร้ บั PTU ≤ 150-200 mg/d หรอื MMI ไมเ่ กิน 10 mg/d โดยใหห้ ลงั หารใหน้ ม หรอื PTU ≤ 300 mg/d หรอื MMI ≤ 20 mg/d (เด่นหลา้ ปาลเดชพงศ,์ 2551) กรณีหยดุ ยาตา้ นไทรอยดก์ ่อนคลอดและไม่มีอาการแสดงทาง คลินิก ใหต้ รวจ TSH , FT4 , FT4 I หลงั คลอด 6 wks

การพยาบาลระยะตงั ครรภ์ ใหข้ อ้ มลู เรอื งโรค การสงั เกตอาการผิดปกติ การรบั ประทานอาหาร วนั ละ 5-6 มือ ดืมนําเพิมขึน พกั ผอ่ นใหม้ ากขึน อยา่ งนอ้ ยคืนละ 8 ชม. การรบั ประทานยา การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย การระวงั อบุ ตั ิเหต ุ การนบั ลกู ดิน

การพยาบาลระยะคลอดและหลงั คลอด จดั ใหน้ อนศีรษะสงู ประเมิน v/s สภาพทารกในครรภ์ ภาวะ Heart failure บรรเทาความเจ็บปวด ระยะที 2 ของการคลอด ใหเ้ บ่งนอ้ ยทีสดุ หลงั คลอดฉีดยา กระตนุ้ การหดรดั ตวั ของมดลกู ประเมินทารกหลงั คลอด อาจมีง่วงซึม เคลอื นไหวชา้ ไมค่ อ่ ยรอ้ ง การเลียงลกู ดว้ ยนมแม่ หา้ มใชย้ าเม็ดคมุ กําเนิดทีมีเอสโตรเจน

ตวั อยา่ งขอ้ วินิจฉยั การพยาบาล มีโอกาสเกิดการทํางานของหวั ใจลม้ เหลว เนืองจากมีระดบั ไทรอยดฮ์ อรโ์ มนสงู มีโอกาสเกิดภาวะหวั ใจลม้ เหลว เนืองจากตอ้ งสบู ฉีดเลือดไปเลียงเซลลใ์ นรา่ งกายมากเกินไป มีโอกาสเกดิ ภาวะต่อมไทรอยดว์ ิกฤติจากการ ทํางานของต่อมไทรอยดม์ ากกว่าปกติ และเจ็บ ครรภค์ ลอด



ภาวะต่อมไทรอยดท์ ํางานนอ้ ย (Hypothyroidism) เป็ นภาวะทีพบไดน้ อ้ ยในสตรตี งั ครรภ์สาเหต ุ ☻ ไทรอยดอ์ กั เสบชนิดฮชั ชิโมโต ทําใหม้ ีการ ทําลายเนือต่อมไทรอยด์ ☻ การผา่ ตดั หรอื การใชส้ ารรงั สรี กั ษาโรค ไทรอยดเ์ ป็ นพิษ ☻ การขาดสารไอโอดีน

อาการและอาการแสดง อ่อนเพลีย เชืองชา้ เซืองซึม นําหนกั เพิม ออกกาํ ลงั กายไดน้ อ้ ยลง ทนความเยน็ ไมไ่ ด้ เกดิ ตะครวิ บ่อย ความอยากอาหารลดลง ทอ้ งอืด ทอ้ งผกู เสียงแหบ ผมรว่ ง เล็บเปราะและหกั ง่าย ผวิ หนงั แหง้ แตกหยาบ บวมกดไมบ่ ๋มุ หนงั ตาบวม อาจมีคอพอกหรอื ไม่กไ็ ด้

การวินิจฉยั และการรกั ษาการวินิจฉยั ⊙ ประวตั ิ ⊙ อาการและอาการแสดงดงั กลา่ วมาแลว้ ⊙ การตรวจรา่ งกาย เช่น ต่อมไทรอยดม์ ีขนาดใหญ่ขนึ ⊙ การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ FT4 ตํา TSH สงูการรกั ษา ⊙ ใหย้ า Levothyroxine ใชไ้ ดป้ ลอดภยั ในสตรี แตลงั ะคTรรSภHแ์ ละใทหกุ น้ ไมตบรมตุ ารสขแณละะไหดลร้ งับั คยลาอตดอ้ ง6ต-ร8วwจ kTs4

ผลของต่อมไทรอยดท์ ํางานนอ้ ยต่อการตงั ครรภ์ ต่อมารดา ♠ แทง้ บตุ ร คลอดกอ่ นกาํ หนด ♠ ทารกตายในครรภ์ ♠ PIH , Abruptio placenta ♠ PPH ต่อทารก ♠ ปั ญญาอ่อน , Critinism

การพยาบาล ใหค้ วามรเู้ กยี วกบั โรค การรบั ประทานยาไทรอยด์ การรบั ประทานอาหารใหเ้ พียงพอ การพกั ผอ่ น ประมาณวนั ละ 10 ชม. การมาฝากครรภต์ ามนดั เจาะเลือดทารกตรวจไทรอยดฮ์ อรโ์ มน ระยะคลอดเฝ้ าระวงั myxedema coma จะมี T ตํา HR ชา้ DTR ชา้ /หายไป ความรสู้ ึกตวั ลดลง สงั เกตอาการ hypothyroidism หลงั คลอด

ตวั อยา่ งขอ้ วินิจฉยั การพยาบาล เมตาบอลิซึมของรา่ งกายลดตําลงเนืองจากขาด ไทรอยดฮ์ อรโ์ มน ทารกมีภาวะเสียงต่อครติ ินิซึม มีความวิตกกงั วลเกยี วกบั โรค แผนการรกั ษา และภาวะแทรกซอ้ นทงั ของตนเองและทารกใน ครรภ์



สถานการณต์ วั อยา่ ง หญิงตงั ครรภแ์ รก อาย ุ 35 ปี อายคุ รรภ์ 34 สปั ดาห์ มีอาการเหนือยง่าย ใจสนั รสู้ ึกเจ็บ หนา้ อกขณะกวาดบา้ นถบู า้ น BP = 130/90 mmHg P =116 ครงั /นาที R= 24ครงั /นาที แพทยต์ รวจพบหวั ใจเตน้ ไม่ สมําเสมอจึงใหน้ อนโรงพยาบาล

การพยาบาลมารดาทีเป็ นโรคหวั ใจ โรคหวั ใจทีพบบ่อยทีสดุ เรยี งตามลาํ ดบั ดงั นี Rheumatic heart disease Congenital heart disease Coronary heart disease

ผลกระทบ ต่อมารดา ► การวินิจฉยั โรคยากขนึ อตั ราการตายเพิมขึน ► การดําเนินโรคเลวลง เกดิ heart failure ได้ ► โอกาสเกดิ bacterial endocarditis สงู ขึน ต่อทารก ► การแทง้ การคลอดกอ่ นกําหนด ทารกตายในครรภ์ ► นําหนกั แรกเกดิ นอ้ ยกว่าปกติ

อาการและอาการแสดง1. หอบเหนือย นอนราบไมไ่ ด้2. หอบเหนือยเป็ นพกั ๆ ชว่ งกลางคืน3. Cyanosis 4. Clubbing of finger5. เสน้ เลือดดําทีคอโป่ ง 6. Cardiomegaly7. Arrhythmia 8. Chest pain9. Diastolic murmur , Systolic murmur10. Noctural cough , Hemoptysis11. Syncope

การจําแนกความรนุ แรงของโรคหวั ใจ :Functional Classification NYHAClass I : ทํากจิ วตั รต่างๆไดต้ ามปกติClass II : สบายดีเมืออยเู่ ฉย ทํากจิ วตั ร ตามปกติแลว้ มีอาการClass III : สบายดีเมืออยเู่ ฉย ทํากจิ วตั รเบาๆ แลว้ มีอาการClass IV : มีอาการเมืออยเู่ ฉยๆ

การดแู ลรกั ษา⊙ระยะกอ่ นตงั ครรภ์ : ใหค้ ําแนะนําและคําปรกึ ษา ตงั ครรภ์ไดห้ รอื ไม่ ประเมิน 1.ชนิดของโรคหวั ใจ 2. Functional Class ( Class III และ IV ไม่แนะนําใหต้ งั ครรภ์ )

การดแู ลรกั ษา (ต่อ)⊙ ระยะตงั ครรภ์ Class I , II High-Risk Clinical ANC แนะนํายตุ ิการ Class III , IV ตงั ครรภ์(ถา้ ตอ้ งการมีบตุ ร ใหส้ ง่ ต่อยงั สถานพยาบาลทีมี ศกั ยภาพเพียงพอ)

การดแู ลรกั ษา (ต่อ) การป้ องกนั ภาวะแทรกซอ้ นทีจะทําใหห้ วั ใจทํางานมากขึน การป้ องกนั ภาวะหวั ใจลม้ เหลว และการติดเชือ นําหนกั ตลอดการตงั ครรภไ์ ม่ควรเกิน 10 กิโลกรมั ลดอาหารเค็ม ลดการออกกําลงั กายทีรนุ แรง หลีกเลียงการใชย้ าโดยไม่จําเป็ น งดดืมสรุ าและสบู บหุ รี พกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอ การรบั ประทานยา เชน่ Digitalis , Diuretic

การดแู ลรกั ษา (ต่อ)⊙ ระยะคลอด ใหค้ ลอดขณะอาย ุ 38–39 สปั ดาห์ (นดั Induction)  การดแู ลระหว่างเจ็บครรภค์ ลอด * Painless Labour : Continuous Epidural anesthesia * ใหน้ อนตะแคงศีรษะสงู * การวดั สญั ญาณชีพ เพือป้ องกนั ภาวะหวั ใจลม้ เหลว * การให้ O2 canular * การใหย้ า digitalis , diuretic


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook