Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมบัติผู้ดี

สมบัติผู้ดี

Published by Patcharanun kettim, 2019-07-31 00:23:51

Description: สมบัติผู้ดี

Search

Read the Text Version

สมบตั ิผูด้ ี เจา้ พระยาเสด็จสุเรนทราธิบดี (มรว. เปยี มาลากุล ณ อยธุ ยา) ทรงเรยี บเรยี ง หนงั สือสมบตั ิของผู้ดี เจ้าพระยาพระเสด็จสเุ รนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปยี มาลากุล) ทรงเรยี บเรียง พ.ศ. ๒๔๕๕ “เปน็ หนงั สือที่แนะนาให้อา่ น เหมาะสาหรับคนทกุ เพศ ทุกวยั อ่านแลว้ จะได้เป็นคติ สอนใจ สอนตนเอง เพอ่ื เป็น “ผู้ด”ี ทด่ี นี อก ดใี น ดจี รงิ ท้งั กาย วาจา และจิตใจ” ศ. ดร. อทุ ิส ศริ วิ รรณ จดั พิมพเ์ ผยแพรเ่ ป็นวทิ ยาทานโดย ศาสตราจารย์ ดร. อทุ สิ ศิริวรรณ สมาคมบรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎบี ณั ฑิต บรษิ ทั ฐาน รีเสิร์ช แอนด์ มาร์เกต็ จากัด Free Download ท่คี อลมั น์ “บทความ” เว็บไซต์ www.druthit.com หรอื ท่ีลงิ ก์เวบ็ ไซต์ www.dba.or.th ๑๕ กันยายน ๒๕๕๕ ~1~

สมบตั ิผ้ดู ี เจ้าพระยาเสด็จสุเรนทราธบิ ดี (มรว. เปยี มาลากุล ณ อยธุ ยา) ทรงเรยี บเรยี ง แจกเปน็ วิทยาทาน ธรรมทาน ฟรี หา้ มจาหนา่ ย คัดลอก เผยแพร่ ทาซา้ บอกตอ่ ได้ ไมส่ งวนลขิ สิทธิ์ ~2~

สมบัติผดู้ ี เจา้ พระยาเสด็จสเุ รนทราธิบดี (มรว. เปีย มาลากลุ ณ อยธุ ยา) ทรงเรียบเรียง ประวัติเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธบิ ดี นามเดิมของทา่ นคอื ม.ร.ว. เปยี มาลากุล เกิดเม่ือ พ.ศ. 2414 เร่ิมรบั ราชการเปน็ เสมยี นในกรม ศึกษาธกิ าร ต่อมาไดร้ บั พระราชทานสัญญาบตั รเป็นหลวงไพศาลศิลปศาสตร์ และได้รบั ตาแหนง่ อธิบดี กรมศกึ ษาธิการ ท่านเปน็ ผู้ทีไ่ ด้รับการศกึ ษา ในดา้ นภาษาไทยมาเปน็ อย่างดี มีความรแู้ ตกฉาน และได้ แต่งหนงั สอื ไวห้ ลายเลม่ ดว้ ยกัน ทีร่ ู้จักกันดคี ือ \"สมบตั ิผูด้ ี\" ซ่ึงยงั ประโยชนแ์ ก่กุลบตุ รกลุ ธิดา ไดย้ ึดถอื เปน็ ตาราท่ีมีคุณค่ามาจนทกุ วันนี้ ทา่ นถงึ แกอ่ สญั ญกรรม เมื่อวนั ที่ 14 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2459 ผลงานดา้ นการศกึ ษา เจา้ พระยาพระเสด็จสเุ รนทราธิบดี (หมอ่ มราชวงศเ์ ปยี มาลากุล)ได้จัดทาหลักสูตรโรงเรียนเบญจม บพติ ร หรือ โรงเรยี นมธั ยมวัดเบญจมบพติ รในปจั จุบัน ตามพระราชดาริพระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว ระวตั ิ หนงั สอื สมบตั ิผดู้ ีเล่มน้ีเป็นคมู่ ือสอนกลุ บตุ ร กลุ ธิดาในสมยั ก่อน ผ่านมา 100 ปี แลว้ เรายังนยิ ม พดู ถงึ กันว่าหนงั สอื สมบตั ผิ ูด้ นี ัน้ สอนอะไรบา้ ง วนั น้ีจึงควรศึกษาคน้ คว้ากันดูว่าสมบัตผิ ดู้ วี ่ามี อะไรบ้าง ~3~

สมบตั ิผู้ดี เจา้ พระยาเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี (มรว. เปีย มาลากลุ ณ อยธุ ยา) ทรงเรยี บเรยี ง คาว่าผดู้ เี ราคงไดย้ ินกนั มาบ้างแตค่ วามหมายในปัจจุบันอาจจะตีความแตกต่างไปจากเม่อื รอ้ ยปีที่ แล้วบ้าง เพราะว่าอาจจะมบี างคนท่ีคดิ วา่ ตนเองเป็นผดู้ แี ต่คณุ สมบัติอาจจะไมค่ บเหมอื นรอ้ ยปที ีแ่ ลว้ วนั น้จี ึงไดน้ าสมบตั ิผ้ดู มี าขยายความว่าคาจากดั ความสมบัตผิ ้ดู เี ป็นอยา่ งไร หนงั สือสมบัตผิ ้ดู นี มี้ ี กาหนดคณุ สมบตั ผิ ูด้ ไี ว้ 10 ประการ ซึ่งทง้ั หมดเปน็ เร่ืองของกาย วาจา ใจ คือ กายจรยิ า วจจี ริยา และมโนจรยิ า เน้อื หาหนังสือสมบตั ขิ องผู้ดี บทที่ 1 : ผูด้ ี ย่อมรกั ษา ความเรียบรอ้ ย กายจรยิ า 1. ยอ่ มไม่ใช้กิริยาอนั ข้ามกรายบคุ คล 2. ยอ่ มไมอ่ าจเอ้อื มในทต่ี ่าสูง 3. ย่อมไมล่ ่วงเกินถกู ตอ้ งผู้อื่น ซึ่งไม่ใช่หยอกกันฐานเพ่ือน 4. ย่อมไมเ่ สยี ดสี กระทบกระทงั่ กายบคุ คล 5. ยอ่ มไม่ลุกน่ังเดินเหนิ ใหพ้ รวดพราดโดนผ้คู นหรอื สิ่งของแตกเสียหาย 6. ยอ่ มไมส่ ง่ ของให้ผูอ้ ื่น ดว้ ยกริ ยิ าอันเสือกไสผลกั โยน 7. ยอ่ มไม่ผ่านหน้าหรือบงั ตาผ้อู ่นื เมือ่ เขาดสู ง่ิ ใดอยู่ เวน้ แตเ่ ปน็ ทเ่ี ฉพาะไป 8. ยอ่ มไม่อ้อื องึ เม่ือเวลาผู้อน่ื ทากจิ 9. ย่อมไมอ่ อื้ องึ ในเวลาประชมุ สดบั ตรบั ฟงั 10.ย่อมไมแ่ สดงกิรยิ าตึงตงั หรอื พดู จาอึกทกึ ในบ้านแขก วจีจรยิ า 1. ย่อมไม่สอดสวนวาจาหรอื แยง่ ชงิ พดู 2. ย่อมไม่พดู ด้วยเสยี งอนั ดังเหลอื เกนิ 3. ย่อมไมใ่ ช้เสยี งตวาด หรอื พูดจากระโชกกระชาก 4. ยอ่ มไม่ใชว้ าจาอนั หกั หาญดึงดัน 5. ยอ่ มไมใ่ ชถ้ ้อยคาอนั หยาบคาย มโนจรยิ า 1. ย่อมไม่ปล่อยใจให้ฟงุู ซา่ นกาเรบิ หยิ่งโยโส 2. ยอ่ มไมบ่ ันดาลโทสะใหเ้ สียกิริยา ~4~

สมบตั ผิ ู้ดี เจ้าพระยาเสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี (มรว. เปีย มาลากุล ณ อยธุ ยา) ทรงเรยี บเรยี ง บทที่ 2 : ผู้ดี ย่อมไม่ทาอจุ าดลามก กายจรยิ า 1. ยอ่ มใชเ้ สื้อผ้าเคร่ืองแต่งตัวอนั สะอาด และแต่งโดยเรียบร้อยเสมอ 2. ยอ่ มไม่แตง่ ตวั ในทแ่ี จ้ง 3. ย่อมไมจ่ ิ้มควกั ลว้ งแคะ แกะเการา่ งกายในทป่ี ระชมุ ชน 4. ยอ่ มไม่กระทาการ ทค่ี วรจะทาในท่ีลับในทีแ่ จง้ 5. ย่อมไม่หาวเรอ ให้ปรากฏในท่ปี ระชมุ ชน 6. ยอ่ มไมจ่ ามด้วยเสียงอันดงั และโดยไม่ปอู งกาบงั 7. ย่อมไมบ่ ้วนขากด้วยเสียงอันดงั หรือให้เปรอะเปอื้ น ให้เปน็ ท่ีรงั เกยี จ 8. ยอ่ มไมล่ ุกลนเลอะเทอะ มูมมามในการบรโิ ภค 9. ยอ่ มไมถ่ กู ตอ้ ง หรือหยิบยืน่ สิ่งของ ทผี่ ู้อนื่ จะบรโิ ภคดว้ ยมอื ตน 10. ย่อมไม่ลว่ งล้า ขา้ มหยบิ ของบรโิ ภคผ่านหนา้ ผู้อ่ืน ซงึ่ ควรขอโทษ และขอใหเ้ ขาสง่ ให้ 11. ย่อมไมล่ ะลาบละลว้ ง เอาของผูอ้ ืน่ มาใชใ้ นการบริโภค เชน่ ถว้ ยนา้ และผ้าเชด็ มอื เป็นต้น 12. ย่อมไมเ่ อาเคร่ืองใชข้ องตน เช่น ช้อนสอ้ มไปลว้ งตกั สิ่งบรโิ ภคซง่ึ เปน็ ของกลาง 13. ย่อมระวงั ไม่พดู จาตรงหน้าผอู้ ืน่ ใหใ้ กลช้ ดิ เหลือเกนิ วจีจริยา 1. ยอ่ มไมก่ ลา่ วถงึ สิ่งโสโครก พงึ รังเกียจในท่ามกลางประชุมชน 2. ย่อมไมก่ ล่าวถึงสิง่ ควรปดิ บงั ในทา่ มกลางประชุมชน มโนจริยา 1. ย่อมพงึ ใจทีจ่ ะรกั ษาความสะอาด บทที่ 3 : ผ้ดู ี ยอ่ มมสี มั มาคารวะ กายจริยา 1. ยอ่ มนั่งดว้ ยกริ ยิ าอนั สภุ าพ เฉพาะหน้าผ้ใู หญ่ 2. ยอ่ มไมข่ ้นึ หนา้ ผ่านผู้ใหญ่ 3. ย่อมไมห่ นั หลงั ให้ผู้ใหญ่ 4. ย่อมแหวกท่ี หรือให้ท่นี ั่งอันสมควรแก่ผู้ใหญ่ หรือผูห้ ญิง 5. ย่อมไมท่ ดั หรือคาบบหุ ร่ี คาบกล้อง และสบู ใหค้ วันไปรมผู้อ่ืน ~5~

สมบตั ิผู้ดี เจ้าพระยาเสด็จสุเรนทราธบิ ดี (มรว. เปยี มาลากุล ณ อยุธยา) ทรงเรียบเรยี ง 6. ย่อมเปิดหมวก เมื่อเขา้ ชายคาบา้ นผู้อ่นื 7. ยอ่ มเปดิ หมวกในท่ีเคารพ เช่น โบสถ์ วหิ าร ไม่ว่าแห่งศาสนาใด 8. ผนู้ ้อยยอ่ มเคารพผู้ใหญ่กอ่ น 9. ผู้ชายยอ่ มเคารพผู้หญงิ ก่อน 10. ผู้ลายอ่ มเป็นผู้เคารพกอ่ น 11. ผเู้ ห็นก่อนโดยมากย่อมเคารพก่อน 12. แม้ผใู้ ดเคารพตนก่อน ยอ่ มตอ้ งตอบเขาทกุ คน ไม่เฉยเสยี วจจี ริยา 1. ยอ่ มไมพ่ ูดจาล้อเลียนหลอกลวงผูใ้ หญ่ 2. ย่อมไม่กล่าวร้าย ถงึ ญาติมิตรทีร่ กั ใคร่นบั ถือ ของผฟู้ งั แก่ผู้ฟัง 3. ยอ่ มไม่กล่าววาจา อนั ติเตียนสิง่ เคารพ หรอื ท่ีเคารพของผูอ้ ืน่ แกต่ วั เขา 4. เมื่อจะขอทาล่วงเกนิ แกผ่ ู้ใด ย่อมตอ้ งขออนญุ าตตัวเขาเสยี กอ่ น 5. เมือ่ ตนทาพลาดพล้งั สิง่ ใด แก่บคุ คลผูใ้ ด ควรออกวาจาขอโทษเสมอ 6. เมอ่ื ผูใ้ ดได้แสดงคุณตอ่ ตนอยา่ งไร ควรออกวาจาขอบคณุ เขาเสมอ มโนจริยา 1. ยอ่ มเคารพยาเกรง บดิ า มารดา และอาจารย์ 2. ย่อมนับถอื นอบนอ้ มตอ่ ผู้ใหญ่ 3. ย่อมมีความออ่ นหวานแก่ผ้นู อ้ ย บทที่ 4: ผูด้ ี ยอ่ มมกี ริ ิยาเปน็ ทร่ี ัก กายจริยา 1. ย่อมไมฝ่ าุ ฝนื เวลานิยม คือ ไมไ่ ปใช้กริ ิยายนื เม่ือเขาน่งั กบั พ้ืน และไมไ่ ปนัง่ กบั พ้นื เมื่อเวลาเขายนื เดินกนั 2. ย่อมไม่ไปนัง่ นานเกินสมควร ในบา้ นของผ้อู ืน่ 3. ยอ่ มไม่ทากิรยิ าร่ืนเรงิ เม่อื เขามที ุกข์ 4. ย่อมไมท่ ากริ ิยาโศกเศรา้ เหี่ยวแห้ง ในทีป่ ระชมุ รนื่ เริง 5. เมอ่ื ไปสู่ที่ประชุมรืน่ เรงิ ย่อมช่วยสนกุ ชนื่ บานใหส้ มเรื่อง 6. เม่อื เป็นเพอ่ื นเที่ยว ยอ่ มตอ้ งกลมเกลียว และร่วมลาบาก ร่วมสนุก 7. เม่อื ตนเป็นเจา้ ของบ้าน ยอ่ มต้องต้อนรบั และเชื้อเชิญแขกไมเ่ พกิ เฉย ~6~

สมบตั ผิ ู้ดี เจา้ พระยาเสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี (มรว. เปีย มาลากุล ณ อยุธยา) ทรงเรียบเรียง 8. ย่อมไมท่ ากิรยิ าบกึ บึนต่อแขก 9. ยอ่ มไม่ให้แขกต้องคอยนาน เม่อื เขามาหา 10. ยอ่ มไมจ่ ้องดนู าฬกิ า ในเวลาท่แี ขกยังน่ังอยู่ 11. ย่อมไมใ่ ช้กิริยาอนั บ้ยุ ใบ้ หรอื กระซบิ กระซาบกับผูใ้ ด ในเวลาเม่อื ตนอยเู่ ฉพาะหน้าผ้หู น่งึ 12. ยอ่ มไม่ใชก้ ริ ยิ าอันโกรธเคือง หรอื ดดุ ัน ผคู้ นบา่ วไพร่ ต่อหน้าแขก 13. ยอ่ มไม่จอ้ งดบู คุ คล โดยเพง่ พศิ เหลือเกิน 14. ยอ่ มต้องรบั ส่งแขกเมื่อไปมา ในระยะเวลาอันสมควร วจีจรยิ า 1. ยอ่ มไม่เทีย่ วติเตยี น สง่ิ ของทีเ่ ขาตงั้ แต่ง ไวใ้ นบา้ นทีต่ นไปสู่ 2. ย่อมไมก่ ล่าวสรรเสริญรปู กาย บุคคล แก่ตัวเขาเอง 3. ย่อมไม่พูดให้เพอื่ นเก้อกระดาก 4. ยอ่ มไมพ่ ดู เปรยี บเปรย เคาะแคะสตรี กลางประชมุ 5. ยอ่ มไมค่ อ่ นแคะตริ ูปกายบคุ คล 6. ยอ่ มไม่ทกั ถงึ การรา้ ย โดยพลุ่งโพลง่ ใหเ้ ขาตกใจ 7. ย่อมไม่ทักถงึ ส่ิงอนั นา่ อาย น่ากระดากโดยเปิดเผย 8. ย่อมไมเ่ อาส่งิ ท่นี ่าจะอายจะกระดากมาเล่าให้แขกฟงั 9. ยอ่ มไมเ่ อาเรื่องทเี่ ขาพงึ ซอ่ นเร้น มากลา่ วให้อบั อายหรือเจบ็ ใจ 10. ยอ่ มไมก่ ล่าวถงึ การอัปมงคล ในเวลามงคล มโนจรยิ า 1. ย่อมรจู้ ักเกรงใจคน บทท่ี 5: ผดู้ ี ยอ่ มเปน็ ผู้มสี ง่า กายจรยิ า 1. ยอ่ มมีกริ ยิ าอันผ่ึงผายองอาจ 2. จะยืนนัง่ ย่อมอยู่ในลาดบั อันสมควร ไม่เปน็ ผู้แอบหลงั คนหรือหลกี เข้ามมุ 3. ยอ่ มไม่เปน็ ผูส้ ะทกสะท้าน งกเง่นิ หยุดๆ ย้งั ๆ ~7~

สมบตั ิผ้ดู ี เจา้ พระยาเสด็จสเุ รนทราธิบดี (มรว. เปีย มาลากุล ณ อยธุ ยา) ทรงเรยี บเรียง วจีจริยา 1. ย่อมพดู จาฉะฉานชัดถอ้ ยความ ไม่อบุ อบิ อ้อมแอม้ มโนจริยา 1. ยอ่ มมคี วามรู้จักงาม รูจ้ กั ดี 2. ย่อมมอี ชั ฌาสยั อันกว้างขวาง เข้าไหนเขา้ ได้ 3. ยอ่ มมีอชั ฌาสัยเป็นนกั เลง ใครจะพูดหรือเล่นอนั ใด กเ็ ข้าใจและต่อตดิ 4. ยอ่ มมีความเข้าใจว่องไว ไหวพรบิ รู้ทันถงึ การณ์ 5. ยอ่ มมีใจอันองอาจกล้าหาญ บทที่ 6: ผู้ดี ยอ่ มปฏบิ ตั ิการงานดี กายจริยา 1. ยอ่ มทาการอยู่ในระเบียบแบบแผน 2. ยอ่ มไม่ถ่วงเวลาให้ผอู้ น่ื คอย 3. ยอ่ มไมล่ ะเลยท่ีจะตอบจดหมาย 4. ยอ่ มไม่ทาการแต่ต่อหน้า วจจี รยิ า 1. พูดสิ่งใดยอ่ มใหเ้ ป็นท่เี ชอ่ื ถอื ได้ 2. ยอ่ มไมร่ ับวาจาคล่องๆ โดยมไิ ดเ้ ห็นว่าการจะเปน็ ได้หรอื ไม่ มโนจรยิ า 1. ย่อมเปน็ ผู้รักษาความสตั ย์ในเวลา 2. ยอ่ มไม่เปน็ ผเู้ กยี จคร้าน 3. ยอ่ มไมเ่ ขา้ ใจว่า ผู้ดที าอะไรด้วยตนไมไ่ ด้ 4. ย่อมไม่เพลิดเพลนิ จนละเลยให้การเสีย 5. ยอ่ มเปน็ ผรู้ ักษาความเป็นระเบียบ 6. ย่อมเป็นผู้อยู่ในบงั คับบัญชา เมอื่ อยู่ในหน้าท่ี 7. ย่อมมมี านะในการงาน ไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ ความยากลาบาก 8. ยอ่ มเป็นผทู้ าอะไรทาจริง 9. ยอ่ มไม่เปน็ ผู้ดึงดันในท่ีผดิ 10. ย่อมปรารถนาความดี ต่อการงานท่ีทาอยู่เสมอ ~8~

สมบัตผิ ู้ดี เจ้าพระยาเสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี (มรว. เปยี มาลากุล ณ อยธุ ยา) ทรงเรียบเรยี ง บทท่ี 7: ผ้ดู ี ยอ่ มเป็นผใู้ จดี กายจรยิ า 1. เมือ่ เหน็ ใครทาผิดพลาดนา่ เก้อกระดาก ย่อมชว่ ยกลบเกล่อื น หรอื ทาไมเ่ ห็น 2. เมอื่ เห็นสงิ่ ของ ของใครตกหรอื เส่อื มเสยี ย่อมต้องหยบิ ย่นื ให้ หรือบอกให้รู้ตัว 3. เมอื่ เหน็ เหตรุ า้ ย หรืออันตรายจะมีแก่ผู้ใด ย่อมตอ้ งรบี ช่วย วจจี รยิ า 1. ย่อมไมเ่ ยาะเยย้ ถากถาง ผกู้ ระทาผิดพลาด 2. ยอ่ มไม่ใช้วาจาอนั ขม่ ข่ี มโนจริยา 1. ย่อมไม่มใี จอนั โหดเหย้ี มเกรยี้ วกราดแก่ผูน้ อ้ ย 2. ย่อมเอาใจโอบอ้อมอารแี กผ่ ูอ้ ืน่ 3. ย่อมเอาใจชว่ ยคนเคราะหร์ ้าย 4. ยอ่ มไมเ่ ปน็ ผูซ้ า้ เตมิ คนเสียที 5. ยอ่ มไมเ่ ปน็ ผู้อาฆาตจองเวร บทที่ 8: ผู้ดี ยอ่ มไมเ่ ห็นแก่ตวั ฝา่ ยเดยี ว กายจรยิ า 1. ยอ่ มไม่พกั หาความสบายกอ่ นผ้ใู หญ่ หรือผหู้ ญิง 2. ยอ่ มไม่เสอื กสนแยง่ ชิง ทน่ี งั่ หรือทีด่ อู ันใด 3. ย่อมไมเ่ ท่ยี วแย่งผู้หน่งึ มาจากผู้หนึง่ ในเมอื่ เขาสนทนากัน 4. เปน็ ผู้ใหญ่ จะไปมาลกุ นัง่ ย่อมไวช้ อ่ งใหผ้ ู้น้อยมโี อกาสบา้ ง 5. ในการเลยี้ งดูย่อมเผื่อแผ่ เชือ้ เชญิ แก่คนข้างเคียงกอ่ นตน 6. ในการบริโภค ย่อมหยบิ ยก ยนื่ สง่ สงิ่ ของแกผ่ อู้ ืน่ ต่อๆ ไปไม่มุง่ แต่กระทากจิ ส่วนตน 7. ย่อมไม่รวบสามตะกลามส่ี กวาดฉวยเอาของท่เี ขาตงั้ ไวเ้ ปน็ กลางจนเกนิ ส่วนท่ีตนจะได้ 8. ย่อมไม่แสดงความไม่เพยี งพอใจในสิง่ ของทเ่ี ขาหยบิ ยกให้ ~9~

สมบตั ิผู้ดี เจา้ พระยาเสด็จสเุ รนทราธิบดี (มรว. เปยี มาลากลุ ณ อยุธยา) ทรงเรียบเรยี ง 9. ยอ่ มไมน่ ่ิงนอนใจใหเ้ ขาออกทรัพย์แทนส่วนตนเสมอ เชน่ ในการเลี้ยงดู หรือใช้ค่าเดนิ ทาง เป็นต้น 10. ยอ่ มไม่ลืมท่ีจะสง่ ของ ซึง่ คนอ่ืนไดส้ งเคราะห์ให้ตนยมื 11. การให้ส่งิ ของหรือเลยี้ งดซู ่ึงเขาได้กระทาแก่ตน ย่อมตอ้ งตอบแทนเขา วจีจรยิ า 1. ย่อมไม่ขอแยกผู้หนงึ่ มาจากผู้ใด เพอื่ จะพาไปพดู จาความลับกนั 2. ยอ่ มไมส่ นทนาแต่เรอื่ งตนฝาุ ยเดยี ว จนคนอนื่ ไม่มชี อ่ งจะสนทนาเรอ่ื งอ่นื ได้ 3. ยอ่ มไมน่ าธรุ ะตนเขา้ กลา่ วแทรก ในเวลาธุระอนื่ ของเขาชุลมนุ 4. ยอ่ มไมก่ ล่าววาจาตเิ ตยี น ของที่เขาหยบิ ยกให้ว่าไม่ดี หรอื ไมพ่ อ 5. ย่อมไม่ไตถ่ ามราคาของทเี่ ขาได้หยบิ ยกให้แกต่ น 6. ย่อมไมแ่ สดงราคาของท่ีจะหยบิ ยกให้แก่ผู้ใดใหป้ รากฏ 7. ยอ่ มไมใ่ ช้วาจาอันโออ้ วดตน และลบหล่ผู ูอ้ นื่ มโนจริยา 1. ยอ่ มไมม่ ีใจมักได้ เที่ยวขอของเขารา่ ไป 2. ยอ่ มไมต่ ้งั ใจปรารถนาของรกั เพือ่ น 3. ย่อมไมพ่ งึ ใจการหยิบยืมข้าวของ ทองเงนิ ซ่งึ กนั และกนั 4. ย่อมไมห่ วังแตจ่ ะพึง่ อาศัยผอู้ น่ื 5. ย่อมไม่เป็นผู้เก่ียงงอน ทอดเทการงานตนใหผ้ ้อู ่นื 6. ย่อมรู้คณุ ผู้อน่ื ที่ไดท้ าแล้วแกต่ น 7. ย่อมไมม่ ใี จรษิ ยา บทท่ี 9: ผดู้ ี ยอ่ มรักษาความสุจรติ ซือ่ ตรง กายจรยิ า 1. ยอ่ มไม่ละลาบละลว้ งเขา้ ห้องเรือนแขก กอ่ นเจ้าของบา้ นเขาเชญิ 2. ยอ่ มไมแ่ ลลอดสอดส่าย โดยเพง่ เล็งเขา้ ไปตามห้องเรือนแขก 3. ย่อมไม่เทยี่ วฉวยโนน่ หยิบน่ีของผู้อนื่ ดจู นเหลือเกิน ราวกับวา่ จะคน้ หาสิง่ ใด 4. ย่อมไม่เท่ยี วขอ หรอื หยบิ ฉวยดูจดหมาย ของผ้อู ืน่ ท่เี จา้ ของไม่มีความประสงค์จะใหด้ ู 5. ยอ่ มไม่เที่ยวขอ หรอื หยิบฉวยดูสมุดพก หรือสมุดจดรายงานบัญชขี องผอู้ ่ืน ซึ่งตนไมม่ ีธุระเก่ยี วข้อง เป็นหน้าที่ 6. ย่อมไมเ่ ทย่ี วนั่งท่ีโตะ๊ เขียนหนังสือของผูอ้ ื่น 7. ย่อมไม่เทย่ี วเปิดดูหนังสือ ตามโตะ๊ เขยี นหนงั สอื ของผ้อู นื่ ~ 10 ~

สมบัตผิ ู้ดี เจา้ พระยาเสด็จสเุ รนทราธบิ ดี (มรว. เปีย มาลากุล ณ อยุธยา) ทรงเรยี บเรียง 8. ย่อมไมแ่ ทรกเข้าหม่ผู ้อู ่นื ซึ่งเขาไม่ได้เชอื้ เชญิ 9. ยอ่ มไมล่ อบแอบฟังคนพูด 10. ย่อมไม่ลอบแอบดูของลบั 11. ถ้าเห็นเขาจะพูดความลบั กัน ยอ่ มตอ้ งหลบตาหรอื ลี้ตัว 12. ถา้ จะเข้าหอ้ งเรอื นผใู้ ด ยอ่ มต้องเคาะประตูหรอื กลา่ ววาจาใหเ้ ขารู้ตวั ก่อน วจจี รยิ า 1. ยอ่ มไมซ่ อกแซกไตถ่ ามธรุ ะสว่ นตัว หรือการในบ้านของเขา ทไี่ มไ่ ด้เก่ยี วขอ้ งแกต่ น 2. ยอ่ มไม่เที่ยวถามเขาวา่ น่นั เขียนหนังสอื อะไร 3. ยอ่ มไมถ่ ามถงึ ผลประโยชน์ท่ีเขาหาได้ เมื่อตนไมไ่ ด้มีหนา้ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 4. ยอ่ มไมเ่ อาการในบา้ นของผ้ใู ดมาแสดงในทแี่ จง้ 5. ยอ่ มไมเ่ ก็บเอาความลับของผู้หนงึ่ มาเที่ยวพูดแก่ผ้อู ื่น 6. ยอ่ มไมก่ ล่าวถงึ ความชั่วรา้ ย อนั เปน็ ความลับเฉพาะบุคคลในท่ีแจ้ง 7. ย่อมไมพ่ ดู สบั ปลบั กลบั กลอก ตลบตะแลง 8. ย่อมไมใ่ ช้คาสบถติดปาก 9. ย่อมไม่ใชถ้ อ้ ยคามุสา มโนจรยิ า 1. ย่อมไมเ่ ปน็ คนต่อหนา้ อยา่ งหนึ่งลบั หลงั อยา่ งหน่ึง 2. ยอ่ มเปน็ ผรู้ ักษาความไว้วางใจของผอู้ น่ื 3. ยอ่ มไมแ่ สวงประโยชน์ในทางทผี่ ดิ ธรรม 4. ยอ่ มเป็นผตู้ ้ังอย่ใู นความเท่ยี งตรง บทที่ 10: ผ้ดู ี ยอ่ มไมป่ ระพฤตชิ วั่ กายจรยิ า 1. ย่อมไม่เป็นพาลเที่ยวเกะกะระร้ัว และกระทารา้ ยคน 2. ย่อมไม่ขม่ เหงผูอ้ อ่ นกวา่ เช่น เด็ก หรอื ผู้หญิง 3. ย่อมไม่ทาใหผ้ ้อู ืน่ เดอื ดรอ้ น เจ็บอาย เพ่อื ความสนกุ ยินดีของตน 4. ยอ่ มไม่หาประโยชน์ ดว้ ยอาการที่ทาใหผ้ ูอ้ ื่นเดือดร้อน 5. ย่อมไมเ่ สพสรุ าจนถึงเมาและติด 6. ยอ่ มไม่ม่วั สุมกบั ส่ิงอนั เลวทราม เช่น กญั ชา ยาฝิ่น 7. ยอ่ มไม่หมกมุ่นในการพนนั เพื่อจะปรารถนาทรพั ย์ ~ 11 ~

สมบัติผดู้ ี เจ้าพระยาเสด็จสุเรนทราธบิ ดี (มรว. เปีย มาลากลุ ณ อยุธยา) ทรงเรยี บเรยี ง 8. ยอ่ มไม่ถอื เอาเปน็ ของตน ในสงิ่ ท่เี จ้าของไม่อนญุ าตให้ 9. ยอ่ มไม่พึงใจ ในหญงิ ท่ีมเี จา้ ของหวงแหน วจจี ริยา 1. ยอ่ มไม่เปน็ พาลพอใจทะเลาะวิวาท 2. ย่อมไม่พอใจนนิ ทาว่ารา้ ยกนั และกัน 3. ยอ่ มไม่พอใจพดู สอ่ เสียดยยุ ง 4. ย่อมไม่เป็นผู้สอพลอประจบประแจง 5. ยอ่ มไมแ่ ชง่ ชักใหร้ า้ ยผู้อ่ืน มโนจรยิ า 1. ยอ่ มไมป่ องร้ายผ้อู ืน่ 2. ยอ่ มไมค่ ิดทาร้ายผ้อู ืน่ เพ่ือประโยชน์ตน 3. ยอ่ มมคี วามเหนี่ยวรัง้ ใจตนเอง 4. ย่อมเปน็ ผู้มคี วามละอายแกบ่ าป ยคุ น้ผี คู้ นทงั้ หลายตา่ งตอ้ งการใหต้ นเองดดู ี ไมเ่ ฉพาะผหู้ ญิงเท่านั้น ผชู้ ายเองกเ็ หมอื นกนั เพราะ เด๋ยี วน้ีเครอ่ื งเสรมิ ความงามของฝุายชายเองกม็ ีมาดเชน่ เดยี วกนั บางคนก็ถึงขนาดยอมเจบ็ ตวั ไปผ่าตัด กระดกู จัดกล้ามเนื้อต่างๆ จนไมร่ ูว้ ่าหน้าตาเดิมเปน็ อย่างไร ความจริงวิธีการท่ที าใหเ้ ราเองดดู โี ดยไม่ ต้องเสียเงนิ และไม่ตอ้ งเจบ็ ตัว คอื การฝกึ กริ ยิ ามารยาทของเราเอง คนบางคนหน้าตาอาจจะดูธรรมดา แต่เปน็ คนมคี วามเชอื่ มัน่ ในตวั เอง เปน็ คนร่าเริง สดช่นื ทาอะไรพอดีๆ มีกริ ิยามารยาทดี มคี วาม เชือ่ ม่ัน กท็ าใหด้ ูดีขน้ึ ไปโดยปรยิ าย ตรงน้มี คี วามสาคัญมากเลย ดังน้ันถา้ เราอยากให้ตวั เองดูดี ไปท่ี ไหนก็เปน็ ทีย่ อมรบั ใหฝ้ กึ สมบตั ิผดู้ ีกันเถอะ ไม่มีคาวา่ เชย ทีม่ าของสมบัตผิ ดู้ ี ทีม่ าของสมบตั ผิ ูด้ ี ทีม่ าของมารยาทไทย ต้นแหล่งจรงิ ๆ มาจากพระวินยั ของพระภิกษุใน พระพทุ ธศาสนา คือในคร้ังพทุ ธกาล พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาเกิดใหม่ และขยายไปอย่างรวดเรว็ กวา้ งขวางมาก ซ่ึงศาสนาท่เี กดิ ขนึ้ ก่อนเขารสู้ กึ เสียผลประโยชน์ เพราะชาวบ้านมาศรัทธา พระพทุ ธศาสนา จึงไดม้ ีกระบวนการโจมตพี ระพทุ ธศาสนา โจมตพี ระภิกษุ ใส่ร้าย อยา่ งมากมายเพอื่ ลดความเชื่อถือ ไมใ่ ห้พระพุทธศาสนาเติบโต แตว่ า่ พระพุทธศาสนาของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ นน่ั เป็น ของจริง ไม่ใช่ความเช่อื แต่เป็นความจรงิ ของโลกและชวี ติ ดงั นัน้ ทองแทไ้ มก่ ลวั ไฟ พระพทุ ธศาสนาก็ ยงั คงขยายกวา้ งออกไป แตพ่ ระสมั มาสมั พุทธเจ้า พระองคท์ รงทราบวา่ พระภกิ ษุทม่ี าบวชใน ~ 12 ~

สมบตั ิผ้ดู ี เจา้ พระยาเสดจ็ สุเรนทราธิบดี (มรว. เปยี มาลากลุ ณ อยธุ ยา) ทรงเรยี บเรียง พระพทุ ธศาสนา แล้วออกไปเผยแผ่ธรรมในทีต่ า่ งๆ ถือวา่ เป็นสญั ลักษณ์ทีเ่ คลอื่ นทไี่ ดข้ อง พระพุทธศาสนา ดังนั้นการประพฤติ ปฏบิ ตั ิทีเ่ หมาะสมถูกต้องจะสรา้ งศรัทธาให้แก่ผูพ้ บเห็น มี ความสาคัญมาก พระองค์จงึ สอนมารยาทใหพ้ ระภกิ ษไุ วม้ ากมายทั้งมารยาทในการขบฉนั มารยาทใน การดูแลรักษาพยาบาล มารยาทในการต้อนรับภิกษุผเู้ ปน็ อาคันตุกะ อีกท้งั การอย่รู ว่ มกนั ในหมู่ พระภกิ ษจุ ากทกุ ชัน้ วรรณะ แมอ้ ายจุ รงิ ยังถูกยกเลกิ เมื่อบวชเป็นพระภิกษแุ ล้ว ถือเป็นการเกดิ ใหมใ่ น ชีวิตสมณะ แหละนี้คือพระพทุ ธศาสนา นคี่ ือหมู่สงฆข์ องพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า พระสัมมาสัมพุทธเจา้ พระสมั มาสมั พุทธเจ้าทรงเลอื กเอามารยาทหมวดท่ีสาคญั ขึน้ มา 5 หมวด มาบรรจอุ ยใู่ นวนิ ยั ส่วน พระปาฏิโมกข์ให้สงฆ์ทุกรูปไปฟงั การสวดทบทวนปาฏิโมกข์ทกุ ปักษค์ อื ทกุ สองสปั ดาห์ ในหมวดหนงึ่ เรียกว่า เสขยิ วัตร มที งั้ หมด 75 ขอ้ เปน็ เรื่องที่ว่าด้วยมารยาทของพระภิกษโุ ดยเฉพาะ เช่นหมวดแรก คือมารยาทในการครองผา้ จะนุ่งห่มจวี รหม่ อยา่ งไร หมวดทีส่ อง มารยาทในการเข้าบ้าน พระภิกษเุ มือ่ เขา้ ไปในหมบู่ ้านแล้ว จะตอ้ งไมเ่ ดินโคลงไปเคลงมา ต้องมีความสงบสารวม หมวดทีส่ ามคอื มารยาทใน การขบฉันภตั ตาหาร คือไม่ทาคาขา้ วใหใ้ หญเ่ กนิ ไป เวลาเคย้ี วกไ็ มค่ ยุ กัน หมวดท่ีส่คี อื มารยาทในการ แสดงธรรม ผฟู้ ังธรรมตอ้ งมีความเคารพในการฟังธรรม จงึ แสดงธรรม หมวดท่หี ้าคอื มารยาทในการ ขบั ถา่ ย ไมถ่ ่ายอจุ จาระ ปัสสาวะ หรอื บ้วนนา้ ลายลงในของเขยี ว (พันธ์ุไมใ้ บหญ้าต่างๆ) จะปัสสาวะ อุจจาระจะต้องนั่ง น่คี ือ 5 หมวดหลกั ในเสขิยวัตร ตรงนี้เองคือแหล่งที่มาของมารยาทในสงั คมไทย และสังคมพทุ ธตลอดเอเชียอาคเนย์ เพราะฉะน้ันสงฆ์เอง พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ใหค้ วามสาคญั ถึงขนาดใหท้ บทวนท้ัง 75 ข้อนี่ ทกุ ๆ 15 วัน สว่ นตัวเราเองอย่บู ้าน สมบัตผิ ้ดู ีลองเปิดดูเถอะ แล้วหมน่ั ทบทวนบอ่ ยๆ ให้เปน็ สมบัตติ ิดตวั เรา เราไปทีไ่ หนจะสวยเสมอ สวยสมวยั ไม่ต้องกลวั วา่ อายุเยอะแลว้ จะดไู มด่ ี คนมีมารยาทมสี มบัตผิ ดู้ ไี ป ถึงไหนกด็ ดู ีตลอด เปน็ เดก็ ก็ดนู ่ารักแบบเดก็ เป็นหนมุ่ เป็นสาวก็ดูน่าช่ืนชม เป็นผู้ใหญก่ น็ ่าเคารพ ยา เกรง นา่ เชื่อถือ มีอายุมากข้นึ กเ็ ปน็ ทีล่ กู หลานเข้าใกลแ้ ลว้ อบอุ่น สบายใจ เป็นแบบอยา่ งให้ทุกคนได้ มสี มบัติผ้ดู เี มื่อไหร่ เราจะเปน็ คนมีความมน่ั ใจในตัวเอง ในการเข้าสังคมในทกุ ที่ แล้วเปน็ ทีร่ กั ของทกุ ๆ คน ~ 13 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook