Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาเซียน น่ารู้ ASEAN to know

อาเซียน น่ารู้ ASEAN to know

Published by Ton Na, 2020-11-19 21:47:33

Description: อาเซียน น่ารู้ ASEAN to know

Search

Read the Text Version

อาเซยี น นา รู ASEAN to know รายงานฉบับน้ีเปนสวนประกอบของกจิ กรรมการเรยี นรูราย วิชาว31103 วิทยาการคาํ นวณ กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพฯสาขา คอมพวิ เตอร โรงเรยี นกัลยาณวตั ร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๕

จัดทําโดย นายอศั จรรย จันอุป เลขที่ ๑๐ นางสาวกลุ ยา ศริ สิ ม เลขที่ ๓๗ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๔/๘ โรงเรียนกลั ยาณวตั ร สังกดั สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต ๒๕ ครูทป่ี รึกษาโครงงาน คณุ ครูอาํ นาจ พรหมใจรกั ษ

ค สารบญั หนา ก บทคัดยอ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค สารบัญ จ สารบญั ภาพ ฉ สารบญั ตาราง ๑ บทท่ี ๑ บทนาํ ๑ ๑ ที่มาและความสาํ คญั ของโครงงาน ๑ วัตถปุ ระสงค ๒ ขอบเขตของโครงงาน ๓ แผนการดาํ เนินงาน ๓ ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดร บั บทที่ ๒ เอกสารท่เี กยี่ วขอ ง ๔ สาขาวชิ าและสาระสําคญั ของการเรยี นรูวิชาสังคมศกึ ษา ๕ ศาสนา และวฒั นธรรม ๖ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น MIT App Inventor ๗ บทท่ี ๗ ๓ วธิ กี ารจดั ทําโครงงาน ๗ วสั ดุอุปกรณ เครอ่ื งมือหรอื โปรแกรมที่ใชใ นการสรางแอพพลเิ คช่นั ๙ ข้ันตอนการดําเนินงาน ๙ บทท่ี ๔ ผลการดาํ เนินงาน ๑๒ ผลการออกแบบและสรางแอพพลิเคชั่น ผลการประเมินความพงึ พอใจตอ โครงงานคอมพวิ เตอร

สารบญั (ตอ) ค บทที่ ๕ สรุปการดําเนนิ งาน หนา สรุปผลการดําเนินงาน ๑๔ ขอเสนอแนะ ๑๔ ๑๔ บรรณานุกรม ๑๕ ภาคผนวก ๑๖ ๑๗ คูมอื การใชงาน ๒๒ ขอเสนอโครงงาน

จ สารบัญภาพ หนา ภาพท่ี ๑ รูปภาพตวั อยา งโปรแกรม MIT App Inventor ๖ ภาพที่ ๒ ภาพการทําหนาหลักของแอพพลเิ คชน่ั ๖ ภาพท่ี ๓ ภาพการทาํ หนาอืน่ ๆของแอพพลเิ คชั่น ๖ ภาพที่ ๔ ไอคอนแอปพลิเคชันส่อื การเรยี นร“ู อาเซยี นนารู (ASEAN to know)” ๙ ภาพที่ ๕ หนาหลกั ของแอพพลิเคชั่น ๑๐ ภาพที่ ๖ หนา เนอ้ื หาส่ือการเรียนรู ๑๐ ภาพที่ ๗ หนา เขาสแู บบฝกหัด ๑๑ ภาพท่ี ๘ หนา ตวั อยางแบบฝกหัด ๑๑ ภาพท่ี ๙ หนา สรปุ ผลคะแนน ๑๒

ฉ สารบัญตาราง หนา ๒ ตารางท่ี ๑แผนการดาํ เนนิ งานของโครงงาน ตารางท่ี ๒ แสดงผลคา เฉลีย่ เลขคณติ การประเมนิ ความพงึ พอใจ ๑๔ สอ่ื การเรียนรู“อาเซียนนารู”

(ก) โครงงาน เรอ่ื ง อาเซยี น นารู (ASEAN to know) ประเภทโครงงาน โครงงานเพอ่ื สง เสริมทกั ษะการเรียนรู ครูที่ปรึกษาโครงงาน คณุ ครูอาํ นาจ พรหมใจรกั ษ ผูจัดทําโครงงาน ๑.นายอัศจรรย จนั อุป ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ ๔/๘ ๒. นางสาวธกุลยา ศิรสิ ม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔/๘ ปการศึกษา ๒๕๖๓ บทคัดยอ โครงงานการพัฒนาสื่อการเรียนรูช้นิ นม้ี ีวัตถปุ ระสงค ๑.เพือ่ ออกแบบและสรา งแอปพลเิ คช่ัน เพอ่ื สง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรใู นเรอื่ งความรพู ืน้ ฐานเกย่ี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ในชอื่ โครง งาน อาเซยี น นารู (ASEAN to know) เพ่อื ใชกับ Smart Phone หรอื Tablet ทใี่ ชร ะบบปฏิบัติ การ Android ๒.ผูทดลองไดร ับความรูความเขา ใจในเรอ่ื งความรูพืน้ ฐานเกี่ยวกบั ๑๐ ประเทศ สมาชกิ อาเซียน กลุมเปา หมายทใ่ี ชใ นการทดลองส่ือการเรียนรอู าเซยี นนา รู“(ASEAN to know)” ที่เกิดจากการพฒั นาโครงงานในคร้งั นี้ ไดแก บุคคลทอี่ ายุไมต ํ่ากวา ๗ ปใ นจังหวดั ขอนแกน จํานวน ๔๐ คน ผลการทดลองเมอื่ พิจารณาเปน รายขอ พบวา สว นใหญอยูในระดบั ดี หวั ขอทม่ี ีคา เฉล่ยี นอยทส่ี ุด คือ เสยี งท่ีใชป ระกอบในแอปพลเิ คช่ันมคี าเฉลีย่ เทา กบั ๔.๑๓ ซึ่งอยใู นระดับดี หัวขอท่มี ีคา เฉล่ียสูงสดุ คือ สามารถนาํ ความรูไปใชใ นชีวติ จริงไดคาเฉลยี่ เทากบั ๔.๒๘ ซึ่งอยใู น ระดบั ดีเชนกนั และความพึงพอใจโดยรวมตอส่อื การเรียนรู อาเซยี น นา รู “(ASEAN to know)” อยูในระดบั ที่ดี โดยมีคาเฉลยี่ เทากบั ๔.๒๒

(ข) กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร เรื่อง ส่ือการเรียนรอู าเซียน นา รู “(ASEAN to know)” นี้สําเรจ็ ลลุ วงขึ้นไดโ ดยไดรบั ความชวยเหลอื อยา งดียิง่ จากคณุ ครูอาํ นาจ พรหมใจรักษ คณุ ครูทีป่ รึกษา โครงงานที่ไดใหค าํ เสนอแนะ แนวคดิ และใหความรใู นการจัดทาํ โครงงานคอมพวิ เตอรต ลอดจน การแกไขขอบกพรองตาง ๆ มาโดยตลอดจนโครงงานนเ้ี สร็จสมบูรณ ผูศกึ ษาจงึ ขอกราบ ขอบพระคุณเปนอยางสูง และขอขอบคณุ คณะเพือ่ นรวมหอ ง ม.๔/๘ ทใ่ี หก าํ ลังใจและขอมูลในการ ทํารูปเลมโครงงานอกี ดว ย ทา ยสดุ น้คี ณะผจู ดั ทาํ หวงั เปน อยางย่งิ วา โครงงานคอมพวิ เตอรเรือ่ ง สอ่ื การเรยี นรู “อาเซยี น นารู “(ASEAN to know)” จะเปนประโยชนต อการศกึ ษาคนควาและผูท ี่สนใจในเรือ่ ง ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี นตอไป คณะผูจัดทาํ

๑ บทที่ ๑ บทนาํ ๑.๑ ทีม่ าและความสําคัญของโครงงาน อาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแหง เอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) มจี ุดประสงคเ พ่อื สงเสริมและรวมมือในเรอ่ื งสนั ตภิ าพ, ความม่ันคง, เศรษฐกิจ,องคความร,ู สงั คมวฒั นธรรมบนพื้นฐานความเทาเทยี มกนั และผล ประโยชนร ว มกันของประเทศสมาชกิ ซงึ่ ในปจ จุบันบทบาทความสําคัญของสมาคมอาเซียนภายในส่ือการเรยี นรทู ุกระดับป การศึกษาไดถ ูกลดตา่ํ ลงตามระยะเวลาสง ผลใหเ ด็กและเยาวชนขาดการรบั รูในเร่อื งของ สมาคมอาเซียน และอาจหลงลมื ในความสาํ คญั ของสมาคมอาเซยี นภายในอนาคตได ทางคณะ ผูจัดทําไดตระหนกั ถึงปญหาที่เกดิ ขึน้ จึงไดทําการสรางสอ่ื การเรียนรู เร่อื ง “อาเซียน นา รู(ASEAN to know)” จากโปรแกรม MIT App Inventor โดยจะเนน ใหเ ปน แอปพลเิ คช่นั ท่ี ชวยใหผูศ ึกษาสามารถทาํ ความเขาใจองคป ระกอบพื้นฐานของประเทศตางๆ ในสมาคม อาเซยี นไดง ายยง่ิ ข้ึน จึงไดมกี ารออกแบบลักษณะใหมีรูปแบบท่ีและลกู เลน นาสนใจเพ่ือลด ความนา เบ่อื ใหแกผใู ชแ อปพลิเคชนั่ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค ๑. เพ่ือออกแบบและสรางแอปพลเิ คช่นั เพ่ือสง เสริมทักษะการเรยี นรใู นเร่ืองความรูพ นื้ ฐานเกยี่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ในชื่อโครงงาน อาเซียน นารู (ASEANto know) เพอื่ ใชกับ Smart Phone หรอื Tablet ทใ่ี ชระบบปฏิบัตกิ าร Android ๒. ผูทดลองไดรบั ความรู ความเขา ใจในเรื่องความรพู ้นื ฐานเก่ยี วกบั ๑๐ ประเทศ สมาชกิ อาเซยี น ๑.๓ ขอบเขตของโครงงาน การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเพือ่ สง เสริมทักษะการเรยี นรเู ร่ือง ความรพู ้นื ฐานเก่ียวกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใชโ ปรแกรม MIT App inventor ในการสรา งแอปพลิเคชั่น และไฟล Apk. สาํ หรบั ติดต้ังในระบบปฏิบัติการ Android กลมุ เปาหมายที่ใชในการทดลองแอปพลเิ คชั่น อาเซยี นนารู (ASEAN to know) ท่ีเกดิ จากการพฒั นาโครงงานในครงั้ น้ีไดแ ก บุคคลที่อายุไมต ํ่ากวา ๗ ป ในจังหวัดขอนแกน จาํ นวน ๔๐ คน

๒ บทที่ ๑ บทนาํ ๑.๔ แผนการดาํ เนนิ งาน ตารางท๑่ี แผนการดําเนินงานของโครงงาน

๔ บทท่ี ๑ บทนํา ๑.๕ ประโยชนท คี่ าดวา จะไดรบั ๑.โปรแกรมสง เสรมิ ทักษะการเรยี นร\"ู อาเซยี น นา รู(ASEAN to know)\" สามารถใชบน ระบบปฎิบัตกิ ารAndroid ไดจ ริง ๒.ทดลองไดรบั ความรคู วามเขาใจเก่ียวกับความรูพน้ื ฐานเกีย่ วกบั ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี น

๕ บทท่ี ๒ เอกสารท่เี กี่ยวของ การจดั ทาํ โครงงานพัฒนาแอปพลเิ คชนั่ “อาเซยี น นา รู (ASEAN to know)” โดยใช โปรแกรม MIT App Inventor ผจู ัดทําไดศึกษาจากเอกสารทเ่ี กย่ี วของตามรายละเอียดดังตอ ไปน้ี ๑. สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น ๓. MIT App Inventor ๑. สาขาวชิ าและสาระสําคญั ของการเรยี นรูวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาขาวิชา หลกั สตู รแกนกลางอาเซียน กําหนดใหจดั การเรยี นรเู รอื่ งอาเซียนใน ๗ สาขาวชิ า ไดแ ก ๑) ประวัตศิ าสตรและสงั คมศาสตร (History and Social Studies) ๒) วิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (Science and Mathematics) ๓) หนา ท่ีพลเมืองและจริยศาสตร (Civic and Moral Education) ๔) ภาษาและวรรณกรรม (Languages and iterature) ๕) ศลิ ปะ (Arts) ๖) สขุ ศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education) ๗) เทคโนโลยี (Technology) สาระสาํ คญั สาระสําคัญของการเรยี นรูของหลักสตู รแกนกลางอาเซียน จะเนนใน ๕ ประเด็น ซงึ่ สอดคลอ งกบั เปา หมายที่ระบุไวในแผนการจัดต้งั ประชาคมสังคมและ วฒั นธรรมอาเซยี น (ASEAN –Cultural Community:ASCC) และรองรับ Roadmap for an ASEAN Community ๑) การรจู ักอาเซียน (Knowing ASEAN) ๒) การตระหนักถึงคุณคาของอตั ลักษณและความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) ๓) การเชอื่ มโยงโลกและทองถ่ิน (Connecting Global and Local) ๔) การสง เสรมิ ความเสมอภาคและยตุ ธิ รรม (Promoting Equity and Justice) ๕) การทาํ งานรว มกันเพ่อื อนาคตที่ย่ังยืน (Working together for a Sustainable Future)

๖ บทท่ี ๒ เอกสารที่เก่ยี วของ ๒. ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น อาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาตแิ หง เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต (Association of South East AsianNations) ประกอบดว ย ๑๐ ประเทศเปา หมายของการกอต้งั อาเซยี น คือ เพือ่ สง เสรมิ ความเขา ใจอันดตี อ กันระหวางประเทศในภมู ิภาคธํารงไวซ ่ึงสนั ตภิ าพเสถยี รภาพ และ ความมนั่ คงทางการเมอื ง สรางสรรคความเจรญิ กาวหนาทางดา นเศรษฐกิจ การพฒั นาทาง สังคมและวัฒนธรรมการกนิ ดีอยดู ีของประชาชนบนพนื้ ฐานของความเสมอภาคและ ผลประโยชนรวมกันของประเทศสมาชิกไดแกก มั พชู า ไทย บรไู น พมา ฟล ปิ ปน ส มาเลเซยี ลาว เวยี ดนาม สิงคโปร และอินโดนีเซีย ๓. MIT App Inventor App Inventor เปน เครื่องมอื ทใี่ ชสําหรบั สรา งแอพพลิเคชนั สําหรับสมารทโฟนและแทบ็ เลต็ ท่ี เปน ระบบปฏบิ ตั ิการ Android ซ่งึ บริษัท Google รวมมือกบั MIT พฒั นาโปรแกรม App inventor ข้ึน ตอ มาGoogle ถอนตัวออกมาและยกให MIT พัฒนาตอ เอง โดยเนนกลมุ ผู ใชดา นการศึกษา ในนาม MIT App inventor โดยใชห ลกั การคลา ยๆ กับ Scratch แตซ บั ซอ นกวา โดยลกั ษณะการเขยี นโปรแกรมแบบ Visual Programming คอื เขยี นโปรแกรมดวย การตอ บล็อกคาํ สง่ั เนน การออกแบบเพือ่ แกป ญ หา (problem solving) ดว ยการสราง โปรแกรมที่ผูเรยี นสนใจ บนโทรศพั ทมอื ถือสมารท โฟน App Inventor servers เปนเคร่อื งที่ ใหบ ริการและเกบ็ งานโปรเจกตางๆ ที่ผูใชสรา งข้ึนมา ผูใชพัฒนาโปรแกรมมอื ถือ Android โดย สรา งโปรเจกและเขยี นโปรแกรมบนเว็บเบราวเ ซอร ทเ่ี ชือ่ มตอ ไปยงั App Inventor servers เมอ่ื ไดโปรแกรมมา ก็สามารถทดสอบกบั โปรแกรมมือถอื จาํ ลอง (Android emulator) หรอื โทรศัพทม ือถอื Android จริงๆ

๗ บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ ง ภาพที่ ๑ รปู ภาพตัวอยางโปรแกรม MIT App Inventor ภาพที่ ๒ ภาพการทาํ หนาหลักของแอพพลิเคชน่ั ภาพท่ี ๓ ภาพการทาํ หนา อืน่ ๆ ของแอพพลิเคช่ัน

๘ บทท่ี ๓ อปุ กรณและวธิ กี ารดําเนนิ งาน โครงงานคอมพวิ เตอร เร่อื ง แอพพลิเคชัน่ สือ่ การเรียนรู อาเซยี น นา รู (ASEAN to know) คณะผจู ัดทําโครงงานมีวธิ ีการดาํ เนินงานโครงงาน ตามขัน้ ตอน ดังตอไปน้ี ๓.๑ วสั ดุ อุปกรณ เครอ่ื งมือหรือโปรแกรมทใี่ ชใ นการสรา งแอพพลเิ คชน่ั ๑) เคร่อื งคอมพวิ เตอรโ นตบุคพรอมเชือ่ มตอระบบเครือขายอินเทอรเ น็ต - ระบบปฏิบตั ิการ : Windows 10 PRO 64 bit. - หนวยประมวลผล : AMD Ryzen 7 4700U (4M Cache, up to 4.0Hz) - ความเรว็ : 4.0 GHz - RAM 8 GB ๒) โทรศพั ทมือถอื ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ๓) MIT App Inventor สาํ หรับใชในการสรา งแอพพลิเคชนั่ ๓.๒ ข้ันตอนการดาํ เนนิ งาน แบง เปน ๒ ขัน้ ตอน คอื ขน้ั ตอนที่ ๑ การสรา งส่อื การเรียนรชู อ่ื “อาเซยี น นาร”ู มรี ายละเอยี ดการสรา ง ดงั ตอไปนี้ ๑) คิดหัวขอโครงงานเพอ่ื นาํ เสนออาจารยทป่ี รกึ ษา ๒) ศกึ ษาคนควา รวบรวมขอมูลเกย่ี วกบั การสรางโปรแกรมเพือ่ สง เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู ๓) จดั ทาํ โครงงานคอมพวิ เตอรเสนออาจารยท ีป่ รกึ ษา ๔) ออกแบบโปรแกรมเพอ่ื สงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู หนา หลัก เนือ้ หา แบบฝกหัด ฯลฯ ๕) สรา งโปรแกรมเพอื่ สง เสรมิ ทักษะการเรยี นรเู รื่อง ความรูพน้ื ฐานเกี่ยวกับ ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี น เปน ไฟล Apk. เพือ่ ใชบนระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ๖) ตรวจสอบการทํางานของโปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทักษะการเรียนรูเร่ือง ความรพู ืน้ ฐานเกย่ี ว กบั ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น และแกไ ขข อผดิ พลาด ๗) นาํ โปรแกรมเพือ่ สง เสริมทักษะการเรยี นรเู รอื่ ง ความรพู น้ื ฐานเก่ียวกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี นไปสอบถามขอเสนอแนะจากอาจารยท่ปี รกึ ษา

๙ บทที่ ๓ อุปกรณและวธิ กี ารดําเนินงาน ๘) ปรับปรงุ แกไ ขขอ บกพรองตามท่อี าจารยท ่ปี รกึ ษาเสนอแนะเพิ่มเตมิ ๙) ทดสอบใชนาํ โปรแกรมเพอ่ื สง เสริมทกั ษะการเรียนรูเรือ่ ง ความรู พ้นื ฐานเก่ียวกบั ๑๐ประเทศ สมาชกิ อาเซยี น ในชือ่ โครงงาน อาเซยี น นา รู (ASEAN to know) และรวบรวมขอมลู ความพงึ พอใจของกลมุ ตัวอยางหลงั ทดลองใชแอปพลเิ คชนั่ ๑๐)ทําเอกสารสรุปรายงาน ข้นั ตอนที่ ๒ การทดลองใชแอพพลิเคชนั่ ส่อื การเรยี นรู“อาเซียน นารู” มขี ัน้ ตอนการทดลอง ดังตอไปน้ี ๑. นําสอ่ื การเรียนรู อาเซียน นา รูไปทดลองใชกับกลุมเปา หมาย ซง่ึ ไดแก บุคคลทอ่ี ายุไมต่าํ กวา ๗ ป ในจังหวดั ขอนแกน จํานวน ๔๐ คน ๒. กอนการทดลองมีการแนะนําวธิ กี ารใชแอพพลิเคชั่นส่ือการเรยี นรู “อาเซียน นา ร”ู ๓. ใหกลมุ เปาหมายทําการประเมินความพงึ พอใจในแอพพลิเคชั่นสอ่ื การเรียนรู อาเซยี น นา รูโดยใช แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราสว นประเมินคา (Rating scale) โดยมกี ารใหค ะแนนเปน ๕ ระดับ ซึง่ มเี กณฑป ระเมนิ ดงั นี้ ๕ หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ วา ขอความนนั้ มีความพึงพอใจในระดับดมี าก ๔ หมายถึง มคี วามคดิ เหน็ วาขอ ความนนั้ มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ๓ หมายถงึ มีความคดิ เหน็ วา ขอความน้นั มคี วามพงึ พอใจในระดับปานกลาง ๒ หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ วา ขอ ความน้ันมคี วามพึงพอใจในระดับนอ ย ๑ หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ วาขอความน้ันมีความพงึ พอใจในระดบั ปรับปรงุ ไดกําหนดเกณฑก ารแปลความหมาย ดังนี้ ๔.๕๐ - ๕.๐๐ หมายถึง มีความพอใจในระดับดีมาก ๓.๕๑ - ๔.๔๙ หมายถึง มคี วามพอใจในระดับดี ๒.๕๑ – ๓.๔๙ หมายถึง มีความพอใจในระดับปานกลาง ๑.๕๑ - ๒.๔๙ หมายถงึ มคี วามพอใจในระดบั นอย ๑.๐๐ - ๑.๕๐ หมายถึง มีความพอใจในระดบั ปรบั ปรงุ ๔. นําผลการประเมินความพึงพอใจกลมุ เปา หมายมาวิเคราะหห าคา เฉลยี่ เลขคณิต เพือ่ หาคาระดับ ความพงึ พอใจในการใชแ อพพลิเคชัน่ สอื่ การเรยี นรู “อาเซยี น นา ร”ู ๕. เอกสารสรปุ รายงานโครงงานและเผยแพร

๑๐ บทที่ ๔ ผลการดาํ เนนิ งาน การออกแบบและพัฒนาสอ่ื การเรยี นรใู นครง้ั นี้ เพ่ือสง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เร่อื ง 10 ประเทศ อาเซยี น ในรปู แบบของสอื่ การเรียนรโู ดยใชโ ปรแกรม MIT App inventor เพ่ือสรา งการเรียนรู “อาเซยี นนารู (ASEAN to know)”และทาํ ใหต วั แอปพลเิ คชัน สามารถใชง านในระบบ Android ได และ เพอื่ สรา งแอพพลเิ คช่ันที่ใหความรคู วามเขาใจในเรอื่ ง 10 ประเทศอาเซยี นมากข้นึ มีผลการ ดาํ เนนิ โครงงานดงั น้ี ๔.๑ ผลการออกแบบและสรา งแอพพลิเคช่ัน ผลการออกแบบและสรางแอปพลิเคชนั พฒั นาสอ่ื การเรยี นรูเ พอื่ สง เสริมทกั ษะการเรียนรู เรอ่ื ง 10 ประเทศอาเซียน ในรูปแบบของสอ่ื การเรยี นรู “อาเซียนนารู (ASEAN to know)” ท่เี กิดจาก การออกแบบ และการสรา งสือ่ การเรียนรูในครั้งนี้ ๑) แอปพลิเคชันพัฒนาสอื่ การเรียนรู“ อาเซียนนา รู (ASEAN to know)” ภาพที่ ๔ ไอคอนแอปพลิเคชนั สือ่ การเรยี นรู“ อาเซียนนา รู (ASEAN to know)”

บทท่ี ๔ ผลการดําเนนิ งาน ๑๑ ๒) หนาหลักของแอปพลิเคชนั พฒั นาสือ่ การเรียนรู “อาเซียนนา รู (ASEAN to know)” ภาพท่ี ๕ หนาหลักของแอพพลิเคชนั่ ๓) สวนของเนอื้ หาส่ือการเรยี นรู ภาพที่ ๖ หนาเน้อื หาสือ่ การเรยี นรู

บทท่ี ๔ ผลการดาํ เนนิ งาน ๑๒ ๔) สว นของแบบฝกหัดของส่อื การเรียนรู ภาพท่ี ๗ หนา เขา สแู บบฝกหดั ๕)สว นของตัวอยา งแบบฝกหัด ภาพท่ี ๘ หนา ตวั อยา งแบบฝก หดั

บทที่ ๔ ผลการดาํ เนนิ งาน ๑๓ ๖)สวนของหนาสรปุ คะแนนแบบฝกหัด ภาพท่ี ๙ หนา สรุปผลคะแนน ๔.๒ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจตอ โครงงานคอมพิวเตอร การสรา งแอพพลิเคชั่นพฒั นาเกมเพ่อื สง เสริมทกั ษะการเรยี นรู เรื่อง คาํ ศพั ทภ าษา องั กฤษ ในรปู แบบของสื่อการเรยี นร“ู อาเซียน นา ร(ู ASEAN to know)” ผจู ัดทําโครงงาน ไดอ อกแบบแบบสอบถามการประเมินความพึงพอใจในการใขงานของกลมุ เปาหมาย โดยมี ครูทีป่ รึกษาโครงงานเปนผตู รวจสอบหาประสิทธิภาพของแบบประเมิน

บทท่ี ๔ ผลการดําเนินงาน ๑๔ ตารางที่ ๒ แสดงผลคาเฉลยี่ เลขคณิตการประเมนิ ความพึงพอใจส่อื การเรยี นรู “อาเซียน นา รู (ASEAN to know)” จากตารางที่ ๒ พบวา เมือ่ พจิ ารณาเปน รายขอพบวา สวนใหญอยูใ นระดบั ดี หัวขอท่มี คี า เฉล่ยี นอย ทีส่ ุด คือ เสียงที่ใชป ระกอบในแอปพลิเคชนั มคี าเฉล่ยี เทา กับ ๔.๑๓ ซงึ่ อยใู นระดบั ดี หัวขอ ที่มคี า เฉลี่ยสงู สดุ คือ สามารถนาํ ความรูไปใชในชวี ติ จรงิ ไดค าเฉลี่ยเทา กับ ๔.๒๘ ซง่ึ อยใู นระดับดเี ชนกนั และความพึงพอใจโดยรวมตอส่อื การเรยี นรู อาเซยี น นา รู “(ASEAN to know)” อยูใ นระดบั ท่ีดี โดยมคี า เฉล่ียเทา กบั ๔.๒๒

๑๕ บทที่ ๕ สรุปการดําเนนิ งานและอภิปรายผลการดําเนนิ งาน การสรา งแอพพลิเคช่นั พัฒนาส่อื การเรยี นรูเ พอื่ สงเสริมทักษะการเรียนรู เรอื่ ง 10 ประเทศ สมาชกิ อาเซยี น ในรปู แบบของส่ือการเรยี นรู “อาเซยี น นารู(ASEAN to know)” สามารถสรปุ ผลการดําเนนิ งานได ดงั นี้ สรุปผลการดาํ เนินงานการสรางแอพพลเิ คชนั่ พฒั นาเกมเพอ่ื สง เสรมิ ทักษะการเรียนรู เรื่อง 10 ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ในรปู แบบของส่อื การเรียนรู “อาเซยี น นา รู(ASEAN to know)” สรา งโดยใชโปรแกรม MIT App Inventor ใน รปู แบบไฟล Apk เพอื่ ให สามารถใชง านบนโทรศัพทมือถอื หรืออปุ กรณอิเลก็ ทรอนกิ สใ นระบบปฏิบัติการแอนดรอยดไ ด ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจในการใชแ อพพลิเคชัน่ สอ่ื การเรียนรู “อาเซียน นา รู(ASEAN to know)” จาํ นวน ๔๐ คน พบวา เมอื่ พจิ ารณาเปนรายขอพบวา สวนใหญอ ยใู นระดบั ดี หวั ขอ ทมี่ ี คาเฉลี่ยนอ ย ท่ีสดุ คือ เสยี งทใ่ี ชประกอบในแอปพลิเคชนั มีคา เฉล่ยี เทา กับ ๔.๑๓ ซง่ึ อยูในระดบั ดี หวั ขอ ท่ีมีคาเฉล่ียสงู สดุ คือ สามารถนาํ ความรูไปใชใ นชวี ิตจรงิ ไดคาเฉล่ยี เทา กับ ๔.๒๘ ซ่ึงอยใู น ระดบั ดีเชนกนั และความพงึ พอใจ โดยรวมตอ สื่อการเรยี นรู อาเซียน นารู “(ASEAN to know)” อยูในระดบั ท่ีดี โดยมีคา เฉลย่ี เทา กับ ๔.๒๒ สรุปไดว า โครงงานการพัฒนาสือ่ การเรียนรเู พอื่ สงเสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง 10 ประเทศ สมาชกิ อาเซียน ในรปู แบบของสอื่ การเรียนรู “อาเซยี น นาร(ู ASEAN to know)” สามารถ พัฒนาความรู และทกั ษะในการจดจําขอมลู พืน้ ฐานของ 10 ประเทศสมาชกิ อาเซียน พรอมทงั้ ให ผูใชไดรับความรูค วามเขาใจในเรอ่ื งของ 10 ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ขอ เสนอแนะ ๑) ในการพัฒนาแอปพลเิ คชั่นเพือ่ สง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เร่อื ง 10 ประเทศสมาชกิ อาเซียน ใน รปู แบบของแอปพลิเคชนั่ “อาเซยี น นาร(ู ASEAN to know)” มขี อ มูลตางๆของแตละประเทศ มากยง่ิ ขึ้น ๒) การสรา งแอพพลเิ คช่นั สอ่ื การเรยี นรู เร่อื ง 10 ประเทศสมาชิกอาเซยี น ในรปู แบบของส่ือการ เรียนรู “อาเซียน นาร(ู ASEAN to know)” มลี กู เลนตา งๆ และเสยี งดนตรีประกอบท่ีสามารถให ความนา สนใจแกผ ูท ดลองใชม ากย่งิ ขึ้น

บรรณานกุ รม ๑๖ YouTube. (๒๕๖๒, ตลุ าคม ๒๗). สอนใช Wix แบบฉบับดวน ๆ [วดิ ีโอ], สบื คนเมื่อวัน ที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://www.youtube.com/watch? v=Re0H3mHiQZA YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๕). MIT App Inventor2: สรา งแอพสอนคําศัพท (ep. 1/3) [วิดโี อ], สบื คนเมือ่ วนั ท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/HoMc2zYASuM YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สรา งแอปสอนคาํ ศพั ท (ep. 2/3) [วิดโี อ], สืบคนเมื่อวันท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/UA8ioVEwskw YouTube. (๒๕๖๒, กันยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สรา งแอพสอนคาํ ศัพท (ep. 3/3) [วิดโี อ], สืบคน เมื่อวนั ที่ ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/PI7Tx_fMsLw (๒๕๖๑, กันยายน ๒๗). ประเทศอาเซยี น ๑๐ ประเทศ ที่คณุ ควรรจู ัก [ออนไลน], สืบคน เมื่อวันที่ ๓๐ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://www.sanook.com/money/69225/ (๒๕๕๖, กันยายน ๒๑). ความรเู กยี่ วกับอาเซียน [ออนไลน], สบื คน เมื่อวันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm

๑๗ ภาคผนวก

คูมือการใชงาน ๑๘ แอพพลิเคชนั่ สื่อการเรียนรู อาเซียนนารู (ASEAN to know) โดย ๑. นายอัศจรรย จันอุป เลขท่ี ๑๐ ๒. นางสาวกลุ ยา ศิริสม เลขที่ ๓๗ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๔ โรงเรียนกัลยาณวัตร สังกัดสํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๕

คมู อื การใชงาน ๑๙ แอพพลิเคชัน่ สื่อการเรยี นรู อาเซียนนา รู (ASEAN to know) ๑. ติดตัง้ โปรแกรม ASEAN_to_know.apk ลงบนโทรศัพทม อื ถือ Android ๒. เปดแอพพลเิ คชน่ั ASEAN

คูมือการใชง าน ๒๐ แอพพลเิ คชัน่ ส่อื การเรยี นรู อาเซียนนา รู (ASEAN to know)

คูมือการใชง าน ๒๑ แอพพลเิ คชัน่ ส่อื การเรยี นรู อาเซียนนา รู (ASEAN to know)

คูมือการใชง าน ๒๒ แอพพลเิ คชัน่ ส่อื การเรยี นรู อาเซียนนา รู (ASEAN to know)

๒๓ แบบฟอรม ขอ เสนอโครงงาน ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) อาเซียน นา รู ชอ่ื โครงงาน(ภาษาองั กฤษ) ASEAN to know ประเภทโครงงาน โปรมแกรมเพื่อสงเสริมทกั ษะการเรียนรู ผจู ัดทําโครงงาน ๑.นายอัศจรรย จันอุป เลขที่ ๑๐ ๒.นางสาวกุลยา ศริ สิ ม เลขที่ ๓๗ อาจารยท ีป่ รึกษาโครงงาน คุณครู อํานาจ พรหมใจรกั ษ ระยะเวลาการดําเนนิ งาน ๒๑ ตลุ าคม – ๑๗ พฤษจกิ ายน ๒๕๖๓

ขอเสนอโครงงาน ๒๔ หลักการและเหตุผล ปจ จุบันนปี้ ระเทศสวนใหญใ นโลกมีการรวมตัวจดั กลุม กนั เพื่อความเจริญกา วหนาทาง เศรษฐกจิ การพฒั นาสังคมและวฒั นธรรม ซง่ึ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดม ีการจดั ต้งั สมาคมประชาชาติแหงเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต( Association of South East Asian Nations) หรอื ในนาม ASEAN โดยมีสมาชิกท้ังหมด ๑๐ ประเทศไดแก กมั พูชา ไทย บรูไน พมา ฟล ิปปน ส มาเลเซยี ลาว เวียดนาม สิงคโปร และอินโดนีเซีย ในฐานะท่ปี ระเทศไทยเปน หน่ึงใน สมาชิก เราจึงจะตองมีการเรียนรูวฒั นธรรมตางๆ ของประเทศสมาชิกทางผูพัฒนาจงึ ไดเลง็ เห็นถึงประโยชนข องเทคโนโลยใี นดานการศกึ ษา เราจึงไดนาํ มาพฒั นาเปน แอปพลิเคช่ันเพ่อื สงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรขู น้ึ ในช่ือวา \"อาเซยี น นารู (ASEAN to know)\" โดยเนอื้ หาจะ ครอบคลมุ ความรพู ้นื ฐานของ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ไมวา จะเปน ในเรอ่ื งของ ธงชาติ เมืองหลวง ภาษา สกุลเงิน การนับถือศาสนา ระบอบการปกครอง และคาํ ทกั ทาย เปนตน วตั ถุประสงค ๑. เพ่ือออกแบบและสรา งแอปพลิเคช่ันเพื่อสงเสริมทกั ษะการเรียนรูในเร่อื ง ความรูพ นื้ ฐาน เก่ยี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ในช่ือโครงงาน อาเซยี น นา รู (ASEAN to know) เพือ่ ใช กับ Smart Phone หรือ Tablet ท่ใี ชระบบปฏิบตั กิ าร Android ๒. ผทู ดลองไดรับความรู ความเขาใจในเร่ืองความรพู น้ื ฐานเกีย่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซียน

ขอเสนอโครงงาน ๒๕ วธิ ีการดาํ เนินงาน ๑) คดิ หวั ขอโครงงานเพ่อื นาํ เสนออาจารยท ป่ี รกึ ษา ๒) ศกึ ษาคนควา รวบรวมขอ มูลเกี่ยวกบั การสรา งโปรแกรมเพ่ือสงเสริมทกั ษะการเรยี นรู ๓) จัดทําโครงงานคอมพวิ เตอรเสนออาจารยทปี่ รกึ ษา ๔) ออกแบบโปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทักษะการเรียนรู หนา หลกั เนือ้ หา แบบฝก หัด ฯลฯ ๕) สรา งโปรแกรมเพือ่ สง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรูเรื่อง ความรูพืน้ ฐานเกยี่ วกับ ๑๐ ประเทศ สมาชิกอาเซยี น เปน ไฟล Apk. เพ่อื ใชบ นระบบปฏบิ ัติการ Android ๖) ตรวจสอบการทาํ งานของโปรแกรมเพ่ือสง เสริมทักษะการเรยี นรูเ รื่อง ความรพู นื้ ฐานเกยี่ ว กับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น และแกไ ขข อ ผิดพลาด ๗) นาํ โปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรเู ร่ือง ความรพู น้ื ฐานเกีย่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี นไปสอบถามขอ เสนอแนะจากอาจารยที่ปรึกษา ๘) ปรับปรงุ แกไขขอ บกพรอ งตามทอ่ี าจารยท ีป่ รกึ ษาเสนอแนะเพม่ิ เติม ๙) ทดสอบใชนาํ โปรแกรมเพื่อสง เสริมทกั ษะการเรยี นรูเรือ่ ง ความรู พื้นฐานเกย่ี วกบั ๑๐ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ในช่ือโครงงาน อาเซยี น นา รู (ASEAN to know) และรวบรวม ขอมูลความพงึ พอใจของกลมุ ตวั อยางหลงั ทดลองใชแอปพลเิ คชนั่ ๑๐)ทําเอกสารสรปุ รายงานโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเพอ่ื สงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรเู รื่อง ความรพู ืน้ ฐานเก่ยี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น โดยใชโ ปรแกรม MIT App inventor ในการสรา งแอปพลเิ คช่ัน และ ไฟล Apk.สําหรับติดตั้งในระบบปฏบิ ตั ิการ Android กลุมเปา หมายทใี่ ชในการทดลอง แอปพลิเคชนั อาเซียนนารู(ASEAN to know) ทีเ่ กิดจากการพฒั นาโครงงานในครง้ั นี้ไดแก บุคคลท่ีอายุไมตาํ่ กวา ๗ ป ในจังหวัดขอนแกน จํานวน ๔๐ คน

ขอเสนอโครงงาน ๒๖ แผนการดําเนินงาน ตารางท่ี ๑ แผนการดาํ เนินงานของโครงงาน ผลทค่ี าดวาจะไดรับ ๑. โปรแกรมสง เสริมทักษะการเรยี นร\"ู อาเซียน นาร(ู ASEAN to know)\" สามารถใชบ น ระบบปฎิบัติการ Android ไดจ รงิ ๒. ผทู ดลองไดร บั ความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกับความรพู ้นื ฐานเก่ยี วกบั ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี น

ขอ เสนอโครงงาน ๒๗ เอกสารอา งอิง YouTube. (๒๕๖๒, ตุลาคม ๒๗). สอนใช Wix แบบฉบบั ดว น ๆ [วิดีโอ], สืบคน เมื่อวนั ท่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://www.youtube.com/watch? v=Re0H3mHiQZA YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๕). MIT App Inventor2: สรางแอพสอนคาํ ศพั ท (ep. 1/3) [วิดโี อ], สบื คนเมือ่ วนั ท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/HoMc2zYASuM YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สรา งแอปสอนคาํ ศพั ท (ep. 2/3) [วิดีโอ], สืบคนเมอ่ื วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/UA8ioVEwskw YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สรางแอพสอนคาํ ศัพท (ep. 3/3) [วดิ โี อ],สืบคนเม่อื วนั ท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/PI7Tx_fMsLw (๒๕๖๑, กันยายน ๒๗). ประเทศอาเซยี น ๑๐ ประเทศ ท่คี ุณควรรูจกั [ออนไลน], สบื คน เม่อื วันท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://www.sanook.com/money/69225/ (๒๕๕๖, กันยายน ๒๑). ความรูเ ก่ียวกับอาเซยี น [ออนไลน], สบื คน เมอ่ื วันที่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm

แบบสาํ รวจความพึงพอใจ ๒๘ โคงงานคอมพวิ เตอรแอปพลิเคชั่นอาเซียน นา รู (ASEAN to know) แบบสอบถามน้ีมวี ตั ถปุ ระสงคเพอ่ื สํารวจความพึงพอใจของโครงงานคอมพิวเตอร แอปพลเิ คชัน่ อาเซียน นาร(ู ASEAN to know) ขอเสนอแนะ ……………………………………………..................…………………………………..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook