Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน9.1

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน9.1

Description: ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน9.1

Search

Read the Text Version

สื่อการเรียนรู้แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ( Self – Learning Package ) แบบหน่วยการเรียน ( Instructional Module ) เล่ม 9.1 วชิ างานซ่อมเครื่องยนต์ดเี ซล ช่ืองานตรวจสอบระยะรุนก้านสูบด้วยไดอลั เกจ และช่องว่างนา้ มันหล่อล่ืนที่แบริงก้านสูบ ด้วยพลาสตเิ กจ จดั ทาโดย กล่มุ ปลูกต้นกล้าอาชีพ

เริ่มต้น ศึกษาและทาแบบฝึ กหัด เรียนซ่อมเสริม ผ่านเกณฑ์ 80 % ศึกษาบทเรียนต่อไป ไม่ผ่านเกณฑ์

ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน ❄เมื่อท่านศึกษาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบหน่วยการเรียน ช่ืองานตรวจสอบระยะรุนก้านสูบด้วยไดอลั เกจและช่องว่าง นา้ มันหล่อล่ืนทแ่ี บริงก้านสูบด้วยพลาสตเิ กจนีแ้ ล้ว ท่านจะสามารถ......... 1. บอกหน้าทกี่ ารทางานของก้านสูบได้ถูกต้อง 2. อธิบายวธิ ีการบริการเจอร์นัลก้านสูบได้ถูกต้อง 3. อธิบายวธิ ีการตรวจสอบก้านสูบได้ถูกต้อง 4. บอกหน้าทข่ี องแบริงทใ่ี ช้ในเครื่องยนต์ได้ถูกต้อง 5. บอกประเภทของแบริงทใี่ ช้ในรถยนต์ทว่ั ๆไปได้ถูกต้อง 6. อธิบายวธิ ีตรวจสอบระยะอดั แบริงก้านสูบได้ถูกต้อง 7. อธิบายการตรวจและสาเหตุการเสียหายของแบริงและ วเิ คราะห์สภาพแบริงได้ถูกต้อง 8. บอกวธิ ีใช้เครื่องมืออปุ กรณ์ทใี่ ช้ตรวจสอบระยะรุนก้านสูบ และช่องว่างนา้ มนั หล่อล่ืนแบริงก้านสูบ ได้ถูกต้อง 9. บอกสถานทเี่ กบ็ เครื่องมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบได้ถูกต้อง 10. บอกวธิ ีเบกิ เครื่องมืออปุ กรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบได้ถูกต้อง

11. บอกข้อควรระวงั ในการเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ทใี่ ช้ ตรวจสอบได้ถูกต้อง 12. บอกวธิ ีถอดอ่างนา้ มนั เคร่ืองออกได้ถูกต้อง 13. บอกข้อควรระวงั ในการถอดอ่างนา้ มนั เครื่องออกได้ถูกต้อง 14. บอกวธิ ีถอดตระแกรงกรองนา้ มนั เคร่ืองออกได้ถูกต้อง 15. บอกข้อควรระวงั ในการถอดตระแกรงกรองนา้ มนั เครื่อง ออกได้ถูกต้อง 16. บอกวธิ ีถอดป๊ัมนา้ มนั เครื่องออกได้ถูกต้อง 17. บอกข้อควรระวงั ในการถอดป๊ัมนา้ มนั เครื่องออกได้ถูกต้อง

ใบเนื้อหา ( Information Sheet ) ช่ือวชิ า : งานซ่อมเครื่องยนต์ดเี ซล รหัสวชิ า 20101 – 2002 ชื่องาน : งานตรวจสอบระยะรุนก้านสูบด้วยไดอลั เกจและช่องว่าง นา้ มันหล่อลื่นที่แบริงก้านสูบด้วยพลาสตเิ กจ 1. หน้าทก่ี ารทางานของก้านสูบ ก้านสูบเป็ นชิ้นส่วนที่ใช้ในการถ่ายทอด แรงของการเผาไหม้จากลูกสูบไปสู่ เพลาข้อเหวย่ี งโดยปลายเลก็ ของก้าน สูบตดิ เข้ากบั ลูกสูบและปลายใหญ่ถูก ตดิ เข้ากบั เจอร์นัลหรือสลกั เพลาข้อ เหวยี่ ง ปลายใหญ่ก้านสูบ ( Rod Big End ) ถูกสร้างโดยมฝี าประกบั แบริงที่ ถอดออกได้ เพื่อให้ก้านสูบสามารถ ประกอบเข้ากบั เพลาข้อเหวยี่ งได้ การ ผวิ ทีท่ าเป็ นฟันปลา จบั ยดึ ของก้านสูบทปี่ ลายท้งั สองจะ สวมหมุนอสิ ระซึ่งกนั และกนั ท้งั นีเ้ พื่อ ผลในการทางานทกี่ ้านสูบเปลยี่ นแนว แรงทลี่ ูกสูบได้รับจากการระเบิดในแนว

ขนึ้ ลงเปลยี่ นเป็ นแนวหมุนกระทาต่อ เพลาข้อเหวยี่ ง และเพื่อให้ฝาประกบั แบริงได้แนวอย่างถูกต้องกบั ก้านสูบ จงึ ต้องใช้รูปแบบของการกาหนด ตาแหน่ง ๆ เช่น ผวิ ทท่ี าเป็ นข้นั สลกั นา หรือผวิ ทีท่ าเป็ นฟันปลาท่ผี วิ หน้า แยกต่อระหว่างฝาประกบั แบริงและก้านสูบ ก้านสูบมคี วาม แข็งแรงและนา้ หนักเบาเพื่อให้มผี ลต่อแรงเฉ่ือยและแรงเหวย่ี งจาก การเปลย่ี นแนวแรงให้มผี ลกระทบต่อบุช ( Bush ) และแบร่ิง ( Bearing ) น้อยทส่ี ุดก้านสูบบางอนั แนวแยกต่อของฝาประกบั แบร่ิงด้านปลายใหญ่อาจทามุม 45° กบั ก้านสูบการทาเช่นนีจ้ ะช่วย ให้การถอดและประกอบก้านสูบสะดวกขนึ้ เม่ือทาการซ่อม เครื่องยนต์ และยงั ช่วยลดแรงเฉ่ือยซ่ึงกระทาตามปกติต่อสลกั เกลยี ว ฝาประกบั แบริง ในระหว่างจงั หวะคายและจังหวะอดั ลง เนื่องจากแรงเหล่านีถ้ ูกรับโดยอปุ กรณ์กาหนดตาแหน่งฝาประกบั แบริงมากกว่า จะไปทาให้เกดิ ความเครียดในสลกั เกลยี วฝาประกบั ด้านปลายใหญ่

2. การบริการเจอร์นัลก้านสูบ ก้านสูบโดยปกตจิ ะถูกเจาะรูผ่านแนว รูนา้ มัน กง่ึ กลางจากแบริงด้านปลายใหญ่ก้าน สูบไปยงั แบริงสลกั ลูกสูบเพื่อให้ นา้ มนั หล่อล่ืนซ่ึงถูกส่งไปยงั เจอร์นัล เพลาข้อเหวยี่ งไหลขนึ้ ไปตามรูเจาะและ ไปหล่อลื่นสลกั ลูกสูบและแบริงใน เคร่ืองยนต์บางแบบนา้ มนั ทถี่ ูกส่งผ่านรู ตวั เลขหรือตวั อกั ษร ในก้านสูบจะถูกฉีดพ่นขนึ้ ไปใต้ลูกสูบ เพ่ือหล่อเยน็ ลูกสูบด้วยในการผลติ เครื่องยนต์ก้านสูบและฝาประกบั แบริง ตาแหน่งหันไปด้านหน้า ทดี่ ้านปลายใหญ่ก้านสูบจะถูกตอกเป็ น ตัวเลขหรือตวั อกั ษรเพื่อใช้แสดง ชิ้นส่วน 2 ชิ้นนีว้ ่าเป็ นส่วนทคี่ ู่กนั และ แสดงตาแหน่งของกระบอกสูบใน ระหว่างซ่อมใหญ่เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนที่ เข้าคู่กนั เหล่านีจ้ ะต้องใส่ด้วยกนั เป็ นคู่

และประกอบกนั เข้าไปบนเพลาข้อเหวยี่ งเป็ นคู่เมื่อถอดฝาสูบและ อ่างนา้ มนั เครื่อง ให้ใช้ประแจถอดฝาประกบั แบริงเจอร์นัลด้าน ปลายใหญ่ก้านสูบออก ซึ่งปกติแล้วบริษทั ผู้ผลติ เคร่ืองยนต์จะทา เครื่องหมายบนฝาประกบั แบริงไว้แล้วแต่ถ้าไม่ได้ทาให้ทาบันทกึ ว่า ประกบั แบริงหันไปทางไหนของเครื่องยนต์เพ่ือให้สามารถตดิ ต้งั ก้านสูบเข้าในตาแหน่งเดมิ ได้อย่างถูกต้อง สึกหรอเป็ นรอยข้นั เม่ือทาการประกอบทดี่ ้านบนของผนัง กระบอกสูบถ้ามกี ารสึกหรอเป็ นรอยข้นั ( Ridge ) จะต้องเอารอยข้นั ออกโดยใช้ เครื่องปาดขอบในของกระบอกสูบ ( Cylinder Ridge Remover ) เอารอย ข้นั ออก ก่อนทจี่ ะสามารถเอาลูกสูบ ออกซึ่งความพยายามใด ๆ ที่จะเอา ลูกสูบออกโดยทย่ี งั มรี อยข้นั อยู่ใน กระบอกสูบจะทาให้แหวนลูกสูบและ ร่องแหวนลูกสูบ ( Piston Ring Groove ) เสียหาย

ถอดแป้นเกลยี วยดึ ประกบั แบริง ก้านสูบออก ให้สวมท่อยางทส่ี ลกั เกลยี วเพ่ือป้องกนั ผนังกระบอกสูบเป็ น รอย ใช้ด้ามค้อนไม้ดนั ท่ดี ้านปลายใหญ่ ก้านสูบให้ลูกสูบและชุดก้านสูบออก เมื่อเอาลูกสูบท้งั หมดออกแล้วให้ถอด แหวนลูกสูบออกโดยใช้เคร่ืองถ่างแหวน แล้วใช้คมี บีบแหวนลอ็ คถอดแหวนลอ็ ค สลกั ลูกสูบออกและก่อนทจ่ี ะถอดลกู สูบ ออกจากก้านสูบ ให้ทาเครื่องหมายตาแหน่งของลูกสูบบนก้านสูบ ไว้เน่ืองจากลูกสูบจะต้องใส่กลบั เข้าไปในตาแหน่งเดมิ เม่ือมกี าร ประกอบ ใช้เครื่องอดั สลกั ลูกสูบ อดั เอาสลกั ลูกสูบออก การเอาลูกสูบออกจากก้าน สูบให้ศึกษาและปฏิบตั ติ ามทรี่ ะบุไว้ใน คู่มือซ่อมของบริษทั ผู้ผลติ แนะนาให้ทา ข้อควรระวงั ในระหว่างการนาเอาลูกสูบออกจากก้านสูบให้ ระมดั ระวงั ด้านข้างลูกสูบเป็ นรอยขดี

เพ่ือให้การบริการก้านสูบและชุดลูกสูบมคี วามหมายมากยงิ่ ขนึ้ ต้อง เข้าใจวธิ ีตรวจสอบและการซ่อมที่ใช้ร่วมกบั ตัวอย่างของขนาด ระยะห่างและเกณฑ์ความคลาดเคล่ือนจะแสดงถึงวธิ ีการซ่อมใหญ่ ( Overhaul ) ดงั น้ันจงึ ต้องอ้างองิ จากคู่มือการซ่อมเครื่องยนต์ของ ตรวจระยะห่าง บริษทั ผู้ผลติ หลงั จากฝาประกบั แบริง ด้านข้างของก้านสูบ ก้านสูบแต่ละอนั ถูกตดิ ต้งั และขนั สลกั เกลยี วจนได้ความตึงท่ีกาหนดแล้วให้ ตรวจระยะห่างด้านข้างของก้านสูบ ( ระยะรุน ) โดยใช้ฟิ ลเลอร์เกจ หรือจะ ใช้ไดอลั เกจตรวจระยะห่างด้านข้างที่ค่า ระยะห่างด้านข้างของก้านสูบ ( ระยะรุน ) ให้ดูทค่ี ่ากาหนดของ บริษทั ผู้ผลติ กาหนดไว้ทคี่ ู่มือการซ่อมแต่ละบริษทั เพลาข้อเหวยี่ ง ( Crankshaft ) ถูก ตดิ ต้งั อยู่ในส่วนล่างของเสื้อสูบ ทา หน้าทีร่ ับกาลงั ทีเ่ กดิ จากความร้อนจาก การเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ในจงั หวะ กาลงั งานทสี่ ่งมาจากก้านสูบ ( Connecting rod ) โดยเปลย่ี นจากแรง

รูนา้ มนั กาลงั แนว ขนึ้ – ลง ของลูกสูบมาเป็ น แรงกาลงั ในแนวหมุนด้วยความเร็วสูง รูน้ำมนั ที่กำ้ นสูบส่งไป และถ่ายทอดกาลงั ไปยงั ล้อช่วยแรงและ หล่อลื่นสลกั ลูกสูบ ระบบส่งกาลงั รถยนต์ เพลาข้อเหวย่ี ง ทห่ี มุนถูกป้อนตลอดเวลาด้วยนา้ มนั เคร่ืองทสี่ ่งมาจากป๊ัมนา้ มันเครื่องแล้ว ผ่านช่องนา้ มนั ทส่ี ่งผ่านมาจากเสื้อสูบ เพื่อส่งมาหล่อล่ืนแบริงก้านสูบ แล้ว ส่ งผ่านรูของก้านสู บไปหล่อล่ืนสลกั ลูกสูบและส่งผ่านก้านสูบในจงั หวะอดั เพื่อฉีดไปหล่อล่ืนเพื่อลดแรงตบข้าง จากจงั หวะระเบิดทผ่ี นังกระบอกสูบ ระยะห่างหล่อลื่น (Clearance) ผวิ หน้า สัมผสั ระหว่างแบริงและเจอร์นัลก้าน สูบทห่ี มุนอยู่ภายในแบริงจะต้องมีการ หล่อลื่นด้วยนา้ มันอย่างเพยี งพอ เพื่อให้ นา้ มันเครื่องก่อตวั เป็ นฟิ ล์มสาหรับการ

หล่อลื่นดงั น้ันจึงต้องกาหนดระยะห่าง ระหว่างแบริงและเจอร์นัลก้านสูบ ระยะช่องว่างเจอร์นัลก้านสูบและแบริง ต้องพอดเี พื่อจะให้นา้ มนั หล่อลื่น เคลือบอยู่บนผวิ หน้าระหว่างที่ เครื่องยนต์ทางาน ถ้าช่องว่างนา้ มันนีม้ ากเกนิ ไปแรงดนั ของ นา้ มนั เครื่องตา่ ก้านสูบจะเต้นแบริงทางานเกนิ ภาระ ในทางตรงกนั ข้ามถ้าช่องว่างนา้ มันน้อยเกนิ ไปนา้ มันหล่อลื่นเคลือบไม่เพยี งพอ ทาให้เจอร์นัลก้านสูบ และแบริงติดและเสียหายจากแบริงร้อนจัด ดงั น้ันเม่ือมีการซ่อมใหญ่เคร่ืองยนต์จะต้องตรวจสอบช่องว่าง นา้ มนั หล่อล่ืนทเี่ จอร์นัลก้านสูบด้วยพลาสติเกจโดยถอดฝาแบริ่ง ก้านสูบออกแล้วทาความสะอาดแบริงเจอร์นัลก้านสูบและเจอร์นัล ก้านสูบแล้วใช้ลมเป่ าให้สะอาด ตดั เส้นพลาสติเกจให้ยาวเท่ากบั ความกว้างของแบริง โดยวางเส้นพลาสตกิ เยือ้ งจากศูนย์กลาง แบริงไปประมาณ 1/4 นิว้ ประกอบฝาแบริงก้านสูบ แล้วขนั แป้น เกลยี วยดึ ฝาแบริงก้านสูบด้วยแรงขนั ตามทคี่ ่ากาหนดของ บริษทั ผู้ผลติ ทรี่ ะบุไว้ในคู่มือซ่อม แล้วใช้ประแจกระบอกถอดฝา แบริงก้านสูบออก นาสเกลบนแถบซองพลาสตเิ กจ ตรวจสอบ

ความกว้างของพลาสติเกจทถ่ี ูกอดั แบนตวั เลขบนซองจะแสดงค่า ระยะช่องว่างนา้ มันหล่อล่ืน นาค่าที่วดั ได้มาเปรียบเทยี บกบั ค่า กาหนดของบริษทั ผู้ผลติ ระบุไว้ในคู่มือซ่อม การวเิ คราะห์ลกั ษณะ การแบนของพลาสติเกจ 1. ถ้าพลาสติกเกจแบนน้อย แสดงว่า ระยะช่องว่างนา้ มันหล่อลื่นระหว่าง เจอร์นัลก้านสูบกบั แบริงก้านสูบมาก เช่น 0.003 นิว้ 2. ถ้าพลาสตกิ เกจแบนมาก แสดงว่า ระยะช่องว่างนา้ มันหล่อลื่นระหว่าง เจอร์นัลก้านสูบกบั แบริงก้านสูบน้อย เช่น 0.001 นิว้ 3. ถ้าพลาสติกเกจด้านหนึ่งแบนมาก และอกี ด้านหนึ่งแบนน้อยความ แตกต่างของความแบบ 2 ด้านคือ ค่าเทเปอร์หรือความเรียวของเจอร์ นัลก้านสูบเช่นด้านหนึ่งวดั ได้ .003 นิว้ อกี ด้านวดั ได้ . 001 นิว้

ค่าเทเปอร์ของเจอร์นัลก้านสูบ เท่ากบั . 002 นิว้ เป็ นต้น 4. ถ้าพลาสติเกจแบนเฉพาะตรงกลาง และปลายท้งั สองข้างของพลาสติเกจ ไม่แบนแสดงว่าเจอร์นัลก้านสูบเป็ น รูปถงั เบียร์ 5. ถ้าพลาสติเกจแบนเฉพาะปลายท้งั สองข้างบริเวณตรงกลางไม่แบน แสดงว่าเจอร์นัลก้านสูบคอดกลาง 3. การตรวจสอบก้านสูบ หลงั จากถอดก้านสูบออกจากลูกสูบแล้ว จะต้องทาความสะอาดก้านสูบและฝา ประกบั และตรวจสอบสภาพ ใช้ลมเป่ า รอยสึกหรอ รูนา้ มนั ในก้านสูบตรวจสอบแบริง ก้านสูบ (ด้านปลายโต) ถ้าก้านสูบมบี ุซ ช่ิงในปลายเลก็ ตรวจสอบความหลวม กบั สลกั ลูกสูบ ถ้าระยะช่องว่างไม่

ถูกต้องกใ็ ห้บริการบุซชิ่ง ตรวจสอบแบริงก้านสูบเกย่ี วกบั การสึก หรอด้านข้าง ถ้าก้านสูบไม่ได้ศูนย์แบริงคร่ึงบนจะสึกหรอข้างใด ข้างหน่ึงและแบริงครึ่งล่างจะสึกหรอด้านตรงข้ามตรวจสอบศูนย์ ของก้าน แสดงผลทเ่ี กดิ ขึน้ เนื่องจากการโก่งงอของก้านสูบ ภาระหนักจะทาให้แบริงเสียหาย สลกั ลูกสูบจะสึกหรอมากและอาจทาให้ ลูกสูบและกระบอกสูบมกี ารขูดขดี เกดิ ขนึ้ สังเกตดูการสึกหรอในแนวทแยง ของลูกสูบ ถ้าพบว่ามกี ารสึกหรอ ดงั กล่าว แสดงว่าก้านสูบอาจเสียศูนย์ การเสียศูนย์ของก้านสูบ (โก่งงอหรือ บิดตวั ) อาจทาให้ลูกสูบกระแทกข้าง กระบอกสูบ ซึ่งเกดิ การสึกหรอท้งั ลูกสูบและ กระบอกสูบแนวของก้านสูบ เป็ นส่วนสาคญั ในการรักษาให้การ สึกหรอบน ลูกสูบ ผวิ กระบอกสูบและ เจอร์นัลหลกั สมา่ เสมอ ก้านสูบทง่ี อหรือบดิ สามารถนาไปสู่การสึก

หรอทไี่ ม่สมา่ เสมอปริมาณมากบริเวณด้านข้างลูกสูบผนังกระบอก สูบ เจอร์นัลก้านสูบและแบริงด้านปลายใหญ่ก้านสูบ การตรวจแนวของก้านสูบ ให้ประกอบ ก้านสูบเข้ากบั เพลาบนแท่นตรวจความ บิดงอก้านสูบโดยทดี่ ้านปลายเลก็ ก้าน สูบมสี ลกั ลูกสูบสวมอยู่ วางเหลก็ ตรวจ ลงบนสลกั ลูกสูบและดนั ให้ชิดเสาแท่น ตรวจ สอดฟิ ลเลอร์เกจทขี่ าเหลก็ ตรวจ ขาบนเพื่อตรวจการคดของก้านสูบ และสอดฟิ ลเลอร์เกจทีข่ าเหลก็ ตรวจขา ล่างเพ่ือตรวจการบิดงอถ้าก้านสูบไม่ได้ แนวให้ดูเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทย่ี อม ให้ได้จากคู่มือการซ่อม ก้านสูบจะต้อง ถูกตรวจดูสิ่งต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ เช่น รอยแตกร้าว แนวการสึกหรอ ของรูแบริงการบิดเบยี้ วของเสื้อด้านปลายใหญ่ก้านสูบและการ เปลยี่ นสี เม่ือตรวจรอยแตกร้าวทกี่ ้านสูบให้ดูบริเวณทสี่ าคญั คือ ตามแนวก้านบริเวณเหนือรูด้านปลายใหญ่และใต้รูสลกั ลูกสูบ ถ้ารอยร้าวเป็ นทสี่ งสัยและไม่สามารถมองได้ชัดเจนใช้วธิ ีการ

ตรวจหา เช่น วธิ ีการดูดซึมของสีย้อมหรือวธิ ีผงโลหะก้านสูบทม่ี ี ความเสียหายเช่น คดงอเปลย่ี นสี หรือมีรอยแตกร้าวต้องเปลยี่ น ก้านสูบใหม่เนื่องจากบริเวณทเ่ี สียหายจะทาให้เกดิ ความเค้นท่ี ผดิ ปกตใิ นก้านสูบ ซึ่งอาจทาให้ก้านสูบแตกหักได้ในขณะทใี่ ช้งาน ซ่ึงจะเป็ นอนั ตรายอย่างยง่ิ ต่อเคร่ืองยนต์สลกั เกลยี วก้านสูบจะได้ รับแรงถูกอดั ตวั และแรงสั่นสะเทือน ตลอดเวลาท่เี คร่ืองยนต์ทางานดงั น้ัน เม่ือมถี อดชุดก้านสูบออกมาจะต้องมี การตรวจสอบความโตสลกั เกลยี วทุก ตัวด้วยโดยใช้เวอร์เนียร์คาลเิ ปอร์ วดั ความโตของสลกั เกลยี วก้านสูบ 4. หน้าท่ีของแบริง ( Bearing ) แบริงเป็ นส่วนหนึ่งของกลไกท่ีรองรับ ชิ้นส่วนและนาชิ้นส่วนทีเ่ คล่ือนที่ ในทางหมุนเช่นระหว่างลูกสูบกบั ก้านสูบ ระหว่างก้านสูบกบั เพลาข้อ เหวยี่ งเป็ นต้นหน้าทข่ี องแบริงมีดงั นี้

4.1 ลดความเสียดทานให้เหลือน้อยทสี่ ุดด้วยความสามารถของ ผวิ หน้าของแบริงที่รับเย่ือนา้ มนั ไว้บนผวิ หน้าเพื่อป้องกนั เพลา สัมผสั โดยตรงกบั แบริง 4.2 รักษาชิ้นส่วนให้อยู่ในแนวลดค่าใช้จ่ายในการซ่อม ซึ่งค่าใช้จ่าย ในการเปลยี่ นแบริงจะถูกกว่าการเปลยี่ นเพลาหรือเสื้อท้งั อนั 5. ประเภทของแบริง แบริงทใี่ ช้ในรถยนต์ท่ัวๆ ไปมอี ยู่ 2 ประเภท คือ 5.1 แบริ่งแบบเรียบหรือแบบธรรมดา แบริงแบบนีม้ ีเหลก็ แผ่น บางรองอยู่ด้านหลงั ด้านหน้าเป็ นส่วนแบริงทผี่ สมจากวสั ดุ ต่างๆ แบริงแบบเรียบ มขี ้อดเี ม่ือเปรียบเทียบกบั แบริงชนิด อื่นกค็ ือมีพืน้ ท่ีผวิ ทใ่ี หญ่ ซึ่งให้การรองรับเพลาทม่ี ่นั คงและ ในเวลาเดยี วกนั กส็ ามารถรับแรงได้จานวนมากข้อเสียกค็ ือมี บริเวณพืน้ ทส่ี ัมผสั ทใ่ี หญ่จะให้ความต้านทานสูงกว่า แบริงแบบลูกปื น แบริงแบบเรียบมี 2 แบบคือ

5.1.1 บุช (Bush ) คือแบริงชนิดทงี่ ่าย ทส่ี ุดประกอบด้วยรูธรรมดาทซี่ ึ่ง มเี พลาหมุนอยู่ภายในจะทาด้วย วสั ดุทเี่ หมาะสมทมี่ คี วามเสียด ทานและการสึกหรอน้อยทสี่ ุดและมรี ูปทรงทที่ าให้ง่ายสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายน้อยในการซ่อมแซมเมื่อสึกหรอหรือเสียหาย 5.1.2 แบริงแบบแยก แบริงแบบนีม้ กั นิยมเรียกว่าแบริงแบบกาบหรือ แบบเปลือก แบริงแบบแยกถูก แบ่งครึ่งแล้วนามายดึ เข้าด้วยกนั เพื่อสะดวกในการติดต้งั 5.2 แบริงแบบลูกปื นนิยมเรียกว่า ตลบั ลูกปื น มีการออกแบบที่ แตกต่างกนั หลายแบบ ตลบั ลูกปื นชนิดพืน้ ฐานมี 3 ชนิด ได้แก่ 5.2.1 ตลบั ลูกปื นเมด็ กลมร่องลกึ ตลบั ลูกปื นเมด็ กลมชนิดพืน้ ฐานจะ เป็ นชนิดร่องลกึ รางร่องลกึ ใน แหวนแต่ละอนั ทาไว้เพ่ือให้ลูกปื น

สัมผสั ในแนวเดยี วกบั แกนตลบั ลูกปื น เป็ นชนิดทใี่ ช้กนั มากทส่ี ุด เนื่องจากใช้งานได้หลายอย่าง 5.2.2 ตลบั ลูกปื นเมด็ ทรงกระบอก ตลบั ลูกปื นเมด็ ทรงกระบอกมี ความสามารถในการรับแรงได้ มากกว่าตลบั ลูกปื นเมด็ กลมทม่ี ี ขนาดภายนอกเท่ากนั และเหมาะ สาหรับรับแรงในแนวรัศมีเท่าน้ัน 5.2.3 ตลบั ลูกปื นเมด็ เรียว ตลบั ลูกปื น ชนิดนีผ้ วิ สัมผสั ของลูกกลงิ้ เป็ น รูปกรวยเม่ือใช้เป็ นคู่ ตลบั ลูกปื น จะสามารถรับแรงได้ท้งั แรงใน แนวรัศมีและในแนวแกนและ สามารถตดิ ต้งั ให้รับแรงล่วงหน้า หรือระยะรุนปลายเพลาได้เลก็ น้อยท้งั นีข้ นึ้ อยู่กบั การใช้งาน ตลบั ลูกปื นเมด็ เรียวตลบั เดยี วสามารถรับแรงในแนวแกนได้ในทศิ ทาง เดยี วดงั น้ันจงึ มกั ใช้เป็ นคู่

6. วธิ ีตรวจสอบระยะอดั แบริง ( Bearing Crush ) แบริง ถูกสร้างให้เส้นผ่านศูนย์กลางทห่ี น้าแยกมขี นาดใหญ่กว่า เส้นผ่านศูนย์กลางจริงของเสื้อแบริงเลก็ น้อยดงั น้ันในการประกอบ แบริง ทมี่ ขี นาดใหญ่กว่าเลก็ น้อยนีจ้ ะถูกอดั เลก็ น้อยเม่ือเข้ากบั เสื้อ แบริงทเี่ สื้อสูบและก้านสูบ การอดั ของแบริงจะช่วยให้แบริงแน่น อยู่ในท่ี ซ่ึงจะทาให้ง่ายต่อการจบั ไว้ในระหว่างการตดิ ต้งั ชุดเพลา ข้อเหวยี่ งและชุดก้านสูบ การประกอบแบริงเข้ากบั เสื้อสูบหรือ ปลายด้านใหญ่ของก้านสูบถ้าแผ่นหลงั ของแบริงไม่สัมผสั กบั เสื้อท่ี รองรับอย่างพอดแี บริงจะไม่ได้รับการระบายความร้อนเพยี งพอ และตาแหน่งของแบริง จะคลาดเคลื่อนและบ่ายเบน เม่ือเพลาข้อเหวย่ี งหมุน เพ่ือเป็ นการ ป้องกนั ปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ แบริงจะต้องมี ระยะอดั แบริงแต่ละชนิดกม็ ีระยะอดั เฉพาะ ระยะอดั นีเ้ รียกว่า (Crush) เม่ือสลกั เกลยี วยดึ ฝาแบริงหลกั และฝา แบริงปลายใหญ่ก้านสูบถูกขนั หน้าทเ่ี ข้ากนั ของแบริงกจ็ ะดนั ซึ่ง กนั และกนั ช่วยดนั ให้แบริงเข้าไปแน่นในเสื้อที่รองรับ การกดบี้

แบริงนีเ้ กดิ การสัมผสั สม่าเสมอระหว่างแบริงและเสื้อทร่ี องรับ ซ่ึง ช่วยป้องกนั การเคล่ือนทข่ี องแบริงในระหว่างเคร่ืองยนต์ทางาน ถ้าระยะอดั แบริงมากเกนิ ไปเม่ือประกอบแบริงเข้ากบั เสื้อท่ี รองรับจะทาให้เกดิ การโก่งงอของแบริง โค้งภายในและไปตดิ ขัด กบั เจอร์นัลเป็ นผลให้เกดิ ความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อผวิ ของ เจอร์นัล ถ้าระยะอดั แบริง น้อยเกนิ ไปแบริงจะลอยอยู่ในเสื้อทรี่ องรับ ทาให้แบริง หมุนหรือเกดิ การสึกหรอในเสื้อทรี่ องรับซึ่งท้งั สอง กรณนี ีจ้ ะทาให้แบริงติดได้ 7. การตรวจและสาเหตุการเสียหายของแบริง และวเิ คราะห์สภาพ แบริง เมื่อถอดแบริงออกจากเคร่ืองยนต์ไม่ว่าสภาพของเครื่องยนต์จะ เป็ นอย่างไร ให้ประเมนิ สภาพแบริงและเจอร์นัลเสมอและดูให้แน่ ว่าอะไรทาให้เกดิ การสึกหรอ ตรวจดูการสึกหรอทม่ี รี ูปแบบไม่ สมา่ เสมอซึ่งแสดงถึงลกั ษณะของปัญหาเฉพาะอย่างและพยายาม กาหนดว่าสภาพการสึกหรอน้ันปกติหรือผดิ ปกติ และจาไว้เสมอว่า การตดิ ต้งั ชิ้นส่วนใหม่ไปโดยไม่แก้ไขปัญหาทแ่ี ท้จริงทเี่ ป็ นสาเหตุ

ของความเสียหายกจ็ ะทาให้ความเสียหายเกดิ ขนึ้ อกี สาเหตุทว่ั ไป บางประการของความเสียหายของแบริงในการใช้งานมดี ังต่อไปนี้ 7.1 การเส่ือมสภาพของนา้ มนั หล่อล่ืน เป็ นผลให้ความเป็ นกรดสูง ความ เสียหายของแบริงอาจเกดิ จากกรด กดั เนื้อวสั ดุของแบริงออกไปเพราะ สารเคมที ที่ าให้เกดิ การผกุ ร่อนทาให้ เนื้อตะกวั่ ล่อนออกเป็ นแผ่นหรือหลดุ ออกเป็ นรอยลกึ สารเคมที ท่ี า ให้เกดิ การผกุ ร่อนสามารถเกดิ ขนึ้ ได้ในนา้ มันหล่อลื่นเนื่องจากการ รั่วของแก๊สทอี่ ยู่ในกระบอกสูบร่ัวผ่านแหวนลกู สูบ ( Blow – By ) หรือเกดิ จากนา้ มันเชื้อเพลงิ ท่ีมีกามะถันมากและเน่ืองจาก เครื่องยนต์ทางานด้วยอณุ หภูมทิ างานทสี่ ูงมาก สารเคมจี ะทาลาย ตะกวั่ ทฉี่ าบหน้าแบริงให้กลายเป็ นตัวการกดั กร่อนและล้างผวิ หน้า แบริงจนเกดิ การชารุดขนึ้

7.2 การปนเปื้ อนของนา้ มันหล่อลื่น นา้ มนั หล่อลื่นสามารถถูกปนเปื้ อน ได้หลายทางได้แก่ เขม่าและส่ิง สกปรกจากการเผาไหม้ที่ปะปน อยู่ในนา้ มนั หล่อลื่นฝ่ ุนละอองที่ ผ่านทางเคร่ืองกรองอากาศเข้าไปในเคร่ืองยนต์ วธิ ีทาความสะอาด ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ทไ่ี ม่ถูกต้อง ในการซ่อมและการบารุงรักษา เครื่องยนต์ไม่ถูกต้องทาให้ให้เกดิ ปัญหาแบริง ชารุด อกี สาเหตุหน่ึง กค็ ือเศษโลหะทเ่ี กดิ จากการสึกหรอของชิ้นส่วนต่างๆ ในเครื่องยนต์ สิ่งสกปรกและฝ่ ุนละอองทป่ี นเปื้ อนนา้ มนั หล่อลื่น เป็ น สาเหตุสาคญั ของการชารุดทผี่ วิ หน้าแบริงในการตรวจสอบตัวท่บี ่ง บอกว่าสาเหตุมาจากฝ่ นุ ละอองกค็ ือทผี่ วิ หน้าแบริง ทสี่ ึกหรอจะ เป็ นรอยเส้นละเอยี ดเลก็ ๆ อยู่เป็ นแถว ถ้าเป็ นเศษโลหะจะเกดิ จาก ขูดขดี ลกึ และกว้างกว่าการฝังตัวของส่ิงสกปรกบนผวิ หน้าแบริง ผวิ หน้าของแบริงบางชนิดอ่อนส่ิงสกปรกและผงฝ่ ุนสามารถทฝี่ ัง ตวั เองได้บนผวิ หน้าแบริง เศษโลหะจากการคว้านเศษหินจากการ ขดั กระบอกสูบเป็ นสาเหตุสาคญั ของฝังตวั บนผวิ หน้าแบริง

7.3 การติดเคร่ืองยนต์ท่ขี าดการหล่อลื่น คร้ังแรก หรือนา้ มนั ยงั ไม่หล่อลื่น หลงั จากประกอบเคร่ืองเสร็จเม่ือไม่ มกี ารหล่อลื่นก่อนจึงเป็ นสาเหตุทา ให้ขาดนา้ มนั หล่อล่ืน นา้ มนั หล่อลื่นมาทาหน้าทช่ี ้าเกนิ ไปซึ่งเรียกว่าตดิ เครื่องยนต์โดย ขาดนา้ มนั หล่อลื่นซ่ึงการทาเช่นนีท้ าให้เกดิ การปาดหรือขูดผวิ หน้า ของแบริง เนื่องจากเกดิ ความร้อนรอบๆบริเวณแบริง สูงมากทาให้ เนื้อโลหะของแบริง หลอมตัวเองตดิ กบั เจอร์นัลจึงทาให้ผวิ ของ แบริงและเจอร์นัลเป็ นรอย 7.4 นา้ มนั หล่อล่ืนเจือจางถ้า นา้ มนั หล่อล่ืนใสเกนิ ไปหรือเจือจาง ผวิ หน้าของแบริงกเ็ กดิ ความมัน ผดิ ปกตินา้ มนั หล่อล่ืนเจือจางอาจ เกดิ จากนา้ หล่อเย็นหรือนา้ มนั เชื้อเพลงิ รั่วเข้าไปปนกบั นา้ มนั หล่อล่ืน สาเหตุอกี ประการกค็ ือเกดิ จากความร้อนสูงผดิ ปกตคิ วามร้อนทส่ี ูงผดิ ปกตเิ กดิ จากระบบหล่อ เยน็ ผดิ ปกติ

7.5 ระยะห่างเพื่อการหล่อลื่นไม่ เพยี งพอ ในกรณนี ีร้ ะยะห่างเพื่อ การหล่อลื่นของแบริงกบั เพลาข้อ เหวยี่ งไม่พอเพยี ง ทาให้เกดิ การ หล่อลื่นไม่เพยี งพอซ่ึงส่งผลให้การ ระบายความร้อนออกจากผวิ หน้าของแบริงไม่เพยี งพอไปด้วยจงึ ทาให้เกดิ การขูด การขดี ผวิ หน้าของแบริงให้ละลายออกอาจเกดิ การละลายติดเจอร์นัลเพลาข้อเหวย่ี ง 7.6 การติดต้งั ทีผ่ ดิ พลาด การตดิ ต้งั แบริงท่ผี ดิ พลาดจะเป็ น สาเหตุทท่ี าให้แบริงและเจอร์นัลเพลาข้อเหวย่ี งเสียหายได้อย่าง รวดเร็วความผดิ พลาดทว่ั ไปคือ 7.6.1 ใส่แบริ่งสลบั ท่ี การประกอบผดิ โดยใส่เป็ นแบริงด้านติดกบั เสื้อ สูบซึ่งแบริงตัวนีต้ ้องเป็ นแบริงที่ มรี ูนา้ มนั เครื่อง เม่ือไม่มรี ู นา้ มนั เครื่องทาให้นา้ มันเครื่องเข้า มาหล่อล่ืนไม่ได้แบริงจึงชารุดในเวลาประกอบแบริงเจอร์นัลหลกั

ต้องตรวจให้แน่ใจเสมอว่ารูนา้ มนั เคร่ืองทแ่ี บริงใส่ตรงกบั รู นา้ มนั เครื่องทเ่ี สื้อสูบ 7.6.2 การประกอบฝาแบริงไม่ตรงตามเคร่ืองหมาย ท้งั แบริง หลกั และแบริงก้านสูบ ถ้าประกอบไม่ตรงตามเครื่องหมายทท่ี ามา จากโรงงานจะทาให้เกดิ การเบยี้ วซึ่งทาให้เกดิ การกดอย่างแรงด้าน ใดด้านหนึ่งของผวิ แบริงตรงข้ามกนั 180 องศา 7.6.3 ฝาแบริงทุกฝาต้องมเี ครื่องหมาย จากโรงงาน ถ้าไม่มตี ้องทา เคร่ืองหมายก่อนการถอดแยก ชิ้นส่ วนเพื่อเวลาประกอบกลบั เข้าทจี่ ะได้ถูกต้องอยู่ในตาแหน่งเดมิ 7.6.4 การขนั สลกั เกลยี วไม่ถูกต้อง ฝา แบริงไม่ได้ขันให้แน่นเป็ นผลให้ การกดบบี้ นแบริงไม่มีหรือมีน้อย เกนิ ไปจะทาให้ฝาแบริงคลายตวั หลุดออกได้ การขันแน่นมาก เกนิ ไปจะทาให้สลกั เกลยี วยืดหรือขาดได้ การขนั สลกั เกลยี วให้ขนั ตามค่ากาหนด

8. วธิ ีใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบระยะรุนก้านสูบด้วยไดอลั เกจและช่องว่างนา้ มนั หล่อลื่นทแ่ี บริงก้านสูบด้วยพลาสตเิ กจ 8.1 วธิ ีใช้งานไดอลั เกจ ( Dial gauge ) หรือ นาฬิกาวดั ส่วนประกอบของไดอลั เกจ มดี งั นี้ 6 หัววดั มลี กั ษณะปลายมนเป็ นจุด 3 สัมผสั งานเพื่อวดั ตรวจสอบชิ้นงาน 4 โดยตรง 5 แกนเลื่อน เป็ นตัวจับยดึ หัววดั และ 7 จะเล่ือนขนึ้ – ลง ขณะวดั ชิ้นงาน เขม็ ยาวของนาฬิกาวดั แสดงการ 2 เคล่ือนทขี่ องแกนเล่ือนชิ้นงาน 1 ภายหลงั การสัมผสั ชิ้นงานของ หัววดั เพื่อบอกขนาดที่สัมผสั งาน เขม็ ส้ัน แสดงจานวนหมุนของเขม็ ยาวว่าหมุนกร่ี อบเป็ นระยะทาง เท่าไร ( มม. ) มที ศิ ทางการการ หมุนตรงข้ามกบั เขม็ ยาว

ขดี สเกลบนหน้าปัด จะบอกความ ละเอยี ดโดยแบ่งออกเป็ น 100 ช่อง 9 10 เท่าๆ กนั เม่ือเขม็ ยาวหมุนไป 1 รอบ จะอ่านค่าได้ 1 มม. หรือ 1 ช่องจะ 8 ค่าเท่ากบั 0.01 มม. ขอบนอกนาฬิกาวดั หมุนปรับให้ตาแหน่ง“ 0 ”( ขดี 0 ) ของขดี สเกลตรงกบั เข็มยาวเพ่ือทีจ่ ะกาหนดจุดเร่ิมต้นในการอ่านค่า หรือตรวจสอบชิ้นงานในข้นั ตอนต่อไป ก้านยดึ สาหรับจบั ยดึ อปุ กรณ์ ใช้ในการตรวจสอบชิ้นงาน แท่นสวติ ช์หรือฐานแม่เหลก็ ใช้ยดึ ติดต้งั ในบริเวณท่จี ะ ตรวจสอบ แขนยดึ ไดอลั เกจกบั เสาแท่นแม่เหลก็ สวติ ช์แม่เหลก็ ไดอลั เกจหรือนาฬิกาวดั ใช้ตรวจสอบ ความคลาดเคลื่อนจากขนาดกาหนดที่ ระบุไว้ในคู่มือซ่อม ไดอลั เกจ ประกอบด้วยสเกลหยาบและ

สเกลละเอยี ด โดยสเกลละเอยี ดอยู่วงนอกมเี ขม็ ยาวเป็ นตวั ชี้ สเกล หยาบเป็ นวงกลมเลก็ อยู่ในสเกลละเอยี ดมีเขม็ ส้ันเป็ นตัวชี้ใน 1 ช่อง ของสเกลละเอยี ดจะมคี ่าเท่ากบั 0.01 มม. เม่ือเขม็ ยาวหมุนครบ 1 รอบเข็มยาวจะผ่านช่องเลก็ ๆ บนหน้าปัดสเกลละเอยี ด 100 ช่องซึ่ง เท่ากบั ระยะทแ่ี กนวดั เคล่ือนที่ไป 1 มม. ในขณะเดยี วกนั เขม็ ส้ันที่ สเกลหยาบจะหมุนไป 1 ช่อง หรือถ้าเขม็ ยาวหมุนไป 2 รอบเขม็ ส้ันกจ็ ะหมุนไป 2 ช่อง วธิ ีใช้ให้ตดิ ต้งั ฐานสวติ ช์แม่เหลก็ ซึ่งมี สวติ ช์ ปิ ด – เปิ ด เพื่อความสะดวก ปลอดภยั ในการตดิ ต้งั ท่บี ริเวณ ตรวจสอบ ประกอบไดอลั เกจเข้ากบั แขนยดึ จดั หัววดั ให้สัมผสั กบั ผวิ งาน แล้วปรับเขม็ ยาวให้ตรงตาแหน่ง “O” แล้วหมุนชิ้นงานไปช้าๆ 1 รอบ ถ้าเขม็ ยาวบนหน้าปัดไม่เบี่ยงเบนไปจากตาแหน่ง “O” ท่ีปรับไว้แสดงว่าชิ้นงานน้ันเรียบ

8.2 วธิ ีใช้งานประแจวดั แรงบดิ ( Torque Wrench ) ประแจวดั แรงบดิ หรือ ประแจปอนด์ใช้วดั แรงบิดในการ ขนั สลกั เกลยี ว แป้นเกลยี วและสกรูหัวเหลย่ี มชนิดต่าง ๆ ประแจ วดั แรงบดิ จะช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพมากขนึ้ คือทาให้ สามารถขนั เกลยี วเพ่ือตดิ ต้งั ชิ้นส่วนอปุ กรณ์ต่าง ๆ ด้วยแรงบิด ตามท่ีกาหนดไว้ ทาให้ชิ้นส่วนน้ันตดิ ต้งั อย่างถาวรทสี่ ุด ในขณะที่ สลกั เกลยี วหรือแป้นเกลยี วกร็ ับแรงกด – แรงดงึ ได้เต็มทโ่ี ดยไม่ เป็ นอนั ตรายต่อตวั เกลยี ว การใช้ประแจวดั แรงบิดเป็ นการหาค่า ของแรงทก่ี ระทาในการขนั เกลยี ว คูณด้วยระยะทางจากเส้นผ่าน ศูนย์กลางของสลกั เกลยี วมาถงึ มือทอี่ อกแรงดงึ ด้ามประแจ ค่าทไี่ ด้ จะแสดงบนหน้าปัทม์ หรือเข็มชี้ทีต่ ิดต้งั บนประแจ น้ันสามารถ อ่านค่าได้ทนั ที อ่านค่าเป็ น \" ฟุต – ปอนด์ \" หรือ \" กโิ ลกรัม – เมตร \" หรือ \" กโิ ลกรัม – เซนตเิ มตร \" เคร่ืองมือวดั แรงบิด สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ

ประเภทที่ 1 Indicating Torque Tool เป็ นเครื่องมือที่บ่งชี้โดยจะแสดงผล แบบสเกลทางกลแบบเขม็ ชี้หรือเป็ น แบบตวั เลขดจิ ทิ ัล ประเภทท่ี 2 Setting Torque Tool ประเภทนีจ้ ะต้องต้งั แรงบิดตามท่ีต้อง การก่อนเมื่อออกแรงกระทาต่อเกลยี ว ถงึ ขดี ทกี่ าหนดจะมสี ัญญาณเสียงหรือ อ่ืนๆ แสดงออกมาว่าถึงขดี ท่ตี ้องการใช้ แรงกระทาต่อเกลยี วแล้ว หัวขบั ประแจ กระบอกของประแจวดั แรงบดิ จะเป็ นหัวขบั ชนิดส่ีเหลยี่ มจตั ุรัส สาหรับตดิ กบั ตัวประแจกระบอกทัว่ ไป หัวขับนีจ้ ะทามา 2 ขนาด คือ 1/4 นิว้ และ 1/2 นิว้ ( 6 และ 12 มม. ) เนื่องจาก ประแจปอนด์ เป็ นเคร่ืองมือทต่ี ้องวดั แรงบิดท่กี ระทาต่อเกลยี ว ดงั น้ันเกลยี วของ สลกั เกลยี วและแป้นเกลยี วจะต้องสะอาดและไม่มีสิ่งแทรกซ้อน อ่ืน

ที่จะทาให้การวดั แรงผดิ ปกติ เช่น การสั่นไหว เกลยี วเป็ นสนิม เกลยี วตาย เกลยี วเยนิ ฯลฯ ซึ่งเป็ นผลให้ต้องใช้แรงเกนิ กว่าท่ี กาหนดซ่ึงอาจทาให้เกลยี วชารุดได้ ปัจจุบันความก้าวหน้าในวชิ า โลหะวทิ ยาเป็ นไปอย่างรวดเร็ว ทาให้การพฒั นาการผลติ สลกั เกลยี วและแป้นเกลยี วอย่างมากมาย ดงั น้ันการทางานในปัจจุบันจงึ จาเป็ นต้องใช้ประแจวดั แรงบิดมากขนึ้ เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพใน การทางาน แรงที่ใช้ในการขนั เกลยี ว หน้าทขี่ องผู้ปฏบิ ตั งิ านจะต้อง ศึกษาตารางกาหนดแรงขนั เกลยี ว ซึ่งบริษทั ผู้ผลติ เคร่ืองยนต์ได้ กาหนดไว้ในคู่มือซ่อมเพ่ือให้ทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพและได้ผล งานสูงสุด การใช้ประแจวดั แรงบดิ มดี งั นี้ 1. ต้องรู้ค่ากาหนดการขนั โดยดูจากคู่มือซ่อม 2. ใช้ประแจให้มขี นาด แรงขันเหมาะสมกบั งาน ไม่ใช้ประแจวดั แรงบิดด้วยการต่อด้าม 3. การขนั ดงึ เข้าหาตนเองเพื่อความปลอดภัยใช้แรงขันท่ีสมา่ เสมอ อย่ากระชากจะชารุด 4. ประแจวดั แรงบดิ ทห่ี ัวประแจเป็ นแบบกร๊อกแกร๊กหลงั ใช้งาน ควรหยอดนา้ มันหล่อล่ืนทใ่ี ส 5. ประแจวดั แรงบดิ เป็ นเคร่ืองมือวดั แยกเกบ็ ไว้ในกล่องที่แข็งแรง

8.3 วธิ ีใช้งานประแจแหวน ( Box Wrench ) ประแจแหวน ลกั ษณะเด่นอยู่ทป่ี ลาย ท้ังสองด้านมลี กั ษณะเป็ นแหวนวงกลม ภายในวงแหวนจะมีเขยี้ วประมาณ 6 – 12 เขยี้ ว เพ่ือใช้ในการจบั เหลยี่ มแป้น เกลยี วและสลกั เกลยี วได้อย่างมนั่ คงปากประแจทามุมกบั ด้าม 15 องศา เพ่ือให้สามารถใช้งานได้สะดวกยง่ิ ขนึ้ ปากทเ่ี ป็ นวงแหวน สวมเข้าหัวสลกั เกลยี วทางานได้ดมี ีประสิทธิภาพเพราะวงแหวน ของ ปากประแจสามารถจบั ได้ทุกเหลย่ี มของหัวสลกั เกลยี วและ แป้นเกลยี วได้อย่างมน่ั คงทาให้ปลอดภยั จากการล่ืนหลดุ ขณะ ทางานการใช้งานใช้ประแจแหวนเริ่มต้นคลายหรือขันให้แน่น ข้อควรระวงั ไม่ใช้ค้อนตีทป่ี ระแจและไม่ต่อด้ามประแจใน การขนั หรือคลายจะทาให้ชารุด

8.4 วธิ ีใช้งานไขควงปากแบน ( Screw diver ) ใช้สาหรับขนั สกรูทด่ี ้ามมฉี นวนหุ้มเพ่ือ ดำ้ มไขควง ความปลอดภยั ของผู้ใช้งานโดยขนาด กำ้ นไขควง และรูปร่างของไขควงจะถูกออกแบบ ตามลกั ษณะการใช้งานไขควง ประกอบด้วย 3 ส่วนได้แก่ ปำกไขควง 1. ด้ามไขควง ( Handle ) 2. ก้านไขควง ( Blade of Ferule ) 3. ปากไขควง ( Tip ) ด้ามไขควงถูกออกแบบให้มรี ูปร่างทสี่ ามารถจบั ได้อย่างถนัดมือ การบิดไขควง ไป – มา สามารถทาได้โดยใช้แรงได้มากสุดโดย ส่วนใหญ่แล้วด้ามของไขควงจะทาจากวสั ดุทเี่ ป็ นฉนวนไฟฟ้า เช่น ไม้, พลาสตกิ หรืออาจทาจากโลหะบางชนิดตามลกั ษณะการใช้งาน ปากไขควงทาจากเหลก็ กล้าช้ันดที าเป็ นทรงกลมหรือสี่เหลย่ี ม จตั ุรัสกไ็ ด้โดยเหลก็ กล้าเหล่านีจ้ ะถูกนามาตขี นึ้ รูปให้ลาดแบนและ ชุบแขง็ ด้วยความร้อนในส่วนทไี่ ม่ได้ตขี นึ้ รูปกจ็ ะเป็ นก้านไขควง ก้านไขควงมีท้งั ก้านกลมและก้านเหลย่ี ม ไขควงก้านกลมจะใช้ สาหรับงานเบาส่วนไขควงทีเ่ ป็ นก้านเหลย่ี มจะใช้สาหรับงานหนัก

เพราะก้านที่เป็ นเหลย่ี มจะสามารถใช้ประแจหรือคมี จบั เพ่ือเพม่ิ แรงบดิ ของงาน ไขควงปากแบนใช้กบั สกรูมรี ่องทห่ี ัวเป็ นเส้นตรง การใช้งานให้สังเกต ความหนาและความกว้างของปากไขควง เลือกใช้ให้พอดกี บั ร่องหัวสกรู ไม่ใช้ไขควงทม่ี ีปากเลก็ หรือใหญ่ เกนิ ไป จะทาให้หัวสกรูชารุด ไขควงทใ่ี ช้งานโดยทว่ั ไปมี 2 ประเภทคือ 1. ไขควงปากแบน คือไขควงทีม่ ี ลกั ษณะปากแบนเป็ นเส้นตรงลาด เอยี งไปยงั สุดของปลายไขควงใช้ไข สกรูทเี่ ป็ นร่องเส้นเดยี ว 2. ไขควงปากแฉก คือไขควงทม่ี ี ลกั ษณะปากเป็ นสี่แฉกใช้ไขสกรูทม่ี ี ร่องของสกรูเป็ นสี่แฉกเวลาจะบดิ จะต้องใช้แรงกดท่ดี ้ามมาก กว่าไข ควงปากแบน เพื่อไม่ให้เหลยี่ มท่ปี าก ของไขควงหลุดออกจากร่องก่อนใช้ งานไขควงควรตรวจสภาพไขควงให้

อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานทุกคร้ัง คือปากไขควงจะต้องเรียบไม่มี รอยบดิ เพราะไขควงทชี่ ารุด เมื่อถูกนาไปใช้งานปากไขควงจะไม่ สามารถสัมผสั กบั ร่องของหัวสกรูเตม็ ทเ่ี ม่ือใช้งานอาจเกดิ ล่ืนหลดุ จากหัวสกรูและทาให้เกดิ อนั ตรายต่อผู้ใช้งาน วธิ ีใช้และบารุงรักษา ไขควงมดี ังนี้ 1. ไม่ใช้ไขควงแทนสกดั หรือค้อน 2. ไม่ใช้ไขควงทีเ่ ปื้ อนนา้ มันเพราะอาจเกดิ อนั ตราย 3. เลือกใช้งานทม่ี ลี กั ษณะปากตรงกบั ชนิดของหัวสกรู 4. เม่ือเลกิ ใช้งานทาความสะอาดและเกบ็ เข้าทใ่ี ห้เรียบร้อย 8.5 วธิ ีใช้งานประแจกระบอก (Socket Wrench) ประแจกระบอก ใช้ครอบบนหัวแป้น เกลยี วหรือหัวสลกั เกลยี ว ปากประแจมี ลกั ษณะภายในคล้ายประแจแหวน ประแจกระบอกส่วนบนจะทาเป็ น รูสี่เหลยี่ มไว้ แล้วใช้ด้ามต่อหรือด้าม ขันแบบต่างๆ ที่มีปลายทาเป็ นส่ีเหลยี่ ม เพื่อสวมลงไปประกอบการใช้งาน ในรู สี่เหลยี่ มของตวั ประแจจะเซาะร่องรูป

ครึ่งวงกลมไว้ระหว่างกลางของ ความลกึ ของรูไว้ท้งั ส่ีด้านเพ่ือเป็ น ทล่ี อ็ กให้ตวั ประแจตดิ กบั ด้าม โดยทดี่ ้ามกจ็ ะฝังลูกปื นกลมมสี ปริง ดนั ให้ย่ืนพ้นผวิ เรียบของข้อต่อสี่เหลย่ี ม ประแจกระบอกใช้ขนั หรือ คลายแป้นเกลยี วและสลกั เกลยี วได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือไม่ทา ให้หัวแป้นเกลยี วหรือหัวสลกั เกลยี วเยนิ หรือชารุด เพราะปาก ประแจมลี กั ษณะภายในคล้ายประแจแหวนสามารถจบั ได้ทุก เหลยี่ ม ประแจกระบอกส้ันจะใช้ครอบบนหัวแป้นเกลยี วหรือหัว สลกั เกลยี วท่ยี ่ืนพ้นผวิ งานไม่ลกึ มากนักเพ่ือกวดเข้าหรือคลายออก ประแจกระบอกมปี ระโยชน์ใช้งานได้ดที สี่ ุดและใช้กนั มากกว่า ประแจชนิดอ่ืนๆ เพราะใช้งานได้คล่องไม่ลื่นไถลหลดุ ง่าย 8.6 วธิ ีใช้งานพลาสตเิ กจ ช่องว่างนา้ มนั หล่อล่ืนระหว่างแบริง หลกั ( Main Bearing ) กบั เจอร์นัล หลกั ( Main Journal ) และแบริงก้าน สูบ ( Connecting Rod Bearing ) กบั เจอร์นัลก้านสูบ ( Connecting Rod Journal ) และช่องว่างนา้ มนั หล่อล่ืน ระหว่างเจอร์นัลเพลาลูกเบีย้ วกบั แบริง

เจอร์นัลเพลาลกู เบยี้ วถ้าระยะช่องว่างนา้ มนั หล่อลื่นพอดีเพ่ือจะให้ นา้ มนั หล่อลื่น เคลือบอยู่บนผวิ หน้าระหว่างทเ่ี ครื่องยนต์ทางาน ถ้าช่องว่างนา้ มันนีม้ ากเกนิ ไปแรงดนั ของนา้ มนั เครื่องตา่ ก้านสูบจะ เต้นแบริงทางานเกนิ ภาระ ในทางตรงกนั ข้ามถ้าช่องว่างนา้ มัน น้อยเกนิ ไปนา้ มันหล่อลื่นเคลือบไม่เพยี งพอทาให้เจอร์นัลเพลาข้อ เหวย่ี งและแบริงติดและเสียหายจากแบริงร้อนจดั พลาสตเิ กจมี ลกั ษณะเป็ นเส้นพลาสตกิ อ่อนเม่ือถูกกดทบั จะแบนทซ่ี องพลาสติ เกจมสี เกลบอกความกว้างไว้มีหน่วยวดั เป็ นมลิ ลเิ มตรและนิว้ การ ตรวจสอบช่องว่างนา้ มนั หล่อลื่นทาได้โดยการใช้พลาสติเกจวางบน เจอร์นัลหลกั เพลาข้อเหวย่ี งแล้วขันสลกั เกลยี วยดึ ฝาประกบั แบริง ตามค่าแรงขนั ทกี่ าหนด พลาสตเิ กจเป็ นเส้นพลาสตกิ อ่อนเมื่อถูก กดระหว่างเจอร์นัลและแบริงจะแบน แล้วนาสเกลบนแถบซอง พลาสตเิ กจมาเทียบความแบนจะได้ระยะช่องว่างนา้ มนั หล่อลื่น

8.7 วธิ ีใช้งานด้ามต่อ ( Extension ) ด้ามต่อใช้สาหรับต่อกบั ประแจกระบอก และด้ามขันเล่ือนหรือด้ามขันเหวย่ี ง เพื่อขันสลกั เกลยี วหรือแป้นเกลยี วทอี่ ยู่ ลกึ โดยทีป่ ระแจอื่นๆ ไม่สามารถใช้งาน ได้ด้ามต่อมีท้งั แบบยาวและแบบส้ันจงึ ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกบั งานทที่ าไม่ ควรใช้ด้ามต่อแทนค้อนหรือเหลก็ ตอก จะทาให้ชารุดเสียหาย 8.8 วธิ ีใช้งานด้ามทหี รือด้ามขันเลื่อน ด้ามขนั เล่ือนใช้ร่วมกบั ประแจกระบอก ใช้สาหรับขันและคลายแป้นเกลยี วหรือ สลกั เกลยี วทีต่ ้องการแรงกดทาง ด้านซ้ายและด้านขวาเท่าๆ กนั ด้ามขัน เล่ือนใช้งานได้สะดวกรวดเร็วนอกจากนีด้ ้ามขนั เล่ือนยงั ใช้แทน ด้ามขันเหวย่ี งได้ด้วยแต่เนื่องจากด้ามขนั เล่ือนส้ันกว่าจึงใช้ขนั ได้ แรงน้อยกว่า ไม่ควรต่อด้าม ขนั เลื่อนในการขนั ให้แน่นหรือคลาย ออกจะทาให้ประแจหรือด้ามขนั เลื่อนชารุดเสียหาย

8.9 วธิ ีใช้งานด้ามขนั เหวยี่ ง ใช้สาหรับคลายแป้นเกลยี วหรือสลกั เกลยี วทีต่ ้องการแรงขันมาก ด้ามที่ยาว จะเหมือนกบั ต่อคานให้ยาวทาให้ขนั หรือคลายออกได้ง่ายขนึ้ ด้ามขนั จะ แกว่งเป็ นส่วนโค้งของวงกลม ทาให้ สามารถเลือกมุมทถ่ี นัดในการขนั และ คลาย 8.10 วธิ ีใช้งานคู่มือการซ่อม ในคู่มือการซ่อมเมื่อเปิ ดหน้าแรกจะพบ วธิ ีการใช้คู่มือประกอบด้วย คานา, คู่มือ การซ่อมเคร่ืองยนต์ ( สารบญั ) ซึ่งได้ ระบุ ช่ือหมวด และหัวข้อหลกั ไว้ที่ ด้านบนของทุก ๆ หน้า ซ่ึงหัวข้อเร่ือง ได้ถูกระบุไว้ในหน้าแรกของแต่ละ หมวดเพื่อนาไปสู่หัวข้อทต่ี ้องการซ่อม เช่น บทนา บน , กลไกเครื่องยนต์ กย , ระบบเชื้อเพลงิ ชพ , ระบบหล่อเยน็ ลย , ระบบหล่อล่ืน ลล, ระบบสตาร์ท สต , ระบบ

ไฟชาร์จ ฟช ,ค่ากาหนดการบริการ ก, ค่ากาหนดแรงขันโบลท์ มาตรฐาน ข, เครื่องมือพเิ ศษและวสั ดุพเิ ศษสาหรับบริการ ค, นักเรียนต้องการจะซ่อมหัวข้อหลกั ใดให้นักเรียนเปิ ดดูทด่ี ้านบน หน้ากจ็ ะพบวธิ ีการซ่อมและค่ากาหนด 8.11 วธิ ีใช้งานผ้าเช็ดมือ การปฏิบตั งิ านต้องกระทาอย่างมี ประสิทธิภาพและถูกต้องตามหลกั การ ท้ังนีก้ เ็ พื่อให้ผลงานน้ันออกมาดมี ี คุณภาพ มอี ายุการใช้งานยืนยาว การ ปฏิบัติงานความสะอาดเป็ นส่ิงสาคญั อย่างยงิ่ เพราะการประกอบชิ้นส่วนที่ เคลื่อนไหวเข้าในตาแหน่งเดมิ ถ้ามีสิ่ง สกปรกหลงเหลืออยู่จะทาให้ ชิ้นส่ วน เกดิ การเสียดสีบด บี้ กบั ส่ิงสกปรกเกดิ การสึกหรอเร็วกว่าปกติและ อาจชารุดเสียหายโดยทนั ทกี ไ็ ด้ฉะน้ันต้องระมดั ระวงั ในเร่ืองความ สะอาด ก่อนประกอบต้องไม่ลืมว่าชิ้นส่วนทม่ี กี ารเคลื่อนไหวด้วย การหมุนหรือเคลื่อนที่ ขนึ้ – ลง ต้องใช้นา้ มนั หล่อลื่นท่ีสะอาดมี คุณภาพคุณภาพชโลมชิ้นส่ วนก่อนประกอบเสมอ

8.12 วธิ ีใช้งานกระบะใส่เคร่ืองมืออุปกรณ์ กระบะใช้ใส่เคร่ืองมืออปุ กรณ์ในการ ปฏบิ ตั งิ านและใช้สาหรับใส่นา้ มนั เพ่ือ ล้างชิ้นส่วนต่างๆ ให้สะอาด กระบะต้อง มขี อบทส่ี ูงพอสมควรท้งั นีก้ เ็ พื่อไม่ให้ นา้ มนั ทีใ่ ช้ทาความสะอาดน้ันกระเดน็ ลงพืน้ โต๊ะทใ่ี ช้ปฏิบัติงานการทาความสะอาดกระบะควรใช้ลมเป่ า และผ้าเช็ดให้แห้งไม่ควรเคาะกระบะกบั พืน้ เพราะจะทาให้ขอบ กระบะบุบเสียรูปทรง 8.13 วธิ ีใช้งานสายลมและปื นเป่ าลม สายลมและปื นเป่ าลมใช้เป่ าส่ิงสกปรก ทาความสะอาดชิ้นส่ วนของเคร่ื องยนต์ ข้อควรระวงั ห้ามนาปื นเป่ าลมทาความ สะอาดส่ิงทต่ี ดิ อยู่บนเสื้อผ้าหรือบริเวณ ศีรษะอาจเกดิ อนั ตรายได้

8.14 วธิ ีใช้งานแปรงขนอ่อน ใช้ ล้างทาความสะอาดชิ้นส่ วนของ เคร่ืองยนต์ ใช้ทาความสะอาดสิ่ง สกปรกและคราบนา้ มัน การทาความ สะอาดแปรงหลงั การใช้งาน ใช้มือบีบ ขนแปรงให้สะเด็ดนา้ มนั แล้วใช้ผ้าแห้ง เช็ดขนแปรง 9. สถานทเ่ี กบ็ เครื่องมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบระยะรุนก้านสูบด้วย ไดอลั เกจและช่องว่างนา้ มนั หล่อลื่นทแ่ี บริงก้านสูบด้วยพลาสตเิ กจ เคร่ืองมืออปุ กรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบเกบ็ ไว้ในห้องเคร่ืองมือการนา เครื่องมือไปใช้งานมีข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้ 9.1 นาใบเบิกเคร่ืองมือให้กบั ผู้จ่ายเคร่ืองมือ ผู้เกบ็ เครื่องมือจ่าย เคร่ืองมือให้กบั นักเรียน 9.2 ผู้เกบ็ รักษาเครื่องมือจะเกบ็ ใบเบกิ เครื่องมือไว้จนกว่าจะนา เคร่ื องมือมาส่ งคืน

10. วธิ ีเบิกเคร่ืองมืออปุ กรณ์ทใ่ี ช้ตรวจสอบระยะรุนก้านสูบด้วย ไดอลั เกจและช่องว่างนา้ มนั หล่อล่ืนทแี่ บริงก้านสูบด้วยพลาสตเิ กจ การเขียนใบเบกิ เครื่องมือเป็ นการสร้าง จิตสานึกให้ช่วยกนั รักษาเคร่ืองมือไม่ให้ สูญหายและมวี นิ ัยในการทางาน รับผดิ ชอบร่วมกนั การนาเครื่องมือไป ใช้งานจะต้องเขียนใบเบิกเครื่องมือ ให้กบั เจ้าหน้าทผ่ี ู้ควบคุมดงั นี้ 10.1 เขยี นชื่อ นามสกลุ ช้ันปี กลุ่ม รหัส แผนกวชิ า เขยี นวนั ท่ี เดือน พ.ศ. 10.2 เขยี นรายการเครื่องมือ จานวนทเ่ี บกิ ลงชื่อผู้เบกิ และ ลงชื่ออาจารย์ผู้สอน 11. ข้อควรระวงั ในการเตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์ทใี่ ช้ตรวจสอบ 11.1 ไดอลั เกจเป็ นเคร่ืองมือวดั ละเอยี ดระวงั ตกลงพืน้ จะทาให้ ชารุดเสียหาย 11.2 แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบยี บของโรงงาน และใช้อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภยั ฯ ทุกคร้ังทป่ี ฏบิ ัตงิ านทกี่ าหนดให้ มีการใช้

11.3 หลกี เลย่ี งการใช้อปุ กรณ์ เครื่องมือหรือเคร่ืองจกั รทชี่ ารุด เสียหาย หรืออยู่ในสภาพทไ่ี ม่เหมาะสมต่อการใช้งาน 12. วธิ ีถอดอ่างนา้ มันเคร่ืองออก ใช้ประแจกระบอกขนาด 12 มม. ด้าม ต่อส้ัน ด้ามขันเลื่อน ถอดสลกั เกลยี ว 14 ตวั และแป้นเกลยี ว 4 ตัว ใช้ค้อน ยางเคาะเบา ๆ ด้านข้างอ่างนา้ มัน เมื่อ ถอดสลกั เกลยี วทุกตวั ออกหมดแล้วอ่าง นา้ มนั ยงั คงตดิ แน่นอยู่ใช้ใบเลื่อยทไ่ี ม่ใช้ แล้วเจยี ปลายให้คมตัดประเกน็ 13. ข้อควรระวงั ในการถอดอ่างนา้ มันเคร่ืองออก ใช้ค้อนยางเคาะเบา ๆ ด้านข้างอ่างนา้ มันห้ามใช้ค้อนเหลก็ เคาะ 14. วธิ ีถอดตะแกรงกรองนา้ มนั เคร่ืองออก ใช้ประแจแหวนขนาด 12 มม. ถอด สลกั เกลยี ว 2 ตวั แป้นเกลยี ว 2 ตวั ถอดตะแกรงกรองนา้ มนั เคร่ืองและ ปะเกน็ ออก

15. ข้อควรระวงั ในการถอดตะแกรงกรองนา้ มนั เคร่ืองออก ระวงั อย่าทาความเสียหายเช่นฉีกขาด บุบ กบั ตะแกรงกรอง นา้ มันเคร่ือง 16. วธิ ีถอดปั๊มนา้ มนั เครื่องออก 16.1 ใช้ประแจกระบอกขนาด 12 มม. ด้ามต่อส้ันและด้ามขันเลื่อนถอด สลกั เกลยี ว 6 ตัวถอดปั๊มนา้ และ ปะเกน็ ออก 16.2 ใช้ประแจกระบอกขนาด 12 มม. ด้ามต่อส้ันด้ามขันเลื่อน ถอดสลกั เกลยี ว 5 ตวั ถอดปั๊มนา้ มนั เคร่ือง และปะเกน็ ออก 17. ข้อควรระวงั ในการถอดปั๊มนา้ มนั เครื่องออกได้ถูกต้อง ระวงั อย่าทาให้เขม็ ชี้จงั หวะจุดระเบิดชารุดเสียหายเพราะจะทา ให้การต้ังจังหวะการทางานผดิ พลาดได้